SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาฝุ่นละอองในอากาศ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ธีรวัฒน์ อินตา เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นาย ธีรวัฒน์ อินตา เลขที่ 44
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
...ปัญหาฝุ่นละอองในอากาศ...
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
...Dust Problem in Air...
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธีรวัฒน์ อินตา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละออง
หนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัยโลก(มากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง
พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการ
พยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อ
นาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่
เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้างความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
- เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
- เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- บริเวณตัวเมืองของเชียงใหม่
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
- วิธีการตรวจวัดฝุ่นละอองตามกรมควบคุมมลพิษ
- ฝุ่นละอองในอากาศ หมายถึง ของแข็งขนาดเล็กที่ลอยอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์โดย
นับเป็นมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละอองในอากาศที่เกินค่า มาตรฐานขององค์ การอนามัยโลก คือ ปริมาณฝุ่นละอองใน
อากาศที่มีค่ามากเกิน 50 ไมโครกรัม ต่อ ลูกบาศก์เมตร
- ทฤษฎีฝุ่น เกือบไร้ซึ่งน้าหนัก เกือบไร้ซึ่งการมองเห็น เกือบไร้ซึ่งความสกปรก แต่สุดท้ายก็ยังคงมีในตัว
บทที่หนึ่ง ทฤษฎีว่าด้วยขนาดและน้าหนัก
ฝุ่น ถือเป็นสสาร ไม่สามารถจาแนกประเภทได้ ของแข็ง ต้องไม่สามารถเปลี่ยนรูปได้ แต่ฝุ่นเปลี่ยนรูปได้ ของเหลว
ต้องเปลี่ยนรูปตามถิ่นที่อยู่ แต่ฝุ่นเปลี่ยนรูปได้ตามใจสั่งก๊าซ ต้องสัมผัสไม่ได้ แต่ฝุ่นยังคงสัมผัสได้ แล้วฝุ่นเป็นสสาร
ประเภทไหนกัน หรือจะเป็นของผสมกันแน่ ระหว่างของแข็ง ของเหลว และก๊าซ น้าหนักของฝุ่น แปรผันได้เสมอ
ขึ้นกับรูปร่างของฝุ่น รูปร่างของฝุ่น แปรผันได้เสมอขึ้นกับความสกปรก ความสกปรก สังเกตได้จากน้าหนักของฝุ่น…
บทที่สอง ทฤษฎีว่าด้วยระยะมองเห็น
ฝุ่นเป็นสสารที่มีขนาดเล็ก ถึงเล็กมาก แต่สามารถขยายใหญ่และแพร่เชื้อได้อย่างรวดเร็ว การมองระยะประชิดอาจทา
ให้เห็นถึงทุกอนุภาคที่รวมกันอยู่การใช้แว่นขยายหรือกล้องจุลทรรศน์ จะเพิ่มประสิทธิภาพของการมองเห็น
บางครั้งการมองไม่เห็นแต่สามารถรับรู้ถึงการมีอยู่ของฝุ่นได้เพียงแค่สัมผัสดังคากล่าวที่ว่า มองไม่เห็นด้วยตา แต่
สัมผัสได้ด้วยมือ
บทที่สาม ทฤษฎีว่าด้วยการถือกาเนิดและแพร่พันธุ์
การกาเนิดของฝุ่น ถือกาเนิดขึ้นภายใต้จักรวาลหนใดที่มีความโดดเดี่ยวหนใดที่มีความแห้งแล้ง
ฝุ่นจักก่อตัวถือกาเนิดขึ้น….ฝุ่นมักจะเดินทางคนเดียว แล้วจึงพาเพื่อนตามไป จึงไม่แปลกที่จะเห็นที่แห่งนั้นมีฝุ่นอยู่เต็ม
ไปหมดการแพร่พันธุ์จะหยุดลงด้วยวิธีต่างๆบ้างใช้ความชื้นเข้าช่วยบ้างใช้การสัมผัสปัดทิ้ง
บทที่สี่ ทฤษฎีว่าด้วยคุณสมบัติพิเศษ
ข้อหนึ่ง ฝุ่นเป็นดัชนีชี้วัดความสกปรกและมลพิษบริเวณใกล้เคียง
ข้อสอง ฝุ่นเป็นคู่ต่อสู้ตัวฉกาจ ทาให้คนพ่ายแพ้อยู่เป็นนิจ
ข้อสาม ฝุ่นสามารถใช้สร้างสรรค์ศิลปะบนพื้นผิวได้อย่างงดงาม
ข้อสี่ ฝุ่นเป็นสสารที่สูญหายและก่อตัว ได้อย่างรวดเร็ว
อุทิศให้กับผู้พ่ายแพ้ (ฝุ่น)
เป็นฆณ
โหมด สาระอย่างจริงจัง
- การเคลื่อนที่แบบบราวน์ (อังกฤษ: Brownian motion; ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ โรเบิร์ต บราวน์)
หมายถึงการเคลื่อนที่ของอนุภาคในของไหล (ของเหลวหรือก๊าซ) ที่คิดว่าเป็นไปโดยสุ่ม หรือแบบจาลองคณิตศาสตร์ที่
ใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่แบบสุ่มดังกล่าว มักเรียกกันว่า ทฤษฎีอนุภาค มีการนาแบบจาลองคณิตศาสตร์ของการ
เคลื่อนที่แบบบราวน์ไปประยุกต์ใช้ในโลกจริงมากมาย ตัวอย่างที่นิยมอ้างถึงคือ ความผันผวนของตลาดหุ้น อย่างไรก็ดี
การเคลื่อนไหวของราคาหุ้นอาจเพิ่มขึ้นเนื่องจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ซึ่งอาจไม่เกิดซ้ากันอีก การเคลื่อนที่
แบบบราวน์เป็นหนึ่งในกระบวนการสโตคาสติก (หรือความน่าจะเป็น) แบบเวลาต่อเนื่องที่ง่ายที่สุดแบบหนึ่ง ทั้งเป็น
ขีดจากัดของกระบวนการทานายที่ทั้งง่ายกว่าและซับซ้อนกว่านี้ (ดู random walk และ Donsker's theorem)
ความเป็นสากลเช่นนี้คล้ายคลึงกับความเป็นสากลของการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งสาหรับทั้งสองกรณีนี้ การนาไปใช้งาน
เน้นที่ความสะดวกในการใช้งานเชิงคณิตศาสตร์มากกว่าเรื่องของความแม่นยาของแบบจาลอง ทั้งนี้เนื่องจากการ
เคลื่อนที่ของบราวน์ (ซึ่งอนุพันธ์เวลาเป็นอนันต์เสมอ) เป็นการประมาณการอุดมคติสาหรับกระบวนการทางกายภาพ
แบบสุ่มที่เกิดขึ้นจริงที่กรอบเวลามักจากัดอยู่ที่ค่าหนึ่งเสมอ
4
- ฝุ่นละออง เป็นสารที่มีความหลากหลายทางด้านกายภาพ และองค์ประกอบอาจมีสภาพเป็น
ของแข็งหรือของเหลวก็ได้ ฝุ่นละอองที่มีอยู่ในบรรยากาศรอบ ๆ ตัวเรา มีขนาดตั้งแต่0.002 ไมครอน
(เป็นกลุ่มของโมเลกุลที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้กล้องจุลทัศน์แบบอิเล็กตรอน) ไปจนถึงฝุ่นที่ขนาดใหญ่
กว่า 500 ไมครอน (ฝุ่นที่มองเห็นด้วยตาเปล่ามีขนาดตั้งแต่ 50ไมครอนขึ้นไป) ฝุ่นละอองที่แขวนลอยอยู่ใน
อากาศได้นานจะเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็ก (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่ากว่า 10 ไมครอน) เนื่องจากมีความเร็ว
ในการตกตัวต่า และจะแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานมากขึ้น หากมีแรงกระทาจากภายนอกเข้ามามีส่วน
เกี่ยวข้อง เช่น การไหลเวียน ของอากาศ กระแสลม เป็นต้น ฝุ่นละอองที่มีขนาดใหญ่ (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ใหญ่กว่า 100ไมครอน) อาจแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้เพียง 2-3 นาที แต่ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็ก
โดยเฉพาะ ขนาดเล็กกว่า 0.5 ไมครอน อาจแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานเป็นปีฝุ่นละอองในบรรยากาศอาจ
แยกได้เป็นฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นและแพร่กระจายสู่บรรยากาศจากแหล่งกาเนิดโดยตรงและฝุ่นละอองซึ่งเกิดขึ้น
โดยปฎิกริยาต่าง ๆ ในบรรยากาศ เช่นการรวมตัวด้วยปฎิกริยาทางฟิสิกส์ หรือปฎิกริยาทางเคมี
หรือปฎิกริยาเคมีแสง(Photochemical reaction)ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะมีชื่อเรียกต่างกันไปตาม
ลักษณะการ รวมตัวฝุ่นละออง เช่น ควัน (Smoke) ฟูม (fume) หมอกน้า ค้าง (mist) เป็นต้น ฝุ่นละอองอาจ
เกิดจากธรรมชาติ เช่น ฝุ่นดิน ทราย หรือเกิดจากควันดาจากท่อไอเสียรถยนต์การจราจร และการ
อุตสาหกรรมฝุ่นที่ถูกสูดเข้าไปในระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพ รบกวนการมองเห็น
และทาให้สิ่งต่าง ๆ สกปรกเสียหายได้ในบริเวณ ที่พักอาศัยปริมาณฝุ่นละออง 30% เกิดจากกิจกรรมของ
มนุษย์ ส่วนบริเวณที่อยู่อาศัยใกล้ถนนฝุ่นละออง 70-90% เกิดจากการกระทาของมนุษย์และพบว่าฝุ่น
ละอองมีสารตะกั่วและสารประกอบโบไมด์สูงกว่าบริเวณนอกเมือง อันเนื่องมาจากมลพิษที่เกิดจาก
ยานพาหนะ ฝุ่นละอองเมื่อแยก ตามขนาด พบว่า 60% โดยประมาณ จะเป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 10
ไมครอนฝุ่นประเภทนี้เกิดจากรถประจาทางและรถบรรทุกที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลบางส่วนมาจากโรง งาน
อุตสาหกรรมส่วนมากจะพบอยู่ทั่วไปในเขตเมืองเขตอุตสาหกรรม และเขตกึ่งชนบท หากพบในปริมาณที่สูง
จะมีผลต่อสุขภาพอนา มัยของประชาชน เนื่องจากมีขนาดเล็กพอที่จะเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่างและ
ถุงลมปอดของมนุษย์ได้เป็นผลให้เกิดโรคทาง เดินหายใจโรคปอดต่าง ๆเกิดการระคายเคืองและทาลายเยื่อ
หุ้มปอด หากได้รับในปริมาณมากและเป็นเวลานานจะเกิดการสะสม ทาให้ เกิดพังผืดและเป็นแผลได้ ทาให้
การทางานของปอดลดลง ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ องค์ประ กอบของฝุ่นละอองนั้น ส่วนฝุ่นขนาดใหญ่ อีก
ประมาณ 40%ที่เหลือเกิดจากการก่อสร้างและการฟุ้งกระจายของฝุ่นจากพื้นที่ว่างเปล่าฝุ่นประเภทนี้ไม่มีผล
ต่อสุขภาพอนามัยมาก นักเพียงแต่จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจส่วนต้น และอาจเป็นเพียง
การรบกวนและก่อให้เกิด ความราคาญเท่านั้น
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- เลือกหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อ
- ศึกษารวบรวมข้อมูล
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- เครื่องวัดฝุ่นละอองในอากาศ Air quality pollution
งบประมาณ
- 6000
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ปริมาณเฉลี่ยของฝุ่นละอองในตัวเมืองเชียงใหม่
สถานที่ดาเนินการ
- บริเวณตัวเมืองเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
6
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- http://www.tasatec.com/library.php?cat=30&uid=67
-
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0
%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%8
8%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%
B8%99%E0%B9%8C
-
https://uzophia.wordpress.com/2010/01/01/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%
E0%B8%B5%E0%B8%9D%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/
- http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/fun.htm

More Related Content

Similar to 2561 project 615 44 theerawat

Similar to 2561 project 615 44 theerawat (20)

งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Kanjana14
Kanjana14Kanjana14
Kanjana14
 
48532
4853248532
48532
 
77
7777
77
 
Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce disease
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมฟิว
งานคอมฟิวงานคอมฟิว
งานคอมฟิว
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
Com
ComCom
Com
 
Gameproject
GameprojectGameproject
Gameproject
 
2560 project 1
2560 project 12560 project 1
2560 project 1
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
Work1 608_11
Work1 608_11Work1 608_11
Work1 608_11
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

2561 project 615 44 theerawat

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาฝุ่นละอองในอากาศ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ธีรวัฒน์ อินตา เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นาย ธีรวัฒน์ อินตา เลขที่ 44 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ...ปัญหาฝุ่นละอองในอากาศ... ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) ...Dust Problem in Air... ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธีรวัฒน์ อินตา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน _________________________________________________________ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละออง หนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัยโลก(มากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการ พยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อ นาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้างความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) - เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ - เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - บริเวณตัวเมืองของเชียงใหม่
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) - วิธีการตรวจวัดฝุ่นละอองตามกรมควบคุมมลพิษ - ฝุ่นละอองในอากาศ หมายถึง ของแข็งขนาดเล็กที่ลอยอยู่ในอากาศ ซึ่งเกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์โดย นับเป็นมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละอองในอากาศที่เกินค่า มาตรฐานขององค์ การอนามัยโลก คือ ปริมาณฝุ่นละอองใน อากาศที่มีค่ามากเกิน 50 ไมโครกรัม ต่อ ลูกบาศก์เมตร - ทฤษฎีฝุ่น เกือบไร้ซึ่งน้าหนัก เกือบไร้ซึ่งการมองเห็น เกือบไร้ซึ่งความสกปรก แต่สุดท้ายก็ยังคงมีในตัว บทที่หนึ่ง ทฤษฎีว่าด้วยขนาดและน้าหนัก ฝุ่น ถือเป็นสสาร ไม่สามารถจาแนกประเภทได้ ของแข็ง ต้องไม่สามารถเปลี่ยนรูปได้ แต่ฝุ่นเปลี่ยนรูปได้ ของเหลว ต้องเปลี่ยนรูปตามถิ่นที่อยู่ แต่ฝุ่นเปลี่ยนรูปได้ตามใจสั่งก๊าซ ต้องสัมผัสไม่ได้ แต่ฝุ่นยังคงสัมผัสได้ แล้วฝุ่นเป็นสสาร ประเภทไหนกัน หรือจะเป็นของผสมกันแน่ ระหว่างของแข็ง ของเหลว และก๊าซ น้าหนักของฝุ่น แปรผันได้เสมอ ขึ้นกับรูปร่างของฝุ่น รูปร่างของฝุ่น แปรผันได้เสมอขึ้นกับความสกปรก ความสกปรก สังเกตได้จากน้าหนักของฝุ่น… บทที่สอง ทฤษฎีว่าด้วยระยะมองเห็น ฝุ่นเป็นสสารที่มีขนาดเล็ก ถึงเล็กมาก แต่สามารถขยายใหญ่และแพร่เชื้อได้อย่างรวดเร็ว การมองระยะประชิดอาจทา ให้เห็นถึงทุกอนุภาคที่รวมกันอยู่การใช้แว่นขยายหรือกล้องจุลทรรศน์ จะเพิ่มประสิทธิภาพของการมองเห็น บางครั้งการมองไม่เห็นแต่สามารถรับรู้ถึงการมีอยู่ของฝุ่นได้เพียงแค่สัมผัสดังคากล่าวที่ว่า มองไม่เห็นด้วยตา แต่ สัมผัสได้ด้วยมือ บทที่สาม ทฤษฎีว่าด้วยการถือกาเนิดและแพร่พันธุ์ การกาเนิดของฝุ่น ถือกาเนิดขึ้นภายใต้จักรวาลหนใดที่มีความโดดเดี่ยวหนใดที่มีความแห้งแล้ง ฝุ่นจักก่อตัวถือกาเนิดขึ้น….ฝุ่นมักจะเดินทางคนเดียว แล้วจึงพาเพื่อนตามไป จึงไม่แปลกที่จะเห็นที่แห่งนั้นมีฝุ่นอยู่เต็ม ไปหมดการแพร่พันธุ์จะหยุดลงด้วยวิธีต่างๆบ้างใช้ความชื้นเข้าช่วยบ้างใช้การสัมผัสปัดทิ้ง บทที่สี่ ทฤษฎีว่าด้วยคุณสมบัติพิเศษ ข้อหนึ่ง ฝุ่นเป็นดัชนีชี้วัดความสกปรกและมลพิษบริเวณใกล้เคียง ข้อสอง ฝุ่นเป็นคู่ต่อสู้ตัวฉกาจ ทาให้คนพ่ายแพ้อยู่เป็นนิจ ข้อสาม ฝุ่นสามารถใช้สร้างสรรค์ศิลปะบนพื้นผิวได้อย่างงดงาม ข้อสี่ ฝุ่นเป็นสสารที่สูญหายและก่อตัว ได้อย่างรวดเร็ว อุทิศให้กับผู้พ่ายแพ้ (ฝุ่น) เป็นฆณ โหมด สาระอย่างจริงจัง - การเคลื่อนที่แบบบราวน์ (อังกฤษ: Brownian motion; ตั้งชื่อตามนักพฤกษศาสตร์ โรเบิร์ต บราวน์) หมายถึงการเคลื่อนที่ของอนุภาคในของไหล (ของเหลวหรือก๊าซ) ที่คิดว่าเป็นไปโดยสุ่ม หรือแบบจาลองคณิตศาสตร์ที่ ใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่แบบสุ่มดังกล่าว มักเรียกกันว่า ทฤษฎีอนุภาค มีการนาแบบจาลองคณิตศาสตร์ของการ เคลื่อนที่แบบบราวน์ไปประยุกต์ใช้ในโลกจริงมากมาย ตัวอย่างที่นิยมอ้างถึงคือ ความผันผวนของตลาดหุ้น อย่างไรก็ดี การเคลื่อนไหวของราคาหุ้นอาจเพิ่มขึ้นเนื่องจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ซึ่งอาจไม่เกิดซ้ากันอีก การเคลื่อนที่ แบบบราวน์เป็นหนึ่งในกระบวนการสโตคาสติก (หรือความน่าจะเป็น) แบบเวลาต่อเนื่องที่ง่ายที่สุดแบบหนึ่ง ทั้งเป็น ขีดจากัดของกระบวนการทานายที่ทั้งง่ายกว่าและซับซ้อนกว่านี้ (ดู random walk และ Donsker's theorem) ความเป็นสากลเช่นนี้คล้ายคลึงกับความเป็นสากลของการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งสาหรับทั้งสองกรณีนี้ การนาไปใช้งาน เน้นที่ความสะดวกในการใช้งานเชิงคณิตศาสตร์มากกว่าเรื่องของความแม่นยาของแบบจาลอง ทั้งนี้เนื่องจากการ เคลื่อนที่ของบราวน์ (ซึ่งอนุพันธ์เวลาเป็นอนันต์เสมอ) เป็นการประมาณการอุดมคติสาหรับกระบวนการทางกายภาพ แบบสุ่มที่เกิดขึ้นจริงที่กรอบเวลามักจากัดอยู่ที่ค่าหนึ่งเสมอ
  • 4. 4 - ฝุ่นละออง เป็นสารที่มีความหลากหลายทางด้านกายภาพ และองค์ประกอบอาจมีสภาพเป็น ของแข็งหรือของเหลวก็ได้ ฝุ่นละอองที่มีอยู่ในบรรยากาศรอบ ๆ ตัวเรา มีขนาดตั้งแต่0.002 ไมครอน (เป็นกลุ่มของโมเลกุลที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นต้องใช้กล้องจุลทัศน์แบบอิเล็กตรอน) ไปจนถึงฝุ่นที่ขนาดใหญ่ กว่า 500 ไมครอน (ฝุ่นที่มองเห็นด้วยตาเปล่ามีขนาดตั้งแต่ 50ไมครอนขึ้นไป) ฝุ่นละอองที่แขวนลอยอยู่ใน อากาศได้นานจะเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็ก (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่ากว่า 10 ไมครอน) เนื่องจากมีความเร็ว ในการตกตัวต่า และจะแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานมากขึ้น หากมีแรงกระทาจากภายนอกเข้ามามีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น การไหลเวียน ของอากาศ กระแสลม เป็นต้น ฝุ่นละอองที่มีขนาดใหญ่ (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ใหญ่กว่า 100ไมครอน) อาจแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้เพียง 2-3 นาที แต่ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็ก โดยเฉพาะ ขนาดเล็กกว่า 0.5 ไมครอน อาจแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานเป็นปีฝุ่นละอองในบรรยากาศอาจ แยกได้เป็นฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นและแพร่กระจายสู่บรรยากาศจากแหล่งกาเนิดโดยตรงและฝุ่นละอองซึ่งเกิดขึ้น โดยปฎิกริยาต่าง ๆ ในบรรยากาศ เช่นการรวมตัวด้วยปฎิกริยาทางฟิสิกส์ หรือปฎิกริยาทางเคมี หรือปฎิกริยาเคมีแสง(Photochemical reaction)ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะมีชื่อเรียกต่างกันไปตาม ลักษณะการ รวมตัวฝุ่นละออง เช่น ควัน (Smoke) ฟูม (fume) หมอกน้า ค้าง (mist) เป็นต้น ฝุ่นละอองอาจ เกิดจากธรรมชาติ เช่น ฝุ่นดิน ทราย หรือเกิดจากควันดาจากท่อไอเสียรถยนต์การจราจร และการ อุตสาหกรรมฝุ่นที่ถูกสูดเข้าไปในระบบทางเดินหายใจ ทาให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพ รบกวนการมองเห็น และทาให้สิ่งต่าง ๆ สกปรกเสียหายได้ในบริเวณ ที่พักอาศัยปริมาณฝุ่นละออง 30% เกิดจากกิจกรรมของ มนุษย์ ส่วนบริเวณที่อยู่อาศัยใกล้ถนนฝุ่นละออง 70-90% เกิดจากการกระทาของมนุษย์และพบว่าฝุ่น ละอองมีสารตะกั่วและสารประกอบโบไมด์สูงกว่าบริเวณนอกเมือง อันเนื่องมาจากมลพิษที่เกิดจาก ยานพาหนะ ฝุ่นละอองเมื่อแยก ตามขนาด พบว่า 60% โดยประมาณ จะเป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอนฝุ่นประเภทนี้เกิดจากรถประจาทางและรถบรรทุกที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลบางส่วนมาจากโรง งาน อุตสาหกรรมส่วนมากจะพบอยู่ทั่วไปในเขตเมืองเขตอุตสาหกรรม และเขตกึ่งชนบท หากพบในปริมาณที่สูง จะมีผลต่อสุขภาพอนา มัยของประชาชน เนื่องจากมีขนาดเล็กพอที่จะเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่างและ ถุงลมปอดของมนุษย์ได้เป็นผลให้เกิดโรคทาง เดินหายใจโรคปอดต่าง ๆเกิดการระคายเคืองและทาลายเยื่อ หุ้มปอด หากได้รับในปริมาณมากและเป็นเวลานานจะเกิดการสะสม ทาให้ เกิดพังผืดและเป็นแผลได้ ทาให้ การทางานของปอดลดลง ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ องค์ประ กอบของฝุ่นละอองนั้น ส่วนฝุ่นขนาดใหญ่ อีก ประมาณ 40%ที่เหลือเกิดจากการก่อสร้างและการฟุ้งกระจายของฝุ่นจากพื้นที่ว่างเปล่าฝุ่นประเภทนี้ไม่มีผล ต่อสุขภาพอนามัยมาก นักเพียงแต่จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจส่วนต้น และอาจเป็นเพียง การรบกวนและก่อให้เกิด ความราคาญเท่านั้น
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - เลือกหัวข้อ - นาเสนอหัวข้อ - ศึกษารวบรวมข้อมูล - จัดทารายงาน - นาเสนอครู - ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - เครื่องวัดฝุ่นละอองในอากาศ Air quality pollution งบประมาณ - 6000 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ปริมาณเฉลี่ยของฝุ่นละอองในตัวเมืองเชียงใหม่ สถานที่ดาเนินการ - บริเวณตัวเมืองเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์
  • 6. 6 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - http://www.tasatec.com/library.php?cat=30&uid=67 - https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0 %B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%8 8%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0% B8%99%E0%B9%8C - https://uzophia.wordpress.com/2010/01/01/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E% E0%B8%B5%E0%B8%9D%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/ - http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/fun.htm