SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร 
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 
ปการศึกษา 2561 
 
ชื่อโครงงาน การทองเที่ยวเชียงใหมซบเซานักทองเที่ยวจีนลดลง 
 
 
 
ชื่อผูทําโครงงาน 
 
นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน เลขที่ 31 ชั้น ม.6 หอง 9  
 
 
 
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ 
 
 
 
 
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 
 
 
 
 
 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม 
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34   
 
 
 
 
 
2
 
 
ใบงาน 
การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร 
 
สมาชิก  
นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน ชั้น ม.6 หอง 9 ​เลขที่ 31 
 
คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้ 
 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
การทองเที่ยวเชียงใหมซบเซานักทองเที่ยวจีนลดลง 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)     
Decline of Chinese Tourists in Chiang Mai 
ประเภทโครงงาน ​โครงงานประเภทศึกษาขอมูล 
ชื่อผูทําโครงงาน ​นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน 
ชื่อที่ปรึกษา ​ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ 
ระยะเวลาดําเนินงาน ​10สัปดาห 
 
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน) 
​เนื่องจากปจจุบันเชียงใหมไดเปนเมืองทองเที่ยวอันดับตนๆในไทย และยังเปนเมืองหลวงของประเทศไทย
อันดับสอง รองจากกรุงเทพมหานคร ที่นักทองเที่ยวจากหลายๆแหลงจะเขามาทองเที่ยว จึงทําใหเศรษฐกิจของ
เชียงใหมมีรายไดเพิ่มมากขึ้นเปนจํานวนหลายเทาตัว อีกทั้งยังทําใหเชียงใหมพัฒนาไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น แตไมนานมา
นี้ไดมีขาวจากหลายๆแหลงใหขอมูลวานักทองเที่ยวจีนในจังหวัดเชียงใหมไดลดลงเปนจํานวนมาก ทําใหบรรยากาศ
การคาขาย และการทองเที่ยวซบเซาลงเปนอยางมาก จึงสงผลใหเศรษฐกิจของเชียงใหมเกิดการชะลอตัว เนื่องจาก
รายรับที่หายไปจากนักทองเที่ยวจํานวนมาก ทางผูจัดทําโครงงานจึงเห็นไดวาอยากที่จะกระตุนเศรษฐกิจการทอง
เที่ยว การคาของเชียงใหม  
 
วัตถุประสงค ​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ) 
1.เพื่อศึกษาเหตุผลที่นักทองเที่ยวลดลง 
2.กระตุนเศรษฐกิจการทองเที่ยวในเชียงใหม 
 
ขอบเขตโครงงาน ​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน) 
ในการศึกษาโครงงานนักทองเที่ยวจีนในเชียงใหมลดลงจะศึกษาจากขาวสาร และสอบถามรานคาใน ถ.นิมมานเหห
มินท จ.เชียงใหม 
 
3
 
หลักการและทฤษฎี ​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน) 
การทองเที่ยว 
การทองเที่ยวหมายถึงการเดินทาง โดยระยะทางมากกวา 40 กิโลเมตรจากบาน เพื่อจุดประสงคในการพักผอนหยอน
ใจ การทองเที่ยวในประเทศไทยไดมีพัฒนาการมาตั้งแต พ.ศ. 2467 สมัยพระเจาบรมวงศเธอกรมพระกําแพงเพชร
อัครโยธิน ครั้งทรงดํารงตําแหนงผูบัญชาการรถไฟ ซึ่งในครั้งนั้นการทองเที่ยวในประเทศไทย ยังเปนการทองเที่ยวเพื่อ
ชมธรรมชาติและสถานที่ราชการ หรือสถานที่สําคัญที่ทางชาวตางประเทศที่เขามาในประเทศไทยสรางขึ้น แตเมื่อ
ประมาณ 10 ป ที่ผานมาทางองคการทองเที่ยวโลก (www.unwto.org) ไดมีการกําหนดรูปแบบการทองเที่ยว 
ได 3 รูปแบบหลัก  
1) รูปแบบการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติ (natural based tourism) 
1.1 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (ecotourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น
และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใตการจัดการสิ่ง
แวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทองถิ่นเพื่อมุงเนนใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน 
1.2 การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (marine ecotourism) หมายถึงการทอง เที่ยว อยางมีความรับผิดชอบ
ในแหลงธรรมชาติทางทะเลที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศทางทะเล โดยมี
กระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใต  การจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทอง
ถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั้งยืน 
1.3 การทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (geo-tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติที่เปน หินผา ลาน
หินทราย อุโมงคโพรง ถํ้านํ้าลอด ถํ้าหินงอกหินยอย เพื่อดูความงามของภูมิทัศนที่มีความแปลกของการเปลี่ยนแปลง
ของพื้นที่โลก ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แรตางๆ และฟอสซิล ไดความรูไดมีประสบการณใหม บนพื้นฐานการทอง
เที่ยวอยางรับผิดชอบ มีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการ
ทองเที่ยว 
1.4 การทองเที่ยวเชิงเกษตร (agro tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวไปยังพื้นที่เกษตรกรรมสวนเกษตร 
วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟารมปศุสัตวและเลี้ยงสัตวเพื่อชื่นชมความสวยงาม ความสําเร็จและเพลิดเพลินในสวน
เกษตร ไดความรูมีประสบการณใหมบนพื้นฐานความรับผิดชอบ มีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมของสถานที่
แหงนั้น 
1.5 การทองเที่ยวเชิงดาราศาสตร (astrological tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อการไปชม
ปรากฏการณทางดาราศาสตรที่เกิดขึ้นในแตละวาระ เชน สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่
ปรากฏในทองฟาแตละเดือน เพื่อการเรียนรูระบบสุริยะจักรวาล มีความรูความประทับใจ ความทรงจําและ
ประสบการณเพิ่มขึ้น บนพื้นฐานการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมและ
วัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการรวมกันอยางยั่งยืน 
2) รูปแบบการทองเที่ยวในแหลงวัฒนธรรม (cultural based tourism) 
2.1 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร (historical tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวไปยังแหลงทองเที่ยว
ทางโบราณคดี และประวัติศาสตร เพื่อชื่นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ทองเที่ยวไดความรูมีความเขาใจตอ
4
ประวัติศาสตรและโบราณคดี ในทองถิ่นพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึกตอการรักษามรดกทางวัฒนธรรม
และคุณคา ของสภาพแวดลอมโดยที่ประชาชนในทองถิ่น มีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยว 
2.2 การทองเที่ยวงานชมวัฒนธรรมและประเพณี (cultural and traditional tourism) หมายถึงการเดินทาง
ทองเที่ยว เพื่อชมงานประเพณีตางๆ ที่ชาวบานในทองถิ่นนั้นๆ จัดขึ้น ไดรับความเพลิดเพลินตื่นตาตื่นใจในสุนทรียะ
ศิลปเพื่อศึกษาความเชื่อ การยอมรับนับถือ การเคารพพิธีกรรมตางๆ และไดรับความรูมีความเขาใจตอสภาพสังคม
และวัฒนธรรม มีประสบการณใหมๆ เพิ่มขึ้นบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวด
ลอมและมรดกทางวัฒนธรรม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการทองเที่ยว 
2.3 การทองเที่ยวชมวิถีชีวิตในชนบท (rural tourism / village tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวใน
หมูบาน ชนบทที่มีลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสรางสรรคที่มีเอกลักษณพิเศษมีความโดดเดนเพื่อความเพลิดเพลินได
ความรูดูผลงานสรางสรรคและภูมิปญญาพื้นบาน มีความเขาใจในวัฒนธรรมทองถิ่น บนพื้นฐานของความรับผิดชอบ
และมีจิตสํานึกตอการรักษามรดกทางวัฒนธรรมและคุณคาของสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอ
การจัดการการทองเที่ยว 
3) รูปแบบการทองเที่ยวในความสนใจพิเศษ (special interest tourism) 
3.1 การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (health tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติและแหลงวัฒนธรรม
เพื่อการพักผอนและเรียนรูวิธีการรักษาสุขภาพกายใจไดรับความเพลิดเพลิน และสุนทรียภาพ มีความรูตอการรักษา
คุณคา และคุณภาพชีวิตที่ดี มีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่นโดยประชาชนในทองถิ่นมีสวน
รวมตอการจัดการทองเที่ยวที่ยั่งยืน อนึ่ง การทองเที่ยวเชิงสุขภาพนี้บางแหงอาจจัดรูปแบบเปนการทองเที่ยวเพื่อ
สุขภาพและความงาม (health beauty and spa) 
3.2 การทองเที่ยวเชิงทัศนศึกษาและศาสนา (edu-meditation tourism) หมายถึง การเดินทางเพื่อ
ทัศนศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูจากปรัชญาทางศาสนา หาความรู สัจธรรมแหงชีวิตมีการฝกทําสมาธิเพื่อมีประสบการณ
และความรูใหมเพิ่มขึ้น มีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น 
โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน นอกจากนั้น นักทองเที่ยวบางกลุมมุงการเรียนรู
วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย เชน การทําอาหารไทยการนวดแผนไทย รําไทย มวยไทย การชางและงานศิลป
หัตถกรรมไทย รวมถึงการบังคับชางและเปนควาญชาง เปนตน 
3.3 การทองเที่ยวเพื่อศึกษากลุมชาติพันธุหรือวัฒนธรรมกลุมนอย (ethnic tourism) หมายถึง การเดินทาง
ทองเที่ยวเพื่อเรียนรูวิถีชีวิตความเปนอยูวัฒนธรรมของชาวบานวัฒนธรรมของชนกลุมนอยหรือชนเผาตาง ๆ เชน 
หมูบานชาวไทยโซง หมูบานผูไทย หมูบานชาวกูย หมูบานชาวกะเหรี่ยง หมูบานชาวจีนฮอ เปนตน เพื่อมี
ประสบการณและความรูใหมเพิ่มขึ้นมีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและ
วัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน 
3.4 การทองเที่ยวเชิงกีฬา (sports tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อเลนกีฬาตามความถนัดความ
สนใจ ในประเภทกีฬา เชน กอลฟ ดํานํ้า ตกปลา สนุกเกอร กระดานโตคลื่น สกีนํ้า เปนตน ใหไดรับความเพลิดเพลิน
ความสนุกสนานตื่นเตน ไดรับประสบการณและความรูใหมเพิ่มขึ้น มีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้น มีจิตสํานึกตอ
การรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน 
5
3.5 การทองเที่ยวแบบผจญภัย (adventure travel) หมายถึง การเดินทางทอง เที่ยวไปยงแหลงทองเที่ยวทาง
ธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษ ที่นักทองเที่ยวเขาไปเที่ยวแลวไดรับความสนุกสนานตื่นเตน หวาดเสียว ผจญภัย มีความ
ทรงจํา ความปลอดภัย และไดประสบการณใหม 
3.6 การทองเที่ยวแบบโฮมสเตยและฟารมสเตย (home stay & farm stay) หมายถึง นักทองเที่ยวกลุมที่
ตองการใชชีวิตใกลชิดกับครอบครัวในทองถิ่นที่ไปเยือนเพื่อการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่น ไดรับ
ประสบการณในชีวิตเพิ่มขึ้น โดยมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น เปนการจัดการทองเที่ยว
อยางมีสวนรวมของชุมชนในทองถิ่นที่ยั่งยืน 
3.7 การทองเที่ยวพํานักระยะยาว (long stay) หมายถึง กลุมผูใชชีวิตในบั้นปลายหลังเกษียณอายุจากการ
ทํางานที่ตองการมาใชชีวิตตางแดนเปนหลัก เพื่อเพิ่มปจจัยที่หาของชีวิตคือ การทองเที่ยว โดยเดินทางทองเที่ยวตาง
ประเทศเฉลี่ย 3 – 4 ครั้งตอป คราวละนาน ๆ อยางนอย 1 เดือน 
3.8 การทองเที่ยวแบบใหรางวัล (incentive travel) หมายถึงการจัดนําเที่ยวใหแกกลุมลูกคาของบริษัทที่
ประสบความสําเร็จ (มีความเปนเลิศ) ในการขายสินคานั้นๆ ตามเปาหมายหรือเกินเปาหมาย เชน กลุมผูแทนบริษัท
จําหนายรถยนต ผูแทนบริษัทจําหนายเครื่องใชไฟฟา ผูแทนบริษัทจาหนายเครื่องสําอาง จากภูมิภาคหรือจังหวัด
ตางๆ ที่สามารถขายสินคาประเภทนั้นไดมากตามที่บริษัทผูแทนจําหนายในประเทศตั้งเปาหมายไวเปนการใหรางวัล
และจัดนําเที่ยว โดยออกคาใชจายในการเดินทาง คาพักแรมและคาอาหารระหวางการเดินทางใหกับผูรวมเดินทาง 
เปนการจัดรายการพักแรมตั้งแต 2 – 7 วัน เปนรายการนําเที่ยวชมสถานทองที่ตางๆ อาจเปนรายการนําเที่ยวแบบ
ผสมผสาน หรือรายการนําเที่ยวในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง 
3.9 การทองเที่ยวเพื่อการประชุม (MICE หมายถึง M=meeting/I= incentive/ C=conference / 
E=exhibition) เปนการจัดนําเที่ยวใหแกกลุมลูกคาของผูที่จัดประชุม มีรายการจัดนําเที่ยวกอนการประชุม 
(pre-tour) และการจัดรายการนําเที่ยวหลังการประชุม (post-tour) โดยการจัดรายการทองเที่ยวในรูปแบบตาง ๆ 
ไปทั่วประเทศ เพื่อบริการใหกับผูเขารวมประชุมโดยตรง หรือสําหรับผูที่รวมเดินทางกับผูประชุม (สามีหรือภรรยา) 
อาจเปนรายการทองเที่ยววันเดียว หรือรายการเที่ยวพักคางแรม 2 – 4 วัน โดยคิดราคาแบบเหมารวมคาอาหารและ
บริการทองเที่ยว 
3.10 การทองเที่ยวแบบผสมผสานเปนอีกรูปแบบหนึ่งที่ผูจัดการการทอง เที่ยวคัดสรรรูปแบบการทองเที่ยวที่
กลาวมาแลวขางตน นํามาจัดรายการนําเที่ยว เพื่อใหนักทองเที่ยวไดรับความแตกตางระหวางการเดินทางทองเที่ยวใน
ระยะยาวนานตั้งแต 2 – 7 วันหรือมากกวานั้นเชน การทองเที่ยวเชิงนิเวศและเกษตร (eco–agro tourism) การทอง
เที่ยวเชิงเกษตรและประวัติศาสตร (agro-historical tourism) การทองเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย (eco-adventure 
travel) การทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยาและประวัติศาสตร (geo- historical tourism) การทองเที่ยวเชิงเกษตรและ
วัฒนธรรม (agro-cultural tourism) เปนตน 
 
กระตุนการทองเที่ยว 
รัฐบาลรณรงคดานการทองเที่ยวตลอดป 2561 ดวย “ปทองเที่ยววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” ออกมาตรการกระตุนการ
ทองเที่ยวใหกับนักทองเที่ยวตางชาติ 3 แนวทาง ดังนี้ 
1.ใหหนังสือเดินทางที่ขอรับการตรวจลงตราแบบสามารถเดินทางไดครั้งเดียว ณ สถานทูตหรือสถานกงสุลไทยในทุก
ประเทศ จากเดิมสามารถเดินทางได 1 ครั้งเปนใหเดินทางเขาประเทศไทยได 2 ครั้ง ภายในชวงเวลา 6 เดือน คิดคา
ธรรมเนียมอัตราเดิม 1,000 บาท 
6
 
2.การใหอนุญาตกลับเขามาในราชอาณาจักรอีกครั้ง แบบอนุญาตครั้งเดียว เพื่อใหนักทองเที่ยวตางชาติที่มี วีซาอยู
แลวและตองการเดินทางไปทองเที่ยวในประเทศเพื่อนบานของไทย สามารถกลับเขามาประเทศไทยอีกโดยไมตองขอ
อนุญาตใหม 
3.แกไขกฎกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการอนุญาตใหชาวตางชาติในประเทศที่ไดรับการยกเวนการ
ตรวจลงตราเพื่อการทองเที่ยวเปนระยะเวลา 30 วัน ซึ่งเดินทางเขาประเทศผานชองทางอนุญาตของดานตรวจคนเขา
เมืองทางบก สามารถเขามาในไทยดวยการยกเวนการตรวจลงตราไมจํากัดจํานวนครั้งตอปปฏิทิน จากเดิมไดไมเกิน 2 
ครั้งตอป ยกเวนบุคคลสัญชาติมาเลเซีย 
สําหรับเปาหมายของมาตรการดังกลาว เพื่อกระตุนและสงเสริมใหนักทองเที่ยวตางชาติเขามาประเทศไทยในชวง
ปลายป 61 ใหไดจํานวน 38 ลานคน มีรายไดเขาประเทศไมตํ่ากวา 2.20 ลานลานบาท ตั้งเปามีนักทองเที่ยวตางชาติ
เขามาประเทศไทยในชวงเทศกาลปใหมเพิ่มขึ้นไมนอยกวา 30% 
 
วิธีดําเนินงาน  
แนวทางการดําเนินงาน 
-เลือกหัวขอ 
-นําเสนอหัวขอกครูที่ปรึกษา 
-สอบถามขอมูลจากรานคา 
-จัดทํารายงาน 
-นําเสนอและปรับปรุงแกไข 
เครื่องมือและอุปกรณที่ใช 
-คอมพิวเตอร 
-หนังสือที่กี่ยวของ 
-สมุดจดบันทึกการสอบถาม 
งบประมาณ 
- 
 
ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน 
 
ลําดับ 
ที่ 
ขั้นตอน  สัปดาหที่  ผูรับผิดชอบ 
1  2  3  4  5  6  7  8  9 
1
0 
1
1 
12 
1
3 
1
4 
1
5 
16  17   
1  คิดหัวขอโครงงาน                                     
2  ศึกษาและคนควาขอมูล                                     
3  จัดทําโครงรางงาน                                     
4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                                     
5  ปรับปรุงทดสอบ                                     
6  การทําเอกสารรายงาน                                     
7  ประเมินผลงาน                                     
8  นําเสนอโครงงาน                                     
7
 
 
ผลที่คาดวาจะไดรับ ​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน) 
ไดความรูในเรื่องของการทองเที่ยวในเชียงใหม และจะสามารถกระตุนการทองเที่ยวจีนในเชียงใหมได 
 
สถานที่ดําเนินการ 
หองคอมพิวเตอร และหองสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 
กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ 
- คอมพิวเตอร 
- สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
แหลงอางอิง ​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน) 
-​https://th.wikipedia.org/wiki/การทองเที่ยว 
-http://www.thaihealth.or.th/Content/5877-เปด%203%20มาตรการกระตุนการทองเที่ยวไทย.html 
 

More Related Content

Similar to 2561 project

กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenriikiki96
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
2560 project ของวี่
2560 project ของวี่2560 project ของวี่
2560 project ของวี่Tai MerLin
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมWannisaThongnoi1
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2Ploy Wanida
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ Pukkad Kcn
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติduenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติduenka
 

Similar to 2561 project (20)

กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิงศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaen
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
2560 project ของวี่
2560 project ของวี่2560 project ของวี่
2560 project ของวี่
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
spy
spyspy
spy
 
spy
spyspy
spy
 
nam
namnam
nam
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
Me
MeMe
Me
 

2561 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร  รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6  ปการศึกษา 2561    ชื่อโครงงาน การทองเที่ยวเชียงใหมซบเซานักทองเที่ยวจีนลดลง        ชื่อผูทําโครงงาน    นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน เลขที่ 31 ชั้น ม.6 หอง 9         ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ          ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561            โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม  สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34             
  • 2. 2     ใบงาน  การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร    สมาชิก   นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน ชั้น ม.6 หอง 9 ​เลขที่ 31    คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้    ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)  การทองเที่ยวเชียงใหมซบเซานักทองเที่ยวจีนลดลง  ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)      Decline of Chinese Tourists in Chiang Mai  ประเภทโครงงาน ​โครงงานประเภทศึกษาขอมูล  ชื่อผูทําโครงงาน ​นางสาว จีรนันท ภักดิ์บุญปน  ชื่อที่ปรึกษา ​ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ  ระยะเวลาดําเนินงาน ​10สัปดาห    ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน)  ​เนื่องจากปจจุบันเชียงใหมไดเปนเมืองทองเที่ยวอันดับตนๆในไทย และยังเปนเมืองหลวงของประเทศไทย อันดับสอง รองจากกรุงเทพมหานคร ที่นักทองเที่ยวจากหลายๆแหลงจะเขามาทองเที่ยว จึงทําใหเศรษฐกิจของ เชียงใหมมีรายไดเพิ่มมากขึ้นเปนจํานวนหลายเทาตัว อีกทั้งยังทําใหเชียงใหมพัฒนาไดรวดเร็วมากยิ่งขึ้น แตไมนานมา นี้ไดมีขาวจากหลายๆแหลงใหขอมูลวานักทองเที่ยวจีนในจังหวัดเชียงใหมไดลดลงเปนจํานวนมาก ทําใหบรรยากาศ การคาขาย และการทองเที่ยวซบเซาลงเปนอยางมาก จึงสงผลใหเศรษฐกิจของเชียงใหมเกิดการชะลอตัว เนื่องจาก รายรับที่หายไปจากนักทองเที่ยวจํานวนมาก ทางผูจัดทําโครงงานจึงเห็นไดวาอยากที่จะกระตุนเศรษฐกิจการทอง เที่ยว การคาของเชียงใหม     วัตถุประสงค ​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ)  1.เพื่อศึกษาเหตุผลที่นักทองเที่ยวลดลง  2.กระตุนเศรษฐกิจการทองเที่ยวในเชียงใหม    ขอบเขตโครงงาน ​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน)  ในการศึกษาโครงงานนักทองเที่ยวจีนในเชียงใหมลดลงจะศึกษาจากขาวสาร และสอบถามรานคาใน ถ.นิมมานเหห มินท จ.เชียงใหม   
  • 3. 3   หลักการและทฤษฎี ​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน)  การทองเที่ยว  การทองเที่ยวหมายถึงการเดินทาง โดยระยะทางมากกวา 40 กิโลเมตรจากบาน เพื่อจุดประสงคในการพักผอนหยอน ใจ การทองเที่ยวในประเทศไทยไดมีพัฒนาการมาตั้งแต พ.ศ. 2467 สมัยพระเจาบรมวงศเธอกรมพระกําแพงเพชร อัครโยธิน ครั้งทรงดํารงตําแหนงผูบัญชาการรถไฟ ซึ่งในครั้งนั้นการทองเที่ยวในประเทศไทย ยังเปนการทองเที่ยวเพื่อ ชมธรรมชาติและสถานที่ราชการ หรือสถานที่สําคัญที่ทางชาวตางประเทศที่เขามาในประเทศไทยสรางขึ้น แตเมื่อ ประมาณ 10 ป ที่ผานมาทางองคการทองเที่ยวโลก (www.unwto.org) ไดมีการกําหนดรูปแบบการทองเที่ยว  ได 3 รูปแบบหลัก   1) รูปแบบการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติ (natural based tourism)  1.1 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (ecotourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใตการจัดการสิ่ง แวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทองถิ่นเพื่อมุงเนนใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน  1.2 การทองเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (marine ecotourism) หมายถึงการทอง เที่ยว อยางมีความรับผิดชอบ ในแหลงธรรมชาติทางทะเลที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศทางทะเล โดยมี กระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใต  การจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทอง ถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั้งยืน  1.3 การทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (geo-tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติที่เปน หินผา ลาน หินทราย อุโมงคโพรง ถํ้านํ้าลอด ถํ้าหินงอกหินยอย เพื่อดูความงามของภูมิทัศนที่มีความแปลกของการเปลี่ยนแปลง ของพื้นที่โลก ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แรตางๆ และฟอสซิล ไดความรูไดมีประสบการณใหม บนพื้นฐานการทอง เที่ยวอยางรับผิดชอบ มีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการ ทองเที่ยว  1.4 การทองเที่ยวเชิงเกษตร (agro tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวไปยังพื้นที่เกษตรกรรมสวนเกษตร  วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟารมปศุสัตวและเลี้ยงสัตวเพื่อชื่นชมความสวยงาม ความสําเร็จและเพลิดเพลินในสวน เกษตร ไดความรูมีประสบการณใหมบนพื้นฐานความรับผิดชอบ มีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมของสถานที่ แหงนั้น  1.5 การทองเที่ยวเชิงดาราศาสตร (astrological tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อการไปชม ปรากฏการณทางดาราศาสตรที่เกิดขึ้นในแตละวาระ เชน สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่ ปรากฏในทองฟาแตละเดือน เพื่อการเรียนรูระบบสุริยะจักรวาล มีความรูความประทับใจ ความทรงจําและ ประสบการณเพิ่มขึ้น บนพื้นฐานการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมและ วัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการรวมกันอยางยั่งยืน  2) รูปแบบการทองเที่ยวในแหลงวัฒนธรรม (cultural based tourism)  2.1 การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร (historical tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวไปยังแหลงทองเที่ยว ทางโบราณคดี และประวัติศาสตร เพื่อชื่นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ทองเที่ยวไดความรูมีความเขาใจตอ
  • 4. 4 ประวัติศาสตรและโบราณคดี ในทองถิ่นพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึกตอการรักษามรดกทางวัฒนธรรม และคุณคา ของสภาพแวดลอมโดยที่ประชาชนในทองถิ่น มีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยว  2.2 การทองเที่ยวงานชมวัฒนธรรมและประเพณี (cultural and traditional tourism) หมายถึงการเดินทาง ทองเที่ยว เพื่อชมงานประเพณีตางๆ ที่ชาวบานในทองถิ่นนั้นๆ จัดขึ้น ไดรับความเพลิดเพลินตื่นตาตื่นใจในสุนทรียะ ศิลปเพื่อศึกษาความเชื่อ การยอมรับนับถือ การเคารพพิธีกรรมตางๆ และไดรับความรูมีความเขาใจตอสภาพสังคม และวัฒนธรรม มีประสบการณใหมๆ เพิ่มขึ้นบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวด ลอมและมรดกทางวัฒนธรรม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการทองเที่ยว  2.3 การทองเที่ยวชมวิถีชีวิตในชนบท (rural tourism / village tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวใน หมูบาน ชนบทที่มีลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสรางสรรคที่มีเอกลักษณพิเศษมีความโดดเดนเพื่อความเพลิดเพลินได ความรูดูผลงานสรางสรรคและภูมิปญญาพื้นบาน มีความเขาใจในวัฒนธรรมทองถิ่น บนพื้นฐานของความรับผิดชอบ และมีจิตสํานึกตอการรักษามรดกทางวัฒนธรรมและคุณคาของสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอ การจัดการการทองเที่ยว  3) รูปแบบการทองเที่ยวในความสนใจพิเศษ (special interest tourism)  3.1 การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (health tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติและแหลงวัฒนธรรม เพื่อการพักผอนและเรียนรูวิธีการรักษาสุขภาพกายใจไดรับความเพลิดเพลิน และสุนทรียภาพ มีความรูตอการรักษา คุณคา และคุณภาพชีวิตที่ดี มีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่นโดยประชาชนในทองถิ่นมีสวน รวมตอการจัดการทองเที่ยวที่ยั่งยืน อนึ่ง การทองเที่ยวเชิงสุขภาพนี้บางแหงอาจจัดรูปแบบเปนการทองเที่ยวเพื่อ สุขภาพและความงาม (health beauty and spa)  3.2 การทองเที่ยวเชิงทัศนศึกษาและศาสนา (edu-meditation tourism) หมายถึง การเดินทางเพื่อ ทัศนศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูจากปรัชญาทางศาสนา หาความรู สัจธรรมแหงชีวิตมีการฝกทําสมาธิเพื่อมีประสบการณ และความรูใหมเพิ่มขึ้น มีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น  โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน นอกจากนั้น นักทองเที่ยวบางกลุมมุงการเรียนรู วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย เชน การทําอาหารไทยการนวดแผนไทย รําไทย มวยไทย การชางและงานศิลป หัตถกรรมไทย รวมถึงการบังคับชางและเปนควาญชาง เปนตน  3.3 การทองเที่ยวเพื่อศึกษากลุมชาติพันธุหรือวัฒนธรรมกลุมนอย (ethnic tourism) หมายถึง การเดินทาง ทองเที่ยวเพื่อเรียนรูวิถีชีวิตความเปนอยูวัฒนธรรมของชาวบานวัฒนธรรมของชนกลุมนอยหรือชนเผาตาง ๆ เชน  หมูบานชาวไทยโซง หมูบานผูไทย หมูบานชาวกูย หมูบานชาวกะเหรี่ยง หมูบานชาวจีนฮอ เปนตน เพื่อมี ประสบการณและความรูใหมเพิ่มขึ้นมีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้นมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและ วัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน  3.4 การทองเที่ยวเชิงกีฬา (sports tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อเลนกีฬาตามความถนัดความ สนใจ ในประเภทกีฬา เชน กอลฟ ดํานํ้า ตกปลา สนุกเกอร กระดานโตคลื่น สกีนํ้า เปนตน ใหไดรับความเพลิดเพลิน ความสนุกสนานตื่นเตน ไดรับประสบการณและความรูใหมเพิ่มขึ้น มีคุณคาและคุณภาพชีวิตที่ดีเพิ่มขึ้น มีจิตสํานึกตอ การรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการการทองเที่ยวที่ยั่งยืน 
  • 5. 5 3.5 การทองเที่ยวแบบผจญภัย (adventure travel) หมายถึง การเดินทางทอง เที่ยวไปยงแหลงทองเที่ยวทาง ธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษ ที่นักทองเที่ยวเขาไปเที่ยวแลวไดรับความสนุกสนานตื่นเตน หวาดเสียว ผจญภัย มีความ ทรงจํา ความปลอดภัย และไดประสบการณใหม  3.6 การทองเที่ยวแบบโฮมสเตยและฟารมสเตย (home stay & farm stay) หมายถึง นักทองเที่ยวกลุมที่ ตองการใชชีวิตใกลชิดกับครอบครัวในทองถิ่นที่ไปเยือนเพื่อการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมทองถิ่น ไดรับ ประสบการณในชีวิตเพิ่มขึ้น โดยมีจิตสํานึกตอการรักษาสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น เปนการจัดการทองเที่ยว อยางมีสวนรวมของชุมชนในทองถิ่นที่ยั่งยืน  3.7 การทองเที่ยวพํานักระยะยาว (long stay) หมายถึง กลุมผูใชชีวิตในบั้นปลายหลังเกษียณอายุจากการ ทํางานที่ตองการมาใชชีวิตตางแดนเปนหลัก เพื่อเพิ่มปจจัยที่หาของชีวิตคือ การทองเที่ยว โดยเดินทางทองเที่ยวตาง ประเทศเฉลี่ย 3 – 4 ครั้งตอป คราวละนาน ๆ อยางนอย 1 เดือน  3.8 การทองเที่ยวแบบใหรางวัล (incentive travel) หมายถึงการจัดนําเที่ยวใหแกกลุมลูกคาของบริษัทที่ ประสบความสําเร็จ (มีความเปนเลิศ) ในการขายสินคานั้นๆ ตามเปาหมายหรือเกินเปาหมาย เชน กลุมผูแทนบริษัท จําหนายรถยนต ผูแทนบริษัทจําหนายเครื่องใชไฟฟา ผูแทนบริษัทจาหนายเครื่องสําอาง จากภูมิภาคหรือจังหวัด ตางๆ ที่สามารถขายสินคาประเภทนั้นไดมากตามที่บริษัทผูแทนจําหนายในประเทศตั้งเปาหมายไวเปนการใหรางวัล และจัดนําเที่ยว โดยออกคาใชจายในการเดินทาง คาพักแรมและคาอาหารระหวางการเดินทางใหกับผูรวมเดินทาง  เปนการจัดรายการพักแรมตั้งแต 2 – 7 วัน เปนรายการนําเที่ยวชมสถานทองที่ตางๆ อาจเปนรายการนําเที่ยวแบบ ผสมผสาน หรือรายการนําเที่ยวในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง  3.9 การทองเที่ยวเพื่อการประชุม (MICE หมายถึง M=meeting/I= incentive/ C=conference /  E=exhibition) เปนการจัดนําเที่ยวใหแกกลุมลูกคาของผูที่จัดประชุม มีรายการจัดนําเที่ยวกอนการประชุม  (pre-tour) และการจัดรายการนําเที่ยวหลังการประชุม (post-tour) โดยการจัดรายการทองเที่ยวในรูปแบบตาง ๆ  ไปทั่วประเทศ เพื่อบริการใหกับผูเขารวมประชุมโดยตรง หรือสําหรับผูที่รวมเดินทางกับผูประชุม (สามีหรือภรรยา)  อาจเปนรายการทองเที่ยววันเดียว หรือรายการเที่ยวพักคางแรม 2 – 4 วัน โดยคิดราคาแบบเหมารวมคาอาหารและ บริการทองเที่ยว  3.10 การทองเที่ยวแบบผสมผสานเปนอีกรูปแบบหนึ่งที่ผูจัดการการทอง เที่ยวคัดสรรรูปแบบการทองเที่ยวที่ กลาวมาแลวขางตน นํามาจัดรายการนําเที่ยว เพื่อใหนักทองเที่ยวไดรับความแตกตางระหวางการเดินทางทองเที่ยวใน ระยะยาวนานตั้งแต 2 – 7 วันหรือมากกวานั้นเชน การทองเที่ยวเชิงนิเวศและเกษตร (eco–agro tourism) การทอง เที่ยวเชิงเกษตรและประวัติศาสตร (agro-historical tourism) การทองเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย (eco-adventure  travel) การทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยาและประวัติศาสตร (geo- historical tourism) การทองเที่ยวเชิงเกษตรและ วัฒนธรรม (agro-cultural tourism) เปนตน    กระตุนการทองเที่ยว  รัฐบาลรณรงคดานการทองเที่ยวตลอดป 2561 ดวย “ปทองเที่ยววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” ออกมาตรการกระตุนการ ทองเที่ยวใหกับนักทองเที่ยวตางชาติ 3 แนวทาง ดังนี้  1.ใหหนังสือเดินทางที่ขอรับการตรวจลงตราแบบสามารถเดินทางไดครั้งเดียว ณ สถานทูตหรือสถานกงสุลไทยในทุก ประเทศ จากเดิมสามารถเดินทางได 1 ครั้งเปนใหเดินทางเขาประเทศไทยได 2 ครั้ง ภายในชวงเวลา 6 เดือน คิดคา ธรรมเนียมอัตราเดิม 1,000 บาท 
  • 6. 6   2.การใหอนุญาตกลับเขามาในราชอาณาจักรอีกครั้ง แบบอนุญาตครั้งเดียว เพื่อใหนักทองเที่ยวตางชาติที่มี วีซาอยู แลวและตองการเดินทางไปทองเที่ยวในประเทศเพื่อนบานของไทย สามารถกลับเขามาประเทศไทยอีกโดยไมตองขอ อนุญาตใหม  3.แกไขกฎกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการอนุญาตใหชาวตางชาติในประเทศที่ไดรับการยกเวนการ ตรวจลงตราเพื่อการทองเที่ยวเปนระยะเวลา 30 วัน ซึ่งเดินทางเขาประเทศผานชองทางอนุญาตของดานตรวจคนเขา เมืองทางบก สามารถเขามาในไทยดวยการยกเวนการตรวจลงตราไมจํากัดจํานวนครั้งตอปปฏิทิน จากเดิมไดไมเกิน 2  ครั้งตอป ยกเวนบุคคลสัญชาติมาเลเซีย  สําหรับเปาหมายของมาตรการดังกลาว เพื่อกระตุนและสงเสริมใหนักทองเที่ยวตางชาติเขามาประเทศไทยในชวง ปลายป 61 ใหไดจํานวน 38 ลานคน มีรายไดเขาประเทศไมตํ่ากวา 2.20 ลานลานบาท ตั้งเปามีนักทองเที่ยวตางชาติ เขามาประเทศไทยในชวงเทศกาลปใหมเพิ่มขึ้นไมนอยกวา 30%    วิธีดําเนินงาน   แนวทางการดําเนินงาน  -เลือกหัวขอ  -นําเสนอหัวขอกครูที่ปรึกษา  -สอบถามขอมูลจากรานคา  -จัดทํารายงาน  -นําเสนอและปรับปรุงแกไข  เครื่องมือและอุปกรณที่ใช  -คอมพิวเตอร  -หนังสือที่กี่ยวของ  -สมุดจดบันทึกการสอบถาม  งบประมาณ  -    ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน    ลําดับ  ที่  ขั้นตอน  สัปดาหที่  ผูรับผิดชอบ  1  2  3  4  5  6  7  8  9  1 0  1 1  12  1 3  1 4  1 5  16  17    1  คิดหัวขอโครงงาน                                      2  ศึกษาและคนควาขอมูล                                      3  จัดทําโครงรางงาน                                      4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                                      5  ปรับปรุงทดสอบ                                      6  การทําเอกสารรายงาน                                      7  ประเมินผลงาน                                      8  นําเสนอโครงงาน                                     
  • 7. 7     ผลที่คาดวาจะไดรับ ​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน)  ไดความรูในเรื่องของการทองเที่ยวในเชียงใหม และจะสามารถกระตุนการทองเที่ยวจีนในเชียงใหมได    สถานที่ดําเนินการ  หองคอมพิวเตอร และหองสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย  กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ  - คอมพิวเตอร  - สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  แหลงอางอิง ​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน)  -​https://th.wikipedia.org/wiki/การทองเที่ยว  -http://www.thaihealth.or.th/Content/5877-เปด%203%20มาตรการกระตุนการทองเที่ยวไทย.html