SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
แผนพัฒนาห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น
ประจาปีงบประมาณ 2560
2
แผนพัฒนา
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น
ประจาปีงบประมาณ 2560
1. บทที่ 1
- ประวัติของห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น
จัดตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2592 โดยอาศัยชั้นล่างของที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่น
เป็นสถานที่จัดบริการของห้องสมุด
ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดสรรเงินจานวน 70,000
บาท สมทบกับเงินของสภาจังหวัดขอนแก่น จานวน 50,000 บาท รวมเป็นเงิน 120,000 บาท
ก่อสร้างเป็นอาคารเอกเทศในบริเวณโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.
2500 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น จึงได้ย้ายจากที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่นไปอยู่อาคาร
หลังใหม่ในบริเวณโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนในปีเดียวกัน
ในปี พ.ศ. 2519 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดสรรเงิน จานวน 5000,000
บาท สมทบกับเงินที่ได้จากการจัดกิจกรรมหลายอย่างอีกจานวน5000,000 บาท รวมเป็นเงิน
1,000,000 บาท เพื่อก่อสร้างอาคารห้องสมุดขนาดใหญ่ เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชั้น ที่ได้มาตรฐาน
ตั้งอยู่ติดกับโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
ในปี พ.ศ. 2520 ได้ทาการย้ายห้องสมุดจากอาคารหลังเก่าที่อยู่ในบริเวณโรงเรียนขอนแก่น
วิทยายน มาอยู่ที่อาคารหลังใหม่ที่อยู่ติดกับโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย และในศูนย์การศึกษานอก
โรงเรียนจังหวัดขอนแก่นในปัจจุบัน และทาพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 29 มิถุนายน 2522
โดยนายบรรจง ชูสกุลชาติ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการสมัยนั้นเป็นประธานพิธีเปิดห้องสมุด
ต่อมาอาคารห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น หมดสภาพการใช้งานในปีงบประมาณ 2540
กรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงได้จัดสรรเงินงบประมาณมาให้ก่อสร้างอาคารห้องสมุดประชาชนหลัง
ใหม่ ขนาดใหญ่ 3 ชั้น ตามแบบที่กรมการศึกษานอกโรงเรียนกาหนด และตั้งอยู่ที่เดิมในราคา
ค่าก่อสร้าง 7,300,000 บาท (เจ็ดล้านสามแสนบาทถ้วน)
วันที่ 25 ธันวาคม 2540 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน
วโรกาสให้นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช (ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น), นายจินดา นูเร (ผู้อานวยการ
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่นในขณะนั้น) และคณะเข้าเฝ้าฯ ในโอกาสเสด็จฯ ไปทรง
เปิดโรงงานผลิตภัณฑ์นม ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ตาบลท่าพระ จังหวัดขอนแก่น และได้ทรงพระสุหร่ายและทรงเจิม
แผ่นศิลาฤกษ์อาคารห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่นหลังใหม่ เวลา 10.30 น.
วันที่ 9 มกราคม 2541 เวลา 09.00 น. ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารห้องสมุดประชาชนหลัง
ใหม่โดยผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช) เป็นประธานในพิธีและได้รับเมตตา
จากหลวงปู่ศรี มหาวีโร มาร่วมในพิธีด้วย
การก่อสร้างอาคารได้แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 ระหว่างที่มีการก่อสร้างอาคาร
นั้นห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น ได้ย้ายไปให้บริการชั่วคราวที่ห้องประชุมใหญ่ของศูนย์
การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น
3
โดยหนังสือสานักราชเลขาธิการ สวนจิตรลดา ที่ รล 0008/1543 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2543
แจ้งว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพระราชทานพระราชานุญาติให้ใช้ชื่ออาคาร
ห้องสมุดหลังใหม่ว่า
“ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น”
โดยหนังสือสานักราชเลขาธิการ สวนจิตรลดา ที่ รล 0008/6113 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน
2543 แจ้งว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงรับเชิญเสด็จพระราชดาเนินทรง
เป็นประธานเปิดอาคาร
“ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น” ในวันที่ 5 มกราคม 2544
การดาเนินงานและการจัดการบริการของห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ได้ยึดหลักการจัดบริการห้องสมุด
ประชาชนแนวปฏิรูป ซึ่งท่านอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน(นายทองอยู่ แก้วไทรฮะ)ได้กล่าวไว้ว่า
“การเปลี่ยนแปลงบทบาทของห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการเปลี่ยน
รูปแบบและวิธีการให้บริการที่ควรจะเป็นศูนย์สื่อที่ประชาชนจะได้เรียนรู้มากที่สุด 3 ประการ คือ
1. การเป็นแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
2. การเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ
3. การเป็นศูนย์ข้อมูลชุมชน
เพื่อให้ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น เป็นไปตามบทบาทดังกล่าว และสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดขอนแก่นที่มุ่งเน้น
ให้ประชาชนได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช ผู้ว่าราชการจังหวัด
ขอนแก่น นางปราณี อินทรกุลไชย ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่นและ
บุคลากรสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียนที่ปฏิบัติงานในจังหวัดขอนแก่น ได้ประสานการร่วมมือจาก
ผู้เทิดทูนบารมีแห่งองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งได้ร่วมกันสมทบทุน
สร้างสรรค์ความพร้อม ความสวยงามอย่างสมพระเกียรติ
หลังจากพิธีเปิดห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น อย่างเป็นทางการแล้วห้องสมุดฯ
จะเปิดบริการทุกวัน(ยกเว้นวันหยุดสาคัญ) บริการที่จะจัด ได้แก่
1. บริการอ่านภายในห้องสมุด
2. บริการรับสมัครสมาชิกใหม่
3. บริการจ่าย – รับหนังสือและสื่อต่าง ๆ
4. บริการตอบคาถามและช่วยค้นคว้า
5. บริการสื่อการศึกษานอกโรงเรียน
6. บริการสื่อการเรียนการสอน มสธ. และ มร.
7. บริการสืบค้นหนังสือ/สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
8. บริการสืบค้นข้อมูลเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงกับจังหวัดขอนแก่น”
และข้อมูลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
9. บริการสืบค้นข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น
4
10. บริการข้อมูลความรู้เกี่ยวกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง
11. บริการความรู้จากปฏิทิน
12. บริการมุมเด็กและครอบครัว
13. บริการความรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์
14. บริการอินเทอร์เน็ต (เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเพื่อการค้นคว้า)
15. บริการการศึกษาทางไกลดาวเทียมไทยคม
16. บริการเอกสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์
ทั้งนี้ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น (นางปราณี อินทรกุลไชย ผู้อานวยการ
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น) ซึ่งดูแลงานห้องสมุดได้กาหนดจุดเน้นของห้องสมุด
ประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ไว้ดังนี้
1. เน้นความน่าสนใจ ความสะอาด สวยงามของการจัดมุมและห้องต่างๆในห้องสมุด
ตลอดจนบริเวณภายนอก
2. เน้นความหลากหลายและความเป็นปัจจุบันของสื่อประเภทต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้
3. เน้นการหมุนเวียน / การเคลื่อนไหวของสื่อและข้อมูลต่าง ๆ ในห้องสมุด
4. เน้นการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและเชิญชวนมาใช้ห้องสมุด
5. เน้นการจัดทาสถิติและรายงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุง
ข้อมูลห้องสมุดทั่วไป
- ห้องสมุดประชาชนชื่ออะไร
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น
- สถานที่ตั้ง 174 ถนนดรุณสาราญ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
โทรศัพท์ 043226458 โทรสาร -
เว็บไซต์ห้องสมุด https://goo.gl/3da5K5
เว็บไซต์เชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ http://203.172.142.11/LRLS/frontend/theme/
- ลักษณะอาคาร เอกเทศ ลักษณะอาคารคอนกรีต จานวน 3 ชั้นจานวนพื้นที่ 2 งาน 88 ตารางวา
- ระยะเวลาดาเนินการ ประกาศจัดตั้งปีพุทธศักราช 2492 รวม 68 ปี
- ผู้ใช้บริการเฉลี่ยต่อวัน 80 คน
- จานวนสมาชิกห้องสมุด 2,388 คน
- จานวนสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ 6,283 เล่ม,หนังสือพิมพ์ 6 ชื่อเรื่อง,วารสาร/นิตยสาร 10 ชื่อเรื่อง
สื่อ 212 ชื่อเรื่อง
- จานวนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วีซีดี,ซีดีรอม,หนังสือเสียง,e-book 5,460 แผ่น
5
- จานวนผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น จานวน 5 คนดังนี้
ชื่อ – สกุล นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย
ตาแหน่ง บรรณารักษ์ ชานาญการ
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต
วิชาเอกบรรณารักษศาสตร์
วันเดือนปีเกิด วันที่ 3 มิถุนายน 2514
โทรศัพท์ 0954063445
e-mail : rmonrat556@gmail.com
ชื่อ – สกุล นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์
ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต
วิชาเอกการจัดการทั่วไป
วันเดือนปีเกิด วันที่ 4 กรกฎาคม 2518
โทรศัพท์ 0804605669
e-mail : narumon885@hotmail.co.th
ชื่อ – สกุล นางสาวชลิดา ยาจันทึก
ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต
วิชาเอกการท่องเที่ยวและการโรงแรม
วันเดือนปีเกิด วันที่ 9 มิถุนายน 2529
โทรศัพท์ 0885622337
e-mail : chompoobee@hotmail.com
ชื่อ – สกุล นางสาวรวีวรรณ เชิงชัยภูมิ
ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต
วิชาเอกสารสนเทศศาสตร์
วันเดือนปีเกิด 12 ธันวาคม 2536
โทรศัพท์ 0854169568
e-mail : raweewan.c@kkumail.com
ชื่อ – สกุล นายวิชัย ประทุมชาติ
ตาแหน่ง นักการภารโรง
ระดับการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
(สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง)
วันเดือนปีเกิด 26 เมษายน 2516
โทรศัพท์ 0827377218
6
- การได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายมีหน่วยงาน
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ห้างร้าน บริษัทส่วนบุคคล
หน่วยงานเอกชน และประชาชนทั่วไป ในการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ ได้แก่
1. โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริ
ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย เทศบาลนคร
ขอนแก่น/ชุมชนชาวตลาดสด เทศบาล 1
2. โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี 2560 ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย ห้างร้าน บริษัท
ประชาชนทั่วไป จานวน 26 ราย
3. โครงการหนังสือแซ่บ ได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เทศบาลนครขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น
บ้านหนังสือชุมชน จานวน 82 แห่ง
4. โครงการหนังสือข้างเตียง ได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์
5. โครงการหนังสือติดล้อ ได้รับการสนับสนุนจาก ร้านอังกรูคอนกรีต ได้จัดทารถหนังสือติดล้อ
6. โครงการบรรณสัญจร ได้รับการสนับสนุนจาก ห้างร้าน ประชาชนทั่วไปได้นาหนังสือมาบริจาค
เพื่อที่จะนาไปหมุนเวียนหนังสือตามโครงการหนังสือแซ่บ
2. บทที่ 2 การวิเคราะห์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอเพื่อนาไปสู่การพัฒนา
2.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาอุปสรรค์ จุดอ่อนที่ต้องได้รับการแก้ไข
1) ปัญหา
- สมาชิกมาใช้บริการน้อย (ในบางวัน)
- บรรยากาศภายในห้องสมุดฯ ร้อนอบอ้าวทาให้สมาชิกไม่มีสมาธิในการอ่าน
- ห้องสมุดเด็กไม่เป็นสัดส่วน
2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพเด่น หรือสิ่งดีงามของ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น
1) มีข้อเด่นคือ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น พัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องมีข้อเด่นสิ่งดีงามของห้องสมุด
ประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มี
หน่วยงานยกย่องมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ จากต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นๆ ดังนี้
1. รางวัลรองชนะเลิศ โครงการอบรมและประกวดห้องสมุดมีชีวิต TK Park Living Library Award 2
(มีนาคม 2552)สานักงานอุทยานการเรียนรู้
2. รางวัลยกย่องเป็นผู้มีผลงานด้านเครือข่ายการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ICTชุมชน จาก คณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3. รางวัลการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดีเด่น ระดับภาค
ประจาปี 2553 ประเภท หน่วยงาน : ห้องสมุดประชาชนจังหวัด จาก สานักงาน กศน.
4. รางวัลห้องสมุดประชาชนจังหวัดดีเด่น ประจาปี 2554 จาก สานักงาน กศน.
5. รางวัลศูนย์เรียนรู้พระราชกรณียกิจและขยายผลพระราชดาริในสถานศึกษาดีเด่นระดับจังหวัด
ประจาปี 2555 จาก สานักงาน จังหวัดขอนแก่น
7
6. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1สถานศึกษาส่งเสริมการอ่าน โครงการ “อ่านสร้างสุข” ในโรงเรียน
และสถานศึกษา ประจาปี 2555 จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
7. รางวัลชนะเลิศยุวทูตการอ่านดีเด่น จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1สถานศึกษาส่งเสริมการอ่าน โครงการ “อ่านสร้างสุข” ในโรงเรียนและ
สถานศึกษา ประจาปี 2556 จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
9. รางวัลชนะเลิศยุวทูตการอ่านดีเด่น จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
10. รางวัลรางวัลชนะเลิศ ประเภทผลงาน แหล่งเรียนรู้เพื่อชีวิตกับความรับผิดชอบต่อสังคม
“โครงการ KhonKaen Networks Show & Share 2014” จัดโดย เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
ห้องสมุด สานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
11. รับโล่รางวัล บรรณารักษ์เด่น ระดับประเทศ ประจาปี 2556จาก สานักงาน กศน.
12. รับโล่ประกาศเกียติคุณ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ผู้ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ศูนย์การศึกษา ค่ายศรีพัชรินทร โดย มณฑลทหารบกที่ 23 ค่ายศรีพัชรินทร
13. ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลชนะเลิศ โครงการ
“สถานศึกษาต้นแบบชุมชนอ่านสร้างสุข” ปีการศึกษา 2557 ประเภท โรงเรียน – ชุมชน จัดโดย
แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน
14. รางวัลห้องสมุดประชาชนยอดเยี่ยม ระดับประเทศ ประจาปี 2557 จาก สานักงาน กศน.
15. รางวัลชนะเลิศ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน ปี 2559 จากผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ในงาน
“วันที่ระลึกสากลแห่งการเรียนรู้หนังสือ” จัดโดยสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น
16. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภทผลงาน แหล่งเรียนรู้เพื่อชีวิตกับความรับผิดชอบต่อสังคม
“โครงการ Khon Kaen Networks Show & Share 2016” จัดโดย เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
ห้องสมุด สานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยขอนแก่น
17. รับโล่ผู้ให้การสนับสนุนข้อมูลเข้าระบบ “คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด” และคลังบทเรียน
ออนไลน์แบบเปิด จากโครงการระบบสื่อสารออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกล
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5
รอบ 2 เมษายน 2558
2) มีข้อเด่นคือ
- การเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ
- เป็นแหล่งศึกษาดูงาน
- เป็นสถานศึกษาฝึกประสบการวิชาชีพ
8
3. บทที่ 3 แผนงาน/โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชน เฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2560 – 2561
(ภายใต้งบประมาณปกติ)
แผนงานที่ 1 แผนงานพัฒนาการจัดกิจกรรมและสื่อ
(1) ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร
โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการหนังสือแซ่บ
(1). ทาอะไร หมุนเวียนหนังสือตามจุดบริการต่าง ๆ
(2). ทาไมถึงทา เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสที่จะ
เจริญพระชนมายุ ครบรอบ 62 พรรษา และส่งเสริมปลูกฝังให้คนขอนก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ และนิยมรัก
การอ่านเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้างบรรยากาศ ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย สามารถเข้าถึงบริการการอ่าน ในทุก ๆ
สถานที่และนาไปสู่การเป็นสังคมตื่นรู้ทางปัญญา มีความรับผิดชอบ และมีจิตสานักรักท้องถิ่น
(3). ทาอย่างไร สารวจพื้นที่เพื่อจัดทามุมหนังสือและตั้งคณะกรรมการการดาเนินงานติดต่อ
ประสานงานเครือข่าย/ออกแบบ/วางแผน/ดาเนินการร่วมกัน และได้คัดเลือกหนังสือจากประชาชนทั่วไปที่
นามาบริจาคออกหมุนเวียนหนังสือเป็นประจาทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ตามจุดบริการต่าง ๆ ดังนี้
- เซ็นทรัลพลาซ่า
- สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น ที่ 1
- สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น ที่ 3
- สถานีขนส่งปรับอากาศจังหวัดขอนก่น
- โรงพยาบาลขอนแก่น
- โรงพยาบาลศรีนครินทร์
- สถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น
- กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน จานวน 42 แห่ง
- บ้านหนังสือชุมชน 82 แห่ง
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน
งานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ
ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้
และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็น
นครแห่งการอ่านและเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้
โครงการที่ 2 ชื่อ โครงการหนังสือข้างเตียง
(1). ทาอะไร จัดมุมหนังสือในโรงพยาบาล “มุมหนังสือข้างเตียง”
(2). ทาไมถึงทา เพื่อพัฒนาเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ โดยปลูกฝัง
และสร้างเจตคติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมและสร้าง
เครือข่ายส่งเสริมการอ่านและสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เกิดขึ้น สาหรับเด็กเจ็บป่วย
เรื้อรังในโรงพยาบาล โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการอ่านให้เกิดขึ้น เพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย
9
(3). ทาอย่างไร เสนอโครงการเพื่อขอพิจารณาอนุมัติและประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน
ดาเนินงานเพื่อเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสถานที่จัดตั้งโครงการฯและมี
อาสาสมัครเข้าไปร่วมทากิจกรรมกับเด็กผู้ป่วยเรื่อรังในโรงพยาบาลเช่นการอ่านหนังสือนิทานและเล่นเกมที่
เหมาะสมกับเด็กป่วยที่เข้ามารับการบาบัดรักษาอยู่ในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาอย่าง
เท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่งถึง
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้ที่สนใจ
มีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น มีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
แผนงานที่ 2 แผนงานการให้บริการ
(1).ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร
โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการหนังสือติดล้อ
(1). ทาอะไร ส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “หนังสือติดล้อ” ห้องสมุดเคลื่อนที่
(2). ทาไมถึงทา เพื่อสร้างสังคมชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ส่งเสริมให้เด็ก
เยาวชน ประชาชนทั่วไป อ่าน เขียน เรียน ค้นคว้า จากหนังสือและพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเพื่อสามารถ
ช่วยเหลือตนเอง
(3). ทาอย่างไร จัดบริการให้อ่านถึงที่ สาหรับบุคคลที่ไม่มีเวลาที่จะเข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุดฯก็
สามารถอ่านได้จาก ห้องสมุดเคลื่อนที่ “หนังสือติดล้อ” และได้นาหนังสือออกให้บริการ เช่น หนังสือเด็ก
วารสาร นิตยสาร และหนังสือเกี่ยวกับอาชีพและหนังสือทั่วไป และได้นากิจกรรมสาหรับเด็กไปให้บริการกับ
เด็กด้วย ภาพระบายสี การพับกระดาษปากขยับ เป็นต้น
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงานคืออะไร สังคมชุมชน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและเด็ก เยาวชน ประชาชน ฝึกการอ่าน การเขียน การค้นคว้าจากหนังสือ ได้ดียิ่งขึ้น เกิดการ
พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น
โครงการที่ 2 ชื่อ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น : ปรับปรุง ขยาย
ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด)
(1). ทาอะไร พัฒนาปรับปรุงอาคาร สถานที่
(2). ทาไมถึงทา เพื่อเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์ที่เอื้อต่อสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัวและพัฒนา
ตกแต่ง ภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิดความร่มรื่นสวยงาม
(3). ทาอย่างไร สารวจ ตรวจสอบ ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว
(ไทยคิด)
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เพื่ออานวยความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง
และเด็กในการเข้าถึงหนังสือ และสามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสมอันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรัก
การอ่านในระยะยาวและพัฒนาตกแต่งภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิด
ความร่มรื่นสวยงาม
10
แผนงานที่ 3 แผนงานการพัฒนาสื่อ
(1). ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร
โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการมุมเรียนรู้ตามอัธยาศัยโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(1). ทาอะไร จัดมุมการเรียนรู้ในห้องสมุด
(2). ทาไมถึงทา เพื่อให้สมาชิกห้องสมุดฯ ประชาชนทั่วไป เด็ก และเยาวชน ได้เรียนรู้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ที่ทางเจ้าหน้าที่ห้องสมุดได้จัดทาไว้เพื่อให้บริการ
(3). ทาอย่างไร จัดมุมหนังสือ สื่ออิเลคทรอนิกส์โดยการใช้ QR CORD
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ
ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้
และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็นนคร
แห่งการอ่านและเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้
แผนงานที่ 4 แผนงานเพิ่มจานวนผู้รับบริการ
(1). ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร
โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริ
ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(1). ทาอะไร จัดบริการมุมหนังสือในตลาด
(2). ทาไมถึงทา เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตาม
พระราชดาริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้กับแม่ค้าและประชาชนทั่วไปที่มา
จับจ่ายภายในตลาดสดแห่งนี้
(3). ทาอย่างไร จัดมุมเรียนรู้ตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการอ่านการเรียนรู้ ภายนอกห้องสมุดฯ เพื่อ
ส่งเสริมการใช้สื่อดิจิทัล เช่น มุมการอ่าน E – Book มุมเรียนรู้จาก QR CORD เป็นต้น โดยจัดบริการ
หมุนเวียนเป็นประจาทุกเดือน
(4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร ประชาชนชาวตลาด ในเขตเทศบาลนคร
ขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น ได้รับความรู้ ความบันเทิง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อคุณภาพชีวิต
ของตนเอง ครอบครัว และผู้ใกล้ชิด ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและสร้างจิตสานึกในการอ่านที่ดีและเพิ่มบรรยากาศ
ส่งเสริมการอ่าน ความสาคัญของการศึกษาเรียนรู้ให้กับประชาชนชาวตลาดและประชาชนทั่วไปในพื้นที่
11
ภาคผนวก
12
โครงการมุมหนังสือแซ่บ
๑. หลักการและเหตุผล
รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็น
วันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และกาหนดให้
ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาศักยภาพ
และคุณภาพของคนในจังหวัดขอนแก่น การจัดมุมหนังสือในบ้าน ในสถานประกอบการ และในสถานที่ราชการ
ให้ครอบคลุมทั่วนครขอนแก่น เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษา
ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้โดยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
และเป็นภาคีเครือข่าย
แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน ภายใต้การสนับสุนของสานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ปักธง 6 จังหวัดในประเทศไทย ที่พร้อมขับเคลื่อนเป็นนครแห่งการอ่านนา
ร่อง ได้แก่ จังหวัด กรุงเทพมหานคร จังหวัดเชียงราย จังหวัดลาปาง จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น
จังหวัดกระบี่ ในเดือนเมษายน 2558 ที่ผ่านมา และพร้อมผลักดันการอ่านเป็นวาระของจังหวัด นา
ยุทธศาสตร์ 3 ดี มาใช้ในการสร้างเมืองสื่อสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย สื่อดี พื้นที่ดี และภูมิดี
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น จึงเล็งเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น โดยใช้มุมหนังสือเป็นกลไกสาคัญในการ
ส่งเสริมให้มี “นครขอนแก่น นครแห่งการอ่าน”และเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน
๒. เพื่อส่งเสริม ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านเพิ่มมากขึ้น
๓. เพื่อสร้างบรรยากาศ ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย สามารถเข้าถึงบริการการอ่าน ได้ในทุกๆ
สถานที่
๔. เพื่อนาไปสู่การเป็นสังคมตื่นรู้ทางปัญญา มีความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกรักท้องถิ่น
๓. เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
พื้นที่ดาเนินงานห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
จังหวัดขอนแก่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประกอบด้วย
- สถานที่สาธารณะจานวน ๙ แห่งและป้ายประชาสัมพันธ์ในสถานที่สาธารณะอื่น ๆ
๑. เซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่น
๒. สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น
๓. สถานีขนส่งปรับอากาศจังหวัดขอนแก่น
๔. สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น แห่งที่ ๓
๕. โรงพยาบาลขอนแก่น
/๖.โรงพยาบาล
13
๖. โรงพยาบาลศรีนครินทร์
๗. สถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น
๘. กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน จานวน ๔๒ แห่ง
๙. บ้านหนังสือชุมชน ๘๒ แห่ง
เชิงคุณภาพ
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรันราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจังหวัดขอนแก่น
กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นและนครขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ที่ครอบคลุมนครขอนแก่น สร้างเสริมและปลูกฝังให้
คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เกิดสังคม
แห่งการเรียนรู้โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและเป็นภาคีเครือข่าย
๔. ขั้นตอนดาเนินการ
๔.๑ สารวจพื้นที่เพื่อจัดทามุมหนังสือ
๔.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน
๔.๓ ติดต่อประสานงานเครือข่าย/ออกแบบ/วางแผน/ดาเนินการร่วมกัน
๔.๔ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศติดตาม/ประเมินผล
๕. ระยะเวลาดาเนินการ
๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐
๖. สถานที่ดาเนินการ
๖.๑ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่น และ สถานที่สาธารณะ ในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น
๗. งบประมาณ
งบดาเนินการ งบประมาณ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น
๘. ผู้รับผิดชอบโครงการ
๘.๑ ข้าราชการ และบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น
๘.๒ งานการศึกษาตามอัธยาศัยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง
ขอนแก่น
๙. การประเมินผล
๙.๑ การแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ให้บริการมุมหนังสือ
๙.๒ สถิติผู้มาใช้บริการมุมหนังสือทั้ง ๓ ประเภท
๙.๓ แบบแสดงความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
๙.๔ สรุป/รายงานผลการดาเนินงาน
/๑๐.ผลที่คาดว่า
14
๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
งานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ
ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้
และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็นนคร
แห่งการอ่าน และเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้
ลงชื่อ..............................................ผู้เสนอโครงการ
(นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์)
บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ
ลงชื่อ..........................................ผู้พิจารณา/เห็นชอบ
โครงการ
(นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย)
บรรณารักษ์ชานาญการ
หัวหน้างานการศึกษาตามอัธยาศัย
ลงชื่อ.....................................ผู้อนุมัติโครงการ
(นายบุญส่ง ทองเชื่อม)
ผู้อานวยการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
15
โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
ระหว่างโครงการสอนเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ร่วมกับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
ชื่อโครงการ โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
แนวคิดและหลักการ
รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านหนังสือเป็นวาระแห่งชาติ โดยกาหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทุก
ปีซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และ
กาหนดให้ ปี 2552-2556 เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา
ศักยภาพและคุณภาพของคนในชาติ ทางโครงการสอนเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ภาควิชากุมารเวช
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมมือกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง
ขอนแก่น ได้เห็นความสาคัญของการศึกษา จึงได้จัดตั้งโครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังใน
โรงพยาบาล เพื่อเป็นการสร้างเสริมและปลูกฝังให้เด็กป่วยในวัยศึกษาเล่าเรียน ที่เข้ามารับการบาบัดรักษาอยู่
ในโรงพยาบาลมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
นโยบายการส่งเสริมการอ่าน
1. พัฒนาเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ โดยปลูกฝังและสร้างเจต
คติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมและสร้างเครือข่าย
ส่งเสริมการอ่าน
2. สร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เกิดขึ้น สาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังใน
โรงพยาบาล โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการอ่านให้เกิดขึ้น เพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย
รวมทั้งความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ที่สนับสนุนการอ่าน และการจัดการกิจกรรมอื่น ๆ
ที่ส่งเสริมการอ่านอันหลากหลาย
นิยามของโครงการหนังสือข้างเตียง คือ “แหล่งหรือสถานที่มุมใดมุมหนึ่ง ที่มีบรรยากาศที
เหมาะสมกับการอ่าน การเข้าถึงง่าย มีสื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ มีผู้รับผิดชอบดูแลให้บริการด้านการ
อ่าน ซึ่งก่อให้เกิดกิจกรรมการอ่าน การกระตุ้นให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล หรือผู้ที่สนใจ ให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้
ก่อให้เกิดความสานักถึงความจาเป็นที่จะต้องอ่าน และนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง”
16
17
หนังสือข้างเตียงมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้
1. จัดสถานที่มุมใดมุมหนึ่งเป็นมุมหนังสือในรูปแบบที่หลายหลายและสอดคล้องเหมาะสมกับ
พื้นที่และความต้องการของผู้ใช้บริการสาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลและผู้สนใจ
2. สามารถเสริมสร้างบรรยากาศการอ่านที่เกี่ยวเนื่องกับสภาพแวดล้อมและสังคม วิถีชีวิตของ
เด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล
3. จัดหาความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวข้องรวมถึงผู้รับบริจาค เพื่อ
จัดหาสื่ออุปกรณ์ที่สนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันในโครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็ก
เจ็บป่วยในโรงพยาบาล
4. จัดสถานที่สาหรับโครงการหนังสือข้างเตียงเพื่อเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้สนใจ
สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก
5. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล ให้ได้รับ
ข้อมูลข่าวสารและการเข้าถึงบริการหนังสือได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น
2. เพื่อช่วยให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3. เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
เป้าหมาย
1. เด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลและผู้ปกครอง ที่มารับบริการ
2. บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สนใจทั่วไป
ระยะเวลาการดาเนินการ
วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ 2553 - 30 มิถุนายน พ.ศ 2554
สถานที่
ห้องกิจกรรม บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง ชั้น 8 ตึก สว. โรงพยาบาลศรีนครินทร์
18
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. เสนอโครงการเพื่อขอพิจารณาอนุมัติ
2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนดาเนินงาน
3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ และสถานที่จัดตั้งโครงการฯ
4. ดาเนินงานตามวัน เวลาที่กาหนด
5. ประเมิน สรุปและรายงานผลโครงการฯ
แผนการดาเนินงาน
ระยะเวลา
รายการ
ประจาปีงบประมาณ 2554
ผู้รับผิดชอบธ.ค.
53
ม.ค.
54
ก.พ.
54
มี.ค.
54
เม.ย.
54
พ.ค.
54
มิ.ย.
54
1. เสนอโครงการเพื่อขอ
พิจารณาอนุมัติ
2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อ
วางแผนการดาเนินงาน
3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ
หนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์
และสถานที่จัดตั้งดครงการฯ
4. ดาเนินงานตามวัน เวลาที่
กาหนด
5. ประเมิน สรุปและรายงาน
ผลโครงการฯ
19
งบประมาณ
งบการดาเนินงานได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ในรายละเอียดดังนี้
1. ตู้หนังสือ 3 ชั้น จานวน 11 ตู้ xตู้ละ 400 บาท = 4,400 บาท
2. สื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ จานวน 100 เล่ม = 5,000 บาท
3. เครื่องเล่น VCD จานวน 1 เครื่อง = 1,400 บาท
4. วัสดุ อุปกรณ์ การดาเนินงาน จานวน = 2,000 บาท
5. ค่ารูปเล่มสรุปผลโครงการ จานวน 4 เล่ม = 400 บาท
รวมทั้งสิ้น 13,200 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันสองร้อยบาทถ้วน)
หมายเหตุ : รายการข้างต้นตั้งแต่ข้อ 1-4 ได้รับความอนุเคราะห์ ดาเนินการจัดซื้อและจัดหาโดยศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งรายการดังกล่าว จะเป็นการ
ประมาณค่าใช้จ่ายอาจจะเกิดการคาดเคลื่อนการประมาณการได้ และได้รับความอนุเคราะห์จากหัวหน้า
พยาบาลและผู้ที่เกี่ยวข้อง บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง สว. ชั้น 8 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ในการจัดหา
สถานที่เพื่อจัดตั้งโครงการหนังสือข้างเตียงฯ ขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้ที่สนใจ มีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น
2. เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3. ห้องกิจกรรม บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง สว.ชั้น 8 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เกิดเป็นสังคม
แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
การวัดและประเมินผล
1. แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยมีความพึงพอใจในระบบดี ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 80 %
ของผู้ใช้บริการทั้งหมด
2. สังเกตการณ์จากการเข้าใช้บริการโครงการฯ ทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 % ของจานวน
เด็กเจ็บป่วยทั้งหมดที่มารับการบาบัดรักษา บนหอหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง ตึก สว. ชั้น 8 ในโรงพยาบาลศรี
นครินทร์
20
ลงชื่อ...........................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาลิดา ยาจันทึก)
บรรณารักษอัตราจ้าง
ลงชื่อ.....................................ผู้เห็นชอบโครงการ
(นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย)
บรรณารักษ์ชานาญการ
ลงชื่อ........................................ผู้อนุมัติโครงการ
(นายบุญส่ง ทองเชื่อม)
ผู้อานวยการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
21
1. ชื่อโครงการ
โครงการ การพัฒนาห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น : ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดสาหรับเด็กและ
ครอบครัว(ไทยคิด)
2. หลักการและเหตุผล
สานักงานอุทยานการเรียนรู้ (ทีเคพาร์ค) สังกัดสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ
มหาชน) สานักนายกรัฐมนตรี ได้จัดทาโครงการ “ห้องสมุดไทยคิด” เพื่อขยายและกระจายโอกาสแก่เด็กและ
เยาวชน ในระดับท้องถิ่นหรือชุมชนให้สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และเป็นศูนย์การเรียนรู้สาหรับเด็กอายุต่า
กว่า 12 ปี เป็นสถานที่ปลูกฝังให้เด็กรักการอ่านเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ สาหรับเด็กนอกเหนือจากห้องเรียน เพื่อ
จะได้แสวงหาความรู้สาหรับเด็กและผู้ปกครองแล้วยังเป็นศูนย์รวมเชื่อมโยงความสัมพันธ์และให้บริการชุมชน
ในการนี้ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด
ขอนแก่น ได้เข้าร่วมโครงการและได้เปิดบริการตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม 2552 จนถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2556
โดยได้จัดมุมเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) บริเวณชั้น 1 อาคารห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น เป็นการชั่วคราว
ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด
ขอนแก่นพัฒนาห้องสมุดเด็กไทยคิด เพื่อขยายแนวคิด “ห้องสมุดมีชีวิต” สาหรับเด็กอายุ 3 – 12 ปี ภายให้อง
สมุดเด็กไทยคิด ตกแต่งด้วยบรรยากาศที่กระตุ้นและส่งเสริมการอ่านมีการคิดเลือกหนังสือและสื่อที่เหมาะสม
แก่พัฒนาของเด็กและช่วงวัย มุ่งอานายความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็กในการเข้าถึงหนังสือและ
สามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสม อันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรักการอ่านในระยะยาว
3. วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์ที่เอื้อต่อสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว
1.2 เพื่อพัฒนาตกแต่ง ภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิด
ความร่มรื่นสวยงาม
4. เป้าหมาย
ด้านปริมาณ พัฒนาภูมิทัศน์ภายนอกและภายในห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ด้านคุณภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น มีแหล่ง
เรียนรู้ที่มีชีวิตเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต
/5. ขั้นตอนการดาเนินการ
22
5. ขั้นตอนการดาเนินการ
สารวจ ตรวจสอบ ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด)
6. ระยะเวลาดาเนินการ
มกราคม 2560 – กันยายน 2560
7. สถานที่ดาเนินการ
- ด้านหน้าอาคารห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น
8. งบประมาณ
- งบดาเนินงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประจาปี 2560 จานวน 200,000 บาท (สองแสนบาท
ถ้วน)
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
- งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมือง
ขอนแก่น
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับเพื่ออานวยความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็กในการเข้าถึงหนังสือ และ
สามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสมอันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรักการอ่านในระยะยาว และพัฒนา
ตกแต่งภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิดความร่มรื่นสวยงาม
ลงชื่อ..........................................................ผู้เสนอโครงการ
(นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์)
บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ
ลงชื่อ.........................................................ผู้พิจารณาโครงการ
(นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย)
บรรณารักษ์ชานาญการ
ลงชื่อ........................................................ผู้อนุมัติโครงการ
(นายบุญส่ง ทองเชื่อม)
ผู้อานวยการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
23
โครงการหนังสือติดล้อ
๑. หลักการและเหตุผล
รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันพระราช
สมภพของสาเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” การอ่านเป็นเครื่องมือ
สาคัญในการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังให้ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับ
การศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้โดยให้ทุกภาคส่วน
มีส่วนร่วมและเป็นภาคีเครือข่าย การสร้างความสัมพันธ์อันดี และช่วยเหลือสังคมนั้นทาได้หลายลักษณะ การ
ให้ความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนสังคม อาจใช้ความสามารถ ความพร้อมและสิ่งที่ตนมีอยู่เป็นการบริการแก่
สังคม การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดี และสามารถทาให้เกิด
ความรู้สึกต้องการค้นคว้า เรียนรู้ จากสื่อหนังสือ พัฒนาสังคมได้เป็นอย่างดี
ปัจจุบันห้องสมุดเป็นสถานที่มีความสาคัญเกี่ยวกับการศึกษา ซึ่งไม่ใช่เฉพาะภายในห้องสมุดเท่านั้น
การให้การศึกษาหาความรู้ภายนอก ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทาให้คนที่ไม่ชอบเข้าห้องสมุดหันมาสนใจการอ่าน
มากขึ้น เช่น การจัดบริการการให้อ่านถึงที่ สาหรับบุคคลที่นั่งพักผ่อนในที่ต่าง ๆ หรือไม่มีเวลาที่จะเข้า
ห้องสมุดก็สามารถอ่านหนังสือจากโครงการหนังสือติดล้อได้ทันที นั่นคือ การนาสื่อหนังสือประเภทต่าง ๆ มา
ไว้ที่รถเคลื่อนที่เพื่อออกบริการให้สามารถได้อ่านหนังสืออย่างทั่วถึง เช่น หนังสือเด็ก วารสาร ฯลฯ เพื่อ
ให้บริการแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อสร้างสังคมชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป อ่าน เขียน เรียน ค้นคว้า จากหนังสือ
๓. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเพื่อสามารถช่วยเหลือตนเอง
๓. เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
- ชุมชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ๑๐ ตาบล จานวน ๑๐๐ คน ได้รับความรู้และเรียนรู้
เชิงคุณภาพ
- เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป มีทัศนคติด้านรักการอ่านเพิ่มมากยิ่งขึ้น
๔. วิธีดาเนินการ
๔.๑ ขั้นตอนดาเนินการ
๑. เสนอโครงการ / ประชุมวางแผน
๒. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือ และสถานที่จัดตั้งโครงการฯ
๓. ดาเนินงานตามโครงการ
๔. ประเมินผล
24
๔.๒ รายละเอียด
ระยะเวลา กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
วันที่ ๑ - ๑๑ ธ.ค. ๕๖ เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ
นายเจนภพ จาเริญ
นายณัฐพล พิทักษ์
วันที่ ๑๒ – ๑๔ ธ.ค.๕๖
วางแผนการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และสื่อหนังสือ
ประชาสัมพันธ์และประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ติดต่อประสานงานกับชุมชน
วันที่ ๑๕ ธ.ค. ๕๖ –
๓๑ ม.ค. ๕๗
จัดทากิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน
วันที่ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๗ รายงานและสรุปผลการดาเนินโครงการ
๕.ระยะเวลาดาเนินการ
- วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗
๖.สถานที่ดาเนินการ
- ชุมชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น
๗. งบประมาณ
- กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประจาปี ๒๕๕๖ รหัส ๔๐๐๕
- หน่วยงาน องค์กร ชุมชน ในเครือข่าย จานวน ๔๐,๐๐๐ บาท
๘.ผู้รับผิดชอบโครงการ
- นายเจนภพ จาเริญ และ นายณัฐพล พิทักษ์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
๙. การประเมินผล
๑. สังเกต
๒. สัมภาษณ์
๓. แบบประเมิน
25
๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สังคมชุมชน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. เด็ก เยาวชน และประชาชน ฝึกการอ่าน การเขียน การค้นคว้าจากหนังสือ ได้ดียิ่งขึ้น
๓. เกิดการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น
ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...................................................ผู้เสนอโครงการ
(นายเจนภพ จาเริญ) (นายณัฐพล พิทักษ์)
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ลงชื่อ.....................................................ผู้พิจารณาโครงการ
( นางสาวชลิดา ยาจันทึก )
บรรณารักษ์อัตราจ้าง
ลงชื่อ.....................................................ผู้อนุมัติโครงการ
( นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย )
บรรณารักษ์ชานาญการ
รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น

More Related Content

What's hot

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงKruPor Sirirat Namthai
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมIntrayut Konsongchang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 

What's hot (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 

Similar to รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น

07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPanuchanat
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
ห้องสมุด มมร.รอ.
ห้องสมุด มมร.รอ.ห้องสมุด มมร.รอ.
ห้องสมุด มมร.รอ.prarakchapon
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นreaweewan
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

Similar to รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น (10)

07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
ห้องสมุด มมร.รอ.
ห้องสมุด มมร.รอ.ห้องสมุด มมร.รอ.
ห้องสมุด มมร.รอ.
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 

รวมเล่มแผนพัฒนาห้องสมุด 2560 กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น

  • 2. 2 แผนพัฒนา ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ประจาปีงบประมาณ 2560 1. บทที่ 1 - ประวัติของห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น จัดตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2592 โดยอาศัยชั้นล่างของที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่น เป็นสถานที่จัดบริการของห้องสมุด ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดสรรเงินจานวน 70,000 บาท สมทบกับเงินของสภาจังหวัดขอนแก่น จานวน 50,000 บาท รวมเป็นเงิน 120,000 บาท ก่อสร้างเป็นอาคารเอกเทศในบริเวณโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2500 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น จึงได้ย้ายจากที่ว่าการอาเภอเมืองขอนแก่นไปอยู่อาคาร หลังใหม่ในบริเวณโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนในปีเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2519 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดสรรเงิน จานวน 5000,000 บาท สมทบกับเงินที่ได้จากการจัดกิจกรรมหลายอย่างอีกจานวน5000,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000,000 บาท เพื่อก่อสร้างอาคารห้องสมุดขนาดใหญ่ เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชั้น ที่ได้มาตรฐาน ตั้งอยู่ติดกับโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2520 ได้ทาการย้ายห้องสมุดจากอาคารหลังเก่าที่อยู่ในบริเวณโรงเรียนขอนแก่น วิทยายน มาอยู่ที่อาคารหลังใหม่ที่อยู่ติดกับโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย และในศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนจังหวัดขอนแก่นในปัจจุบัน และทาพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 29 มิถุนายน 2522 โดยนายบรรจง ชูสกุลชาติ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการสมัยนั้นเป็นประธานพิธีเปิดห้องสมุด ต่อมาอาคารห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น หมดสภาพการใช้งานในปีงบประมาณ 2540 กรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงได้จัดสรรเงินงบประมาณมาให้ก่อสร้างอาคารห้องสมุดประชาชนหลัง ใหม่ ขนาดใหญ่ 3 ชั้น ตามแบบที่กรมการศึกษานอกโรงเรียนกาหนด และตั้งอยู่ที่เดิมในราคา ค่าก่อสร้าง 7,300,000 บาท (เจ็ดล้านสามแสนบาทถ้วน) วันที่ 25 ธันวาคม 2540 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน วโรกาสให้นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช (ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น), นายจินดา นูเร (ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่นในขณะนั้น) และคณะเข้าเฝ้าฯ ในโอกาสเสด็จฯ ไปทรง เปิดโรงงานผลิตภัณฑ์นม ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตาบลท่าพระ จังหวัดขอนแก่น และได้ทรงพระสุหร่ายและทรงเจิม แผ่นศิลาฤกษ์อาคารห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่นหลังใหม่ เวลา 10.30 น. วันที่ 9 มกราคม 2541 เวลา 09.00 น. ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารห้องสมุดประชาชนหลัง ใหม่โดยผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช) เป็นประธานในพิธีและได้รับเมตตา จากหลวงปู่ศรี มหาวีโร มาร่วมในพิธีด้วย การก่อสร้างอาคารได้แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 ระหว่างที่มีการก่อสร้างอาคาร นั้นห้องสมุดประชาชนจังหวัดขอนแก่น ได้ย้ายไปให้บริการชั่วคราวที่ห้องประชุมใหญ่ของศูนย์ การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น
  • 3. 3 โดยหนังสือสานักราชเลขาธิการ สวนจิตรลดา ที่ รล 0008/1543 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2543 แจ้งว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพระราชทานพระราชานุญาติให้ใช้ชื่ออาคาร ห้องสมุดหลังใหม่ว่า “ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น” โดยหนังสือสานักราชเลขาธิการ สวนจิตรลดา ที่ รล 0008/6113 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2543 แจ้งว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงรับเชิญเสด็จพระราชดาเนินทรง เป็นประธานเปิดอาคาร “ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น” ในวันที่ 5 มกราคม 2544 การดาเนินงานและการจัดการบริการของห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ได้ยึดหลักการจัดบริการห้องสมุด ประชาชนแนวปฏิรูป ซึ่งท่านอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน(นายทองอยู่ แก้วไทรฮะ)ได้กล่าวไว้ว่า “การเปลี่ยนแปลงบทบาทของห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการเปลี่ยน รูปแบบและวิธีการให้บริการที่ควรจะเป็นศูนย์สื่อที่ประชาชนจะได้เรียนรู้มากที่สุด 3 ประการ คือ 1. การเป็นแหล่งการเรียนรู้ตามอัธยาศัย 2. การเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ 3. การเป็นศูนย์ข้อมูลชุมชน เพื่อให้ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น เป็นไปตามบทบาทดังกล่าว และสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดขอนแก่นที่มุ่งเน้น ให้ประชาชนได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช ผู้ว่าราชการจังหวัด ขอนแก่น นางปราณี อินทรกุลไชย ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่นและ บุคลากรสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียนที่ปฏิบัติงานในจังหวัดขอนแก่น ได้ประสานการร่วมมือจาก ผู้เทิดทูนบารมีแห่งองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งได้ร่วมกันสมทบทุน สร้างสรรค์ความพร้อม ความสวยงามอย่างสมพระเกียรติ หลังจากพิธีเปิดห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น อย่างเป็นทางการแล้วห้องสมุดฯ จะเปิดบริการทุกวัน(ยกเว้นวันหยุดสาคัญ) บริการที่จะจัด ได้แก่ 1. บริการอ่านภายในห้องสมุด 2. บริการรับสมัครสมาชิกใหม่ 3. บริการจ่าย – รับหนังสือและสื่อต่าง ๆ 4. บริการตอบคาถามและช่วยค้นคว้า 5. บริการสื่อการศึกษานอกโรงเรียน 6. บริการสื่อการเรียนการสอน มสธ. และ มร. 7. บริการสืบค้นหนังสือ/สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 8. บริการสืบค้นข้อมูลเฉลิมพระเกียรติ “ในหลวงกับจังหวัดขอนแก่น” และข้อมูลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 9. บริการสืบค้นข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น
  • 4. 4 10. บริการข้อมูลความรู้เกี่ยวกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง 11. บริการความรู้จากปฏิทิน 12. บริการมุมเด็กและครอบครัว 13. บริการความรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 14. บริการอินเทอร์เน็ต (เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเพื่อการค้นคว้า) 15. บริการการศึกษาทางไกลดาวเทียมไทยคม 16. บริการเอกสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ทั้งนี้ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น (นางปราณี อินทรกุลไชย ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น) ซึ่งดูแลงานห้องสมุดได้กาหนดจุดเน้นของห้องสมุด ประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ไว้ดังนี้ 1. เน้นความน่าสนใจ ความสะอาด สวยงามของการจัดมุมและห้องต่างๆในห้องสมุด ตลอดจนบริเวณภายนอก 2. เน้นความหลากหลายและความเป็นปัจจุบันของสื่อประเภทต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ 3. เน้นการหมุนเวียน / การเคลื่อนไหวของสื่อและข้อมูลต่าง ๆ ในห้องสมุด 4. เน้นการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและเชิญชวนมาใช้ห้องสมุด 5. เน้นการจัดทาสถิติและรายงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุง ข้อมูลห้องสมุดทั่วไป - ห้องสมุดประชาชนชื่ออะไร ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น - สถานที่ตั้ง 174 ถนนดรุณสาราญ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 043226458 โทรสาร - เว็บไซต์ห้องสมุด https://goo.gl/3da5K5 เว็บไซต์เชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ http://203.172.142.11/LRLS/frontend/theme/ - ลักษณะอาคาร เอกเทศ ลักษณะอาคารคอนกรีต จานวน 3 ชั้นจานวนพื้นที่ 2 งาน 88 ตารางวา - ระยะเวลาดาเนินการ ประกาศจัดตั้งปีพุทธศักราช 2492 รวม 68 ปี - ผู้ใช้บริการเฉลี่ยต่อวัน 80 คน - จานวนสมาชิกห้องสมุด 2,388 คน - จานวนสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ 6,283 เล่ม,หนังสือพิมพ์ 6 ชื่อเรื่อง,วารสาร/นิตยสาร 10 ชื่อเรื่อง สื่อ 212 ชื่อเรื่อง - จานวนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วีซีดี,ซีดีรอม,หนังสือเสียง,e-book 5,460 แผ่น
  • 5. 5 - จานวนผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดขอนแก่น จานวน 5 คนดังนี้ ชื่อ – สกุล นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ตาแหน่ง บรรณารักษ์ ชานาญการ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกบรรณารักษศาสตร์ วันเดือนปีเกิด วันที่ 3 มิถุนายน 2514 โทรศัพท์ 0954063445 e-mail : rmonrat556@gmail.com ชื่อ – สกุล นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์ ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป วันเดือนปีเกิด วันที่ 4 กรกฎาคม 2518 โทรศัพท์ 0804605669 e-mail : narumon885@hotmail.co.th ชื่อ – สกุล นางสาวชลิดา ยาจันทึก ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการท่องเที่ยวและการโรงแรม วันเดือนปีเกิด วันที่ 9 มิถุนายน 2529 โทรศัพท์ 0885622337 e-mail : chompoobee@hotmail.com ชื่อ – สกุล นางสาวรวีวรรณ เชิงชัยภูมิ ตาแหน่ง บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกสารสนเทศศาสตร์ วันเดือนปีเกิด 12 ธันวาคม 2536 โทรศัพท์ 0854169568 e-mail : raweewan.c@kkumail.com ชื่อ – สกุล นายวิชัย ประทุมชาติ ตาแหน่ง นักการภารโรง ระดับการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง) วันเดือนปีเกิด 26 เมษายน 2516 โทรศัพท์ 0827377218
  • 6. 6 - การได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายมีหน่วยงาน ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ห้างร้าน บริษัทส่วนบุคคล หน่วยงานเอกชน และประชาชนทั่วไป ในการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ ได้แก่ 1. โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย เทศบาลนคร ขอนแก่น/ชุมชนชาวตลาดสด เทศบาล 1 2. โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี 2560 ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย ห้างร้าน บริษัท ประชาชนทั่วไป จานวน 26 ราย 3. โครงการหนังสือแซ่บ ได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เทศบาลนครขอนแก่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น บ้านหนังสือชุมชน จานวน 82 แห่ง 4. โครงการหนังสือข้างเตียง ได้รับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 5. โครงการหนังสือติดล้อ ได้รับการสนับสนุนจาก ร้านอังกรูคอนกรีต ได้จัดทารถหนังสือติดล้อ 6. โครงการบรรณสัญจร ได้รับการสนับสนุนจาก ห้างร้าน ประชาชนทั่วไปได้นาหนังสือมาบริจาค เพื่อที่จะนาไปหมุนเวียนหนังสือตามโครงการหนังสือแซ่บ 2. บทที่ 2 การวิเคราะห์ ห้องสมุดประชาชนอาเภอเพื่อนาไปสู่การพัฒนา 2.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาอุปสรรค์ จุดอ่อนที่ต้องได้รับการแก้ไข 1) ปัญหา - สมาชิกมาใช้บริการน้อย (ในบางวัน) - บรรยากาศภายในห้องสมุดฯ ร้อนอบอ้าวทาให้สมาชิกไม่มีสมาธิในการอ่าน - ห้องสมุดเด็กไม่เป็นสัดส่วน 2.2 การวิเคราะห์ศักยภาพเด่น หรือสิ่งดีงามของ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น 1) มีข้อเด่นคือ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น พัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่องมีข้อเด่นสิ่งดีงามของห้องสมุด ประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มี หน่วยงานยกย่องมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ จากต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นๆ ดังนี้ 1. รางวัลรองชนะเลิศ โครงการอบรมและประกวดห้องสมุดมีชีวิต TK Park Living Library Award 2 (มีนาคม 2552)สานักงานอุทยานการเรียนรู้ 2. รางวัลยกย่องเป็นผู้มีผลงานด้านเครือข่ายการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ICTชุมชน จาก คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 3. รางวัลการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดีเด่น ระดับภาค ประจาปี 2553 ประเภท หน่วยงาน : ห้องสมุดประชาชนจังหวัด จาก สานักงาน กศน. 4. รางวัลห้องสมุดประชาชนจังหวัดดีเด่น ประจาปี 2554 จาก สานักงาน กศน. 5. รางวัลศูนย์เรียนรู้พระราชกรณียกิจและขยายผลพระราชดาริในสถานศึกษาดีเด่นระดับจังหวัด ประจาปี 2555 จาก สานักงาน จังหวัดขอนแก่น
  • 7. 7 6. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1สถานศึกษาส่งเสริมการอ่าน โครงการ “อ่านสร้างสุข” ในโรงเรียน และสถานศึกษา ประจาปี 2555 จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 7. รางวัลชนะเลิศยุวทูตการอ่านดีเด่น จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 8. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1สถานศึกษาส่งเสริมการอ่าน โครงการ “อ่านสร้างสุข” ในโรงเรียนและ สถานศึกษา ประจาปี 2556 จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 9. รางวัลชนะเลิศยุวทูตการอ่านดีเด่น จาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 10. รางวัลรางวัลชนะเลิศ ประเภทผลงาน แหล่งเรียนรู้เพื่อชีวิตกับความรับผิดชอบต่อสังคม “โครงการ KhonKaen Networks Show & Share 2014” จัดโดย เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง ห้องสมุด สานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11. รับโล่รางวัล บรรณารักษ์เด่น ระดับประเทศ ประจาปี 2556จาก สานักงาน กศน. 12. รับโล่ประกาศเกียติคุณ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ผู้ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงาน ศูนย์การศึกษา ค่ายศรีพัชรินทร โดย มณฑลทหารบกที่ 23 ค่ายศรีพัชรินทร 13. ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลชนะเลิศ โครงการ “สถานศึกษาต้นแบบชุมชนอ่านสร้างสุข” ปีการศึกษา 2557 ประเภท โรงเรียน – ชุมชน จัดโดย แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน 14. รางวัลห้องสมุดประชาชนยอดเยี่ยม ระดับประเทศ ประจาปี 2557 จาก สานักงาน กศน. 15. รางวัลชนะเลิศ นวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน ปี 2559 จากผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ในงาน “วันที่ระลึกสากลแห่งการเรียนรู้หนังสือ” จัดโดยสานักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น 16. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภทผลงาน แหล่งเรียนรู้เพื่อชีวิตกับความรับผิดชอบต่อสังคม “โครงการ Khon Kaen Networks Show & Share 2016” จัดโดย เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง ห้องสมุด สานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยขอนแก่น 17. รับโล่ผู้ให้การสนับสนุนข้อมูลเข้าระบบ “คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด” และคลังบทเรียน ออนไลน์แบบเปิด จากโครงการระบบสื่อสารออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 2) มีข้อเด่นคือ - การเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ - เป็นแหล่งศึกษาดูงาน - เป็นสถานศึกษาฝึกประสบการวิชาชีพ
  • 8. 8 3. บทที่ 3 แผนงาน/โครงการ พัฒนาห้องสมุดประชาชน เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2560 – 2561 (ภายใต้งบประมาณปกติ) แผนงานที่ 1 แผนงานพัฒนาการจัดกิจกรรมและสื่อ (1) ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการหนังสือแซ่บ (1). ทาอะไร หมุนเวียนหนังสือตามจุดบริการต่าง ๆ (2). ทาไมถึงทา เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสที่จะ เจริญพระชนมายุ ครบรอบ 62 พรรษา และส่งเสริมปลูกฝังให้คนขอนก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ และนิยมรัก การอ่านเพิ่มมากขึ้น เพื่อสร้างบรรยากาศ ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย สามารถเข้าถึงบริการการอ่าน ในทุก ๆ สถานที่และนาไปสู่การเป็นสังคมตื่นรู้ทางปัญญา มีความรับผิดชอบ และมีจิตสานักรักท้องถิ่น (3). ทาอย่างไร สารวจพื้นที่เพื่อจัดทามุมหนังสือและตั้งคณะกรรมการการดาเนินงานติดต่อ ประสานงานเครือข่าย/ออกแบบ/วางแผน/ดาเนินการร่วมกัน และได้คัดเลือกหนังสือจากประชาชนทั่วไปที่ นามาบริจาคออกหมุนเวียนหนังสือเป็นประจาทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ตามจุดบริการต่าง ๆ ดังนี้ - เซ็นทรัลพลาซ่า - สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น ที่ 1 - สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น ที่ 3 - สถานีขนส่งปรับอากาศจังหวัดขอนก่น - โรงพยาบาลขอนแก่น - โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - สถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น - กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน จานวน 42 แห่ง - บ้านหนังสือชุมชน 82 แห่ง (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน งานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็น นครแห่งการอ่านและเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ โครงการที่ 2 ชื่อ โครงการหนังสือข้างเตียง (1). ทาอะไร จัดมุมหนังสือในโรงพยาบาล “มุมหนังสือข้างเตียง” (2). ทาไมถึงทา เพื่อพัฒนาเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ โดยปลูกฝัง และสร้างเจตคติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมและสร้าง เครือข่ายส่งเสริมการอ่านและสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เกิดขึ้น สาหรับเด็กเจ็บป่วย เรื้อรังในโรงพยาบาล โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการอ่านให้เกิดขึ้น เพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย
  • 9. 9 (3). ทาอย่างไร เสนอโครงการเพื่อขอพิจารณาอนุมัติและประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน ดาเนินงานเพื่อเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสถานที่จัดตั้งโครงการฯและมี อาสาสมัครเข้าไปร่วมทากิจกรรมกับเด็กผู้ป่วยเรื่อรังในโรงพยาบาลเช่นการอ่านหนังสือนิทานและเล่นเกมที่ เหมาะสมกับเด็กป่วยที่เข้ามารับการบาบัดรักษาอยู่ในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาอย่าง เท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่งถึง (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้ที่สนใจ มีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น มีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แผนงานที่ 2 แผนงานการให้บริการ (1).ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการหนังสือติดล้อ (1). ทาอะไร ส่งเสริมการอ่านเชิงรุก “หนังสือติดล้อ” ห้องสมุดเคลื่อนที่ (2). ทาไมถึงทา เพื่อสร้างสังคมชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป อ่าน เขียน เรียน ค้นคว้า จากหนังสือและพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเพื่อสามารถ ช่วยเหลือตนเอง (3). ทาอย่างไร จัดบริการให้อ่านถึงที่ สาหรับบุคคลที่ไม่มีเวลาที่จะเข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุดฯก็ สามารถอ่านได้จาก ห้องสมุดเคลื่อนที่ “หนังสือติดล้อ” และได้นาหนังสือออกให้บริการ เช่น หนังสือเด็ก วารสาร นิตยสาร และหนังสือเกี่ยวกับอาชีพและหนังสือทั่วไป และได้นากิจกรรมสาหรับเด็กไปให้บริการกับ เด็กด้วย ภาพระบายสี การพับกระดาษปากขยับ เป็นต้น (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงานคืออะไร สังคมชุมชน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเด็ก เยาวชน ประชาชน ฝึกการอ่าน การเขียน การค้นคว้าจากหนังสือ ได้ดียิ่งขึ้น เกิดการ พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น โครงการที่ 2 ชื่อ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น : ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) (1). ทาอะไร พัฒนาปรับปรุงอาคาร สถานที่ (2). ทาไมถึงทา เพื่อเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์ที่เอื้อต่อสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัวและพัฒนา ตกแต่ง ภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิดความร่มรื่นสวยงาม (3). ทาอย่างไร สารวจ ตรวจสอบ ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เพื่ออานวยความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และเด็กในการเข้าถึงหนังสือ และสามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสมอันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรัก การอ่านในระยะยาวและพัฒนาตกแต่งภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิด ความร่มรื่นสวยงาม
  • 10. 10 แผนงานที่ 3 แผนงานการพัฒนาสื่อ (1). ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการมุมเรียนรู้ตามอัธยาศัยโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (1). ทาอะไร จัดมุมการเรียนรู้ในห้องสมุด (2). ทาไมถึงทา เพื่อให้สมาชิกห้องสมุดฯ ประชาชนทั่วไป เด็ก และเยาวชน ได้เรียนรู้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ทางเจ้าหน้าที่ห้องสมุดได้จัดทาไว้เพื่อให้บริการ (3). ทาอย่างไร จัดมุมหนังสือ สื่ออิเลคทรอนิกส์โดยการใช้ QR CORD (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็นนคร แห่งการอ่านและเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ แผนงานที่ 4 แผนงานเพิ่มจานวนผู้รับบริการ (1). ทาอะไร (2) ทาไมถึงทา (3) ทาอย่างไร (4) ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร โครงการที่ 1 ชื่อ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริ ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (1). ทาอะไร จัดบริการมุมหนังสือในตลาด (2). ทาไมถึงทา เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตาม พระราชดาริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้กับแม่ค้าและประชาชนทั่วไปที่มา จับจ่ายภายในตลาดสดแห่งนี้ (3). ทาอย่างไร จัดมุมเรียนรู้ตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการอ่านการเรียนรู้ ภายนอกห้องสมุดฯ เพื่อ ส่งเสริมการใช้สื่อดิจิทัล เช่น มุมการอ่าน E – Book มุมเรียนรู้จาก QR CORD เป็นต้น โดยจัดบริการ หมุนเวียนเป็นประจาทุกเดือน (4). ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงาน คืออะไร ประชาชนชาวตลาด ในเขตเทศบาลนคร ขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น ได้รับความรู้ ความบันเทิง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อคุณภาพชีวิต ของตนเอง ครอบครัว และผู้ใกล้ชิด ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและสร้างจิตสานึกในการอ่านที่ดีและเพิ่มบรรยากาศ ส่งเสริมการอ่าน ความสาคัญของการศึกษาเรียนรู้ให้กับประชาชนชาวตลาดและประชาชนทั่วไปในพื้นที่
  • 12. 12 โครงการมุมหนังสือแซ่บ ๑. หลักการและเหตุผล รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็น วันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และกาหนดให้ ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพของคนในจังหวัดขอนแก่น การจัดมุมหนังสือในบ้าน ในสถานประกอบการ และในสถานที่ราชการ ให้ครอบคลุมทั่วนครขอนแก่น เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษา ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้โดยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม และเป็นภาคีเครือข่าย แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน ภายใต้การสนับสุนของสานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ปักธง 6 จังหวัดในประเทศไทย ที่พร้อมขับเคลื่อนเป็นนครแห่งการอ่านนา ร่อง ได้แก่ จังหวัด กรุงเทพมหานคร จังหวัดเชียงราย จังหวัดลาปาง จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดกระบี่ ในเดือนเมษายน 2558 ที่ผ่านมา และพร้อมผลักดันการอ่านเป็นวาระของจังหวัด นา ยุทธศาสตร์ 3 ดี มาใช้ในการสร้างเมืองสื่อสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย สื่อดี พื้นที่ดี และภูมิดี ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น จึงเล็งเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น โดยใช้มุมหนังสือเป็นกลไกสาคัญในการ ส่งเสริมให้มี “นครขอนแก่น นครแห่งการอ่าน”และเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ๒. เพื่อส่งเสริม ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านเพิ่มมากขึ้น ๓. เพื่อสร้างบรรยากาศ ให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย สามารถเข้าถึงบริการการอ่าน ได้ในทุกๆ สถานที่ ๔. เพื่อนาไปสู่การเป็นสังคมตื่นรู้ทางปัญญา มีความรับผิดชอบ และมีจิตสานึกรักท้องถิ่น ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ พื้นที่ดาเนินงานห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประกอบด้วย - สถานที่สาธารณะจานวน ๙ แห่งและป้ายประชาสัมพันธ์ในสถานที่สาธารณะอื่น ๆ ๑. เซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่น ๒. สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น ๓. สถานีขนส่งปรับอากาศจังหวัดขอนแก่น ๔. สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดขอนแก่น แห่งที่ ๓ ๕. โรงพยาบาลขอนแก่น /๖.โรงพยาบาล
  • 13. 13 ๖. โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ๗. สถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น ๘. กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียนชุมชน จานวน ๔๒ แห่ง ๙. บ้านหนังสือชุมชน ๘๒ แห่ง เชิงคุณภาพ ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรันราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจังหวัดขอนแก่น กศน.อาเภอเมืองขอนแก่นและนครขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ที่ครอบคลุมนครขอนแก่น สร้างเสริมและปลูกฝังให้ คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เกิดสังคม แห่งการเรียนรู้โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและเป็นภาคีเครือข่าย ๔. ขั้นตอนดาเนินการ ๔.๑ สารวจพื้นที่เพื่อจัดทามุมหนังสือ ๔.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ๔.๓ ติดต่อประสานงานเครือข่าย/ออกแบบ/วางแผน/ดาเนินการร่วมกัน ๔.๔ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศติดตาม/ประเมินผล ๕. ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐ ๖. สถานที่ดาเนินการ ๖.๑ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าขอนแก่น และ สถานที่สาธารณะ ในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น ๗. งบประมาณ งบดาเนินการ งบประมาณ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ๘. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๘.๑ ข้าราชการ และบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ๘.๒ งานการศึกษาตามอัธยาศัยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น ๙. การประเมินผล ๙.๑ การแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ให้บริการมุมหนังสือ ๙.๒ สถิติผู้มาใช้บริการมุมหนังสือทั้ง ๓ ประเภท ๙.๓ แบบแสดงความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ๙.๔ สรุป/รายงานผลการดาเนินงาน /๑๐.ผลที่คาดว่า
  • 14. 14 ๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ งานการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส่งเสริมและ ปลูกฝังให้คนขอนแก่นมีนิสัยรักการอ่านใฝ่รู้ใฝ่เรียน และนิยมการอ่านมีสภาวะแวดล้อมในเรื่องของการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ มีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน ทาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนตลอดชีวิต ทาให้ขอนแก่นเป็นนคร แห่งการอ่าน และเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ลงชื่อ..............................................ผู้เสนอโครงการ (นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์) บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ ลงชื่อ..........................................ผู้พิจารณา/เห็นชอบ โครงการ (นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย) บรรณารักษ์ชานาญการ หัวหน้างานการศึกษาตามอัธยาศัย ลงชื่อ.....................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
  • 15. 15 โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล ระหว่างโครงการสอนเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ชื่อโครงการ โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล แนวคิดและหลักการ รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านหนังสือเป็นวาระแห่งชาติ โดยกาหนดให้วันที่ 2 เมษายนของทุก ปีซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” และ กาหนดให้ ปี 2552-2556 เป็นทศวรรษแห่งการอ่านของประเทศ การอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา ศักยภาพและคุณภาพของคนในชาติ ทางโครงการสอนเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ภาควิชากุมารเวช ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมมือกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น ได้เห็นความสาคัญของการศึกษา จึงได้จัดตั้งโครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังใน โรงพยาบาล เพื่อเป็นการสร้างเสริมและปลูกฝังให้เด็กป่วยในวัยศึกษาเล่าเรียน ที่เข้ามารับการบาบัดรักษาอยู่ ในโรงพยาบาลมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง นโยบายการส่งเสริมการอ่าน 1. พัฒนาเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลให้มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ โดยปลูกฝังและสร้างเจต คติให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่าน ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมและสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน 2. สร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้เกิดขึ้น สาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังใน โรงพยาบาล โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการอ่านให้เกิดขึ้น เพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย รวมทั้งความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ที่สนับสนุนการอ่าน และการจัดการกิจกรรมอื่น ๆ ที่ส่งเสริมการอ่านอันหลากหลาย นิยามของโครงการหนังสือข้างเตียง คือ “แหล่งหรือสถานที่มุมใดมุมหนึ่ง ที่มีบรรยากาศที เหมาะสมกับการอ่าน การเข้าถึงง่าย มีสื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ มีผู้รับผิดชอบดูแลให้บริการด้านการ อ่าน ซึ่งก่อให้เกิดกิจกรรมการอ่าน การกระตุ้นให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล หรือผู้ที่สนใจ ให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ ก่อให้เกิดความสานักถึงความจาเป็นที่จะต้องอ่าน และนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง”
  • 16. 16
  • 17. 17 หนังสือข้างเตียงมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้ 1. จัดสถานที่มุมใดมุมหนึ่งเป็นมุมหนังสือในรูปแบบที่หลายหลายและสอดคล้องเหมาะสมกับ พื้นที่และความต้องการของผู้ใช้บริการสาหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลและผู้สนใจ 2. สามารถเสริมสร้างบรรยากาศการอ่านที่เกี่ยวเนื่องกับสภาพแวดล้อมและสังคม วิถีชีวิตของ เด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล 3. จัดหาความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวข้องรวมถึงผู้รับบริจาค เพื่อ จัดหาสื่ออุปกรณ์ที่สนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันในโครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็ก เจ็บป่วยในโรงพยาบาล 4. จัดสถานที่สาหรับโครงการหนังสือข้างเตียงเพื่อเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้สนใจ สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก 5. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการหนังสือข้างเตียงสาหรับเด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาล ให้ได้รับ ข้อมูลข่าวสารและการเข้าถึงบริการหนังสือได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น 2. เพื่อช่วยให้เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3. เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เป้าหมาย 1. เด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลและผู้ปกครอง ที่มารับบริการ 2. บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สนใจทั่วไป ระยะเวลาการดาเนินการ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ 2553 - 30 มิถุนายน พ.ศ 2554 สถานที่ ห้องกิจกรรม บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง ชั้น 8 ตึก สว. โรงพยาบาลศรีนครินทร์
  • 18. 18 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. เสนอโครงการเพื่อขอพิจารณาอนุมัติ 2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนดาเนินงาน 3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ และสถานที่จัดตั้งโครงการฯ 4. ดาเนินงานตามวัน เวลาที่กาหนด 5. ประเมิน สรุปและรายงานผลโครงการฯ แผนการดาเนินงาน ระยะเวลา รายการ ประจาปีงบประมาณ 2554 ผู้รับผิดชอบธ.ค. 53 ม.ค. 54 ก.พ. 54 มี.ค. 54 เม.ย. 54 พ.ค. 54 มิ.ย. 54 1. เสนอโครงการเพื่อขอ พิจารณาอนุมัติ 2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อ วางแผนการดาเนินงาน 3. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ หนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ และสถานที่จัดตั้งดครงการฯ 4. ดาเนินงานตามวัน เวลาที่ กาหนด 5. ประเมิน สรุปและรายงาน ผลโครงการฯ
  • 19. 19 งบประมาณ งบการดาเนินงานได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ในรายละเอียดดังนี้ 1. ตู้หนังสือ 3 ชั้น จานวน 11 ตู้ xตู้ละ 400 บาท = 4,400 บาท 2. สื่อหนังสือและสื่ออิเลกทรอนิกส์ จานวน 100 เล่ม = 5,000 บาท 3. เครื่องเล่น VCD จานวน 1 เครื่อง = 1,400 บาท 4. วัสดุ อุปกรณ์ การดาเนินงาน จานวน = 2,000 บาท 5. ค่ารูปเล่มสรุปผลโครงการ จานวน 4 เล่ม = 400 บาท รวมทั้งสิ้น 13,200 บาท (หนึ่งหมื่นสามพันสองร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ : รายการข้างต้นตั้งแต่ข้อ 1-4 ได้รับความอนุเคราะห์ ดาเนินการจัดซื้อและจัดหาโดยศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น ซึ่งรายการดังกล่าว จะเป็นการ ประมาณค่าใช้จ่ายอาจจะเกิดการคาดเคลื่อนการประมาณการได้ และได้รับความอนุเคราะห์จากหัวหน้า พยาบาลและผู้ที่เกี่ยวข้อง บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง สว. ชั้น 8 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ในการจัดหา สถานที่เพื่อจัดตั้งโครงการหนังสือข้างเตียงฯ ขึ้น ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลและผู้ที่สนใจ มีนิสัยรักการอ่านมากขึ้น 2. เด็กเจ็บป่วยในโรงพยาบาลมีสุขภาพจิตดีขึ้น และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3. ห้องกิจกรรม บนหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง สว.ชั้น 8 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เกิดเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง การวัดและประเมินผล 1. แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยมีความพึงพอใจในระบบดี ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 80 % ของผู้ใช้บริการทั้งหมด 2. สังเกตการณ์จากการเข้าใช้บริการโครงการฯ ทั้งหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 % ของจานวน เด็กเจ็บป่วยทั้งหมดที่มารับการบาบัดรักษา บนหอหอผู้ป่วยเด็ก แผนก 3ง ตึก สว. ชั้น 8 ในโรงพยาบาลศรี นครินทร์
  • 20. 20 ลงชื่อ...........................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาลิดา ยาจันทึก) บรรณารักษอัตราจ้าง ลงชื่อ.....................................ผู้เห็นชอบโครงการ (นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย) บรรณารักษ์ชานาญการ ลงชื่อ........................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
  • 21. 21 1. ชื่อโครงการ โครงการ การพัฒนาห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น : ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดสาหรับเด็กและ ครอบครัว(ไทยคิด) 2. หลักการและเหตุผล สานักงานอุทยานการเรียนรู้ (ทีเคพาร์ค) สังกัดสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน) สานักนายกรัฐมนตรี ได้จัดทาโครงการ “ห้องสมุดไทยคิด” เพื่อขยายและกระจายโอกาสแก่เด็กและ เยาวชน ในระดับท้องถิ่นหรือชุมชนให้สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และเป็นศูนย์การเรียนรู้สาหรับเด็กอายุต่า กว่า 12 ปี เป็นสถานที่ปลูกฝังให้เด็กรักการอ่านเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ สาหรับเด็กนอกเหนือจากห้องเรียน เพื่อ จะได้แสวงหาความรู้สาหรับเด็กและผู้ปกครองแล้วยังเป็นศูนย์รวมเชื่อมโยงความสัมพันธ์และให้บริการชุมชน ในการนี้ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด ขอนแก่น ได้เข้าร่วมโครงการและได้เปิดบริการตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม 2552 จนถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2556 โดยได้จัดมุมเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) บริเวณชั้น 1 อาคารห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น เป็นการชั่วคราว ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัด ขอนแก่นพัฒนาห้องสมุดเด็กไทยคิด เพื่อขยายแนวคิด “ห้องสมุดมีชีวิต” สาหรับเด็กอายุ 3 – 12 ปี ภายให้อง สมุดเด็กไทยคิด ตกแต่งด้วยบรรยากาศที่กระตุ้นและส่งเสริมการอ่านมีการคิดเลือกหนังสือและสื่อที่เหมาะสม แก่พัฒนาของเด็กและช่วงวัย มุ่งอานายความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็กในการเข้าถึงหนังสือและ สามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสม อันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรักการอ่านในระยะยาว 3. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์ที่เอื้อต่อสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว 1.2 เพื่อพัฒนาตกแต่ง ภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิด ความร่มรื่นสวยงาม 4. เป้าหมาย ด้านปริมาณ พัฒนาภูมิทัศน์ภายนอกและภายในห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้านคุณภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น มีแหล่ง เรียนรู้ที่มีชีวิตเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต /5. ขั้นตอนการดาเนินการ
  • 22. 22 5. ขั้นตอนการดาเนินการ สารวจ ตรวจสอบ ปรับปรุง ขยาย ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) 6. ระยะเวลาดาเนินการ มกราคม 2560 – กันยายน 2560 7. สถานที่ดาเนินการ - ด้านหน้าอาคารห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี จังหวัดขอนแก่น ห้องสมุดสาหรับเด็กและครอบครัว (ไทยคิด) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 8. งบประมาณ - งบดาเนินงาน กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประจาปี 2560 จานวน 200,000 บาท (สองแสนบาท ถ้วน) 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ - งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเมือง ขอนแก่น 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับเพื่ออานวยความสะดวกแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองและเด็กในการเข้าถึงหนังสือ และ สามารถเลือกหนังสืออ่านที่เหมาะสมอันจะนาไปสู่การปลูกฝังสร้างนิสัยรักการอ่านในระยะยาว และพัฒนา ตกแต่งภูมิทัศน์ภายนอกและภายในให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเกิดความร่มรื่นสวยงาม ลงชื่อ..........................................................ผู้เสนอโครงการ (นางนฤมนต์ ต้นสีนนท์) บรรณารักษ์อัตราจ้างฯ ลงชื่อ.........................................................ผู้พิจารณาโครงการ (นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย) บรรณารักษ์ชานาญการ ลงชื่อ........................................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายบุญส่ง ทองเชื่อม) ผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น
  • 23. 23 โครงการหนังสือติดล้อ ๑. หลักการและเหตุผล รัฐบาลได้กาหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ กาหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันพระราช สมภพของสาเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “วันรักการอ่าน” การอ่านเป็นเครื่องมือ สาคัญในการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังให้ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน ได้รับ การศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้โดยให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมและเป็นภาคีเครือข่าย การสร้างความสัมพันธ์อันดี และช่วยเหลือสังคมนั้นทาได้หลายลักษณะ การ ให้ความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนสังคม อาจใช้ความสามารถ ความพร้อมและสิ่งที่ตนมีอยู่เป็นการบริการแก่ สังคม การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดี และสามารถทาให้เกิด ความรู้สึกต้องการค้นคว้า เรียนรู้ จากสื่อหนังสือ พัฒนาสังคมได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันห้องสมุดเป็นสถานที่มีความสาคัญเกี่ยวกับการศึกษา ซึ่งไม่ใช่เฉพาะภายในห้องสมุดเท่านั้น การให้การศึกษาหาความรู้ภายนอก ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทาให้คนที่ไม่ชอบเข้าห้องสมุดหันมาสนใจการอ่าน มากขึ้น เช่น การจัดบริการการให้อ่านถึงที่ สาหรับบุคคลที่นั่งพักผ่อนในที่ต่าง ๆ หรือไม่มีเวลาที่จะเข้า ห้องสมุดก็สามารถอ่านหนังสือจากโครงการหนังสือติดล้อได้ทันที นั่นคือ การนาสื่อหนังสือประเภทต่าง ๆ มา ไว้ที่รถเคลื่อนที่เพื่อออกบริการให้สามารถได้อ่านหนังสืออย่างทั่วถึง เช่น หนังสือเด็ก วารสาร ฯลฯ เพื่อ ให้บริการแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างสังคมชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป อ่าน เขียน เรียน ค้นคว้า จากหนังสือ ๓. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเพื่อสามารถช่วยเหลือตนเอง ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - ชุมชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ๑๐ ตาบล จานวน ๑๐๐ คน ได้รับความรู้และเรียนรู้ เชิงคุณภาพ - เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป มีทัศนคติด้านรักการอ่านเพิ่มมากยิ่งขึ้น ๔. วิธีดาเนินการ ๔.๑ ขั้นตอนดาเนินการ ๑. เสนอโครงการ / ประชุมวางแผน ๒. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สื่อหนังสือ และสถานที่จัดตั้งโครงการฯ ๓. ดาเนินงานตามโครงการ ๔. ประเมินผล
  • 24. 24 ๔.๒ รายละเอียด ระยะเวลา กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ วันที่ ๑ - ๑๑ ธ.ค. ๕๖ เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ นายเจนภพ จาเริญ นายณัฐพล พิทักษ์ วันที่ ๑๒ – ๑๔ ธ.ค.๕๖ วางแผนการดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และสื่อหนังสือ ประชาสัมพันธ์และประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ติดต่อประสานงานกับชุมชน วันที่ ๑๕ ธ.ค. ๕๖ – ๓๑ ม.ค. ๕๗ จัดทากิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน วันที่ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๗ รายงานและสรุปผลการดาเนินโครงการ ๕.ระยะเวลาดาเนินการ - วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗ ๖.สถานที่ดาเนินการ - ชุมชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ๗. งบประมาณ - กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น ประจาปี ๒๕๕๖ รหัส ๔๐๐๕ - หน่วยงาน องค์กร ชุมชน ในเครือข่าย จานวน ๔๐,๐๐๐ บาท ๘.ผู้รับผิดชอบโครงการ - นายเจนภพ จาเริญ และ นายณัฐพล พิทักษ์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ๙. การประเมินผล ๑. สังเกต ๒. สัมภาษณ์ ๓. แบบประเมิน
  • 25. 25 ๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. สังคมชุมชน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เด็ก เยาวชน และประชาชน ฝึกการอ่าน การเขียน การค้นคว้าจากหนังสือ ได้ดียิ่งขึ้น ๓. เกิดการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น ลงชื่อ................................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...................................................ผู้เสนอโครงการ (นายเจนภพ จาเริญ) (นายณัฐพล พิทักษ์) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ลงชื่อ.....................................................ผู้พิจารณาโครงการ ( นางสาวชลิดา ยาจันทึก ) บรรณารักษ์อัตราจ้าง ลงชื่อ.....................................................ผู้อนุมัติโครงการ ( นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย ) บรรณารักษ์ชานาญการ