SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แผ่นซับเสียง (sound absorption) และ แผ่นเก็บเสียง (acoustic board) จะใช้สำหรับ
แก้ปัญหำเสียงก้อง และ เสียงสะท้อน ในห้องหรือในอำคำร มีหลักกำรทำงำนคือยอมให้เสียงผ่ำนเข้ำมำใน
ฉนวนและดูดซับพลังงำนเสียง นั้นเอำไว้ส่วนหนึ่ง เปรียบเสมือนกับเรำเอำฟองน้ำซับน้ำที่หกลงบนโต๊ะ
แต่สำหรับ แผ่นกันเสียง (soundproof) จะมีควำมแตกต่ำงตรงที่จะไม่ยอมให้เสียงผ่ำนไปได้
คล้ำยกับกำรสำดน้ำใส่แผ่นพลำสติกที่น้ำจะกระเด็นกลับมำ เป็นต้น
วัสดุซับเสียง และ วัสดุกันเสียงที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
ประเภทที่เป็นไฟเบอร์ หรือเส้นใย อย่ำงเช่น ใยแก้ว และใยหิน ซึ่งจะมีควำมอ่อนนุ่มให้ตัวได้
และส่วนใหญ่จะไม่กันน้ำ กับอีกประเภทคือ วัสดุที่เป็นยำง หรือไวนิล ที่มีผิวเรียบ ส่วนใหญ่จะไม่มีปัญหำ
หำกสัมผัสกับน้ำหรือของเหลว
ผนังกันเสียง และ ผนังกั้นเสียง เป็นผนังเดียวกัน ทำหน้ำที่มิให้
คลื่นเสียงเดินทำงผ่ำนไปยังอีกด้ำนหนึ่งได้ เช่นเครื่องสับไม้ที่มีเสียงดัง 100 dBA เมื่อเครื่องทำงำน
และชุมชนนอกโรงงำนได้ยินเสียงดังนี้ที่ระดับ 90 dBA เมื่อมีกำรทำ ผนังกันเสียง ระหว่ำงโรงงำนกับชุมชน
จะทำให้ระดับเสียงที่ชุมชนนอกโรงงำนได้ยินลดลงจำก 90 dBA เหลือเพียง 75-80dBA เป็นต้น ส่วน
ผนังเก็บเสียง นั้นจะหมำยถึง ผนังที่ลดเสียงสะท้อน ในห้องประชุม หรือ convention hall มำกกว่ำ
เสียง เป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจำกกำรสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน
ก็จะทำให้เกิดกำรอัดตัวและขยำยตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่ำนตัวกลำง เช่น อำกำศ ไปยังหู
แต่เสียงสำมำรถเดินทำงผ่ำนสสำรในสถำนะก๊ำซ ของเหลว และของแข็งก็ได้
แต่ไม่สำมำรถเดินทำงผ่ำนสุญญำกำศได้
การเกิดเสียง เสียง
เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีกำรสั่นสะเทือนส่งผลต่อกำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอำกำศที่อยู่
โดยรอบ กล่ำวคือโมเลกกุลของอำกำศเหล่ำนี้จะเคลื่อนที่จำกตำแหน่งเดิมไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป
ก่อให้เกิดกำรถ่ำยโอนโมเมนตัมจำกโมเลกุลที่มีกำรเคลื่อนที่ให้กับโมเลกุลที่อยู่ในสภำวะปกติ
จำกนั้นโมเลกุลที่ชนกันนี้จะแยกออกจำกกันโดยโมเลกุลที่เคลื่อนที่มำจะถูกดึงกลับไปยังตำแหน่งเดิมด้วยแ
รงปฏิกิริยำและโมเลกุลที่ได้รับกำรถ่ำยโอนพลังงำนจะเคลื่อนที่ไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป
ปรำกฏกำรณ์นี้จะเกิดขึ้นสลับกันไปมำได้เมื่อสื่อกลำง (ในที่นี้คืออำกำศ) มีคุณสมบัติของควำมยืดหยุ่น
กำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลอำกำศนี้จึงเกิดเป็นคลื่นเสียง
ประเภทของเสียงแบ่งตามลักษณะการเกิดเสียงได้ 3ลักษณะ
1. เสียงดังแบบต่อเนื่อง (continuous Noise) เป็นเสียงดังที่เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง จำแนกออกเป็น 2
ลักษณะ คือ เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (steady-state Noise) และเสียงดีงต่อเนื่องที่ไม่คงที่ (Non steady state
Noise)
1.1 เลียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (Steady-state Noise) เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มีระดับเสียง เปลี่ยนแปลง
ไม่เกิน 3เดซิเบล เช่นเสียงจำกเครื่องทอผ้ำ เครื่องปั่นด้ำย เสียงพัดลม เป็นต้u
1.2 เสียงดังต่อเนื่องที่ไม่คงที่ (Non-steady state Noise) เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มี
ระดับเลียงเปลี่ยนแปลงเกินก่ำ 10 เดชิเบล เช่น เสียงจำกเลื่อยวงเดือน เครื่องเจียร เป็นต้น
2. เสียงดังเป็นช่วงๆ (lntermittent Noise) เป็นเสียงที่ดังไม่ต่อเนีอง
มีควำมเงียบหรีอเบำกว่ำเป็นระยะๆลลับไปมำ เช่น เสียงเครื่องปั๊ม/อัดลม เสียงจรำจร
เสียงเครื่องบินที่บินผ่ำนไปมำ เป็นต้น
3. เสียงดังกระทบ หรือ กระแทก (lmpact or lmpulse Noise)
เป็นเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่ำงรวดเร็ว ในเวลำน้อยกว่ำ 1วินำที มีกำรเปลี่ยนแปลงของเสียงมำกกว่ำ 40
เดชิเบล เช่นเสียงกำรตอกเสำเข็ ม กำรปั๊มชิ้นงำน กำรทุบเคำะอย่ำงแรง เป็นต้น

More Related Content

More from Nontagan Lertkachensri (20)

บทที่ 5 (1)
บทที่ 5 (1)บทที่ 5 (1)
บทที่ 5 (1)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 3-1
บทที่ 3-1บทที่ 3-1
บทที่ 3-1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ไอซ์5
ไอซ์5ไอซ์5
ไอซ์5
 
ไอซ์4
ไอซ์4ไอซ์4
ไอซ์4
 
ไอซ์3
ไอซ์3ไอซ์3
ไอซ์3
 
ไอซ์1
ไอซ์1ไอซ์1
ไอซ์1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
จูน5
จูน5จูน5
จูน5
 
จูน4
จูน4จูน4
จูน4
 
จูน3
จูน3จูน3
จูน3
 
จูน1
จูน1จูน1
จูน1
 

ไอซ์2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แผ่นซับเสียง (sound absorption) และ แผ่นเก็บเสียง (acoustic board) จะใช้สำหรับ แก้ปัญหำเสียงก้อง และ เสียงสะท้อน ในห้องหรือในอำคำร มีหลักกำรทำงำนคือยอมให้เสียงผ่ำนเข้ำมำใน ฉนวนและดูดซับพลังงำนเสียง นั้นเอำไว้ส่วนหนึ่ง เปรียบเสมือนกับเรำเอำฟองน้ำซับน้ำที่หกลงบนโต๊ะ แต่สำหรับ แผ่นกันเสียง (soundproof) จะมีควำมแตกต่ำงตรงที่จะไม่ยอมให้เสียงผ่ำนไปได้ คล้ำยกับกำรสำดน้ำใส่แผ่นพลำสติกที่น้ำจะกระเด็นกลับมำ เป็นต้น วัสดุซับเสียง และ วัสดุกันเสียงที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ประเภทที่เป็นไฟเบอร์ หรือเส้นใย อย่ำงเช่น ใยแก้ว และใยหิน ซึ่งจะมีควำมอ่อนนุ่มให้ตัวได้ และส่วนใหญ่จะไม่กันน้ำ กับอีกประเภทคือ วัสดุที่เป็นยำง หรือไวนิล ที่มีผิวเรียบ ส่วนใหญ่จะไม่มีปัญหำ หำกสัมผัสกับน้ำหรือของเหลว ผนังกันเสียง และ ผนังกั้นเสียง เป็นผนังเดียวกัน ทำหน้ำที่มิให้ คลื่นเสียงเดินทำงผ่ำนไปยังอีกด้ำนหนึ่งได้ เช่นเครื่องสับไม้ที่มีเสียงดัง 100 dBA เมื่อเครื่องทำงำน และชุมชนนอกโรงงำนได้ยินเสียงดังนี้ที่ระดับ 90 dBA เมื่อมีกำรทำ ผนังกันเสียง ระหว่ำงโรงงำนกับชุมชน จะทำให้ระดับเสียงที่ชุมชนนอกโรงงำนได้ยินลดลงจำก 90 dBA เหลือเพียง 75-80dBA เป็นต้น ส่วน ผนังเก็บเสียง นั้นจะหมำยถึง ผนังที่ลดเสียงสะท้อน ในห้องประชุม หรือ convention hall มำกกว่ำ เสียง เป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจำกกำรสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดกำรอัดตัวและขยำยตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่ำนตัวกลำง เช่น อำกำศ ไปยังหู แต่เสียงสำมำรถเดินทำงผ่ำนสสำรในสถำนะก๊ำซ ของเหลว และของแข็งก็ได้ แต่ไม่สำมำรถเดินทำงผ่ำนสุญญำกำศได้ การเกิดเสียง เสียง เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีกำรสั่นสะเทือนส่งผลต่อกำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอำกำศที่อยู่ โดยรอบ กล่ำวคือโมเลกกุลของอำกำศเหล่ำนี้จะเคลื่อนที่จำกตำแหน่งเดิมไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ก่อให้เกิดกำรถ่ำยโอนโมเมนตัมจำกโมเลกุลที่มีกำรเคลื่อนที่ให้กับโมเลกุลที่อยู่ในสภำวะปกติ จำกนั้นโมเลกุลที่ชนกันนี้จะแยกออกจำกกันโดยโมเลกุลที่เคลื่อนที่มำจะถูกดึงกลับไปยังตำแหน่งเดิมด้วยแ รงปฏิกิริยำและโมเลกุลที่ได้รับกำรถ่ำยโอนพลังงำนจะเคลื่อนที่ไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ปรำกฏกำรณ์นี้จะเกิดขึ้นสลับกันไปมำได้เมื่อสื่อกลำง (ในที่นี้คืออำกำศ) มีคุณสมบัติของควำมยืดหยุ่น กำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลอำกำศนี้จึงเกิดเป็นคลื่นเสียง
  • 2. ประเภทของเสียงแบ่งตามลักษณะการเกิดเสียงได้ 3ลักษณะ 1. เสียงดังแบบต่อเนื่อง (continuous Noise) เป็นเสียงดังที่เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (steady-state Noise) และเสียงดีงต่อเนื่องที่ไม่คงที่ (Non steady state Noise) 1.1 เลียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (Steady-state Noise) เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มีระดับเสียง เปลี่ยนแปลง ไม่เกิน 3เดซิเบล เช่นเสียงจำกเครื่องทอผ้ำ เครื่องปั่นด้ำย เสียงพัดลม เป็นต้u 1.2 เสียงดังต่อเนื่องที่ไม่คงที่ (Non-steady state Noise) เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มี ระดับเลียงเปลี่ยนแปลงเกินก่ำ 10 เดชิเบล เช่น เสียงจำกเลื่อยวงเดือน เครื่องเจียร เป็นต้น 2. เสียงดังเป็นช่วงๆ (lntermittent Noise) เป็นเสียงที่ดังไม่ต่อเนีอง มีควำมเงียบหรีอเบำกว่ำเป็นระยะๆลลับไปมำ เช่น เสียงเครื่องปั๊ม/อัดลม เสียงจรำจร เสียงเครื่องบินที่บินผ่ำนไปมำ เป็นต้น 3. เสียงดังกระทบ หรือ กระแทก (lmpact or lmpulse Noise) เป็นเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่ำงรวดเร็ว ในเวลำน้อยกว่ำ 1วินำที มีกำรเปลี่ยนแปลงของเสียงมำกกว่ำ 40 เดชิเบล เช่นเสียงกำรตอกเสำเข็ ม กำรปั๊มชิ้นงำน กำรทุบเคำะอย่ำงแรง เป็นต้น