SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
บทที่2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แผ่นดูดซับเสียง จะใช้สำหรับกำรเก็บเสียงไม่ให้เสียงนั้นดังออกมำและแก้ปัญหำเสียงก้อง
สะท้อนในห้องหรือในตึกอำคำร มีหลักกำรในหน้ำที่คือ
จะดูดซับสียงจะไม่ยอดปล่อยให้เสียงนั้นสะท้อนออกไปนอกอำคำร
เปรียบเสมือนแผ่นฟองน้ำที่คอยซับเสียงไว้
วัสดุดูดซับเสียงและผนังกั้นเสียง ที่นิยมใช้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น2ประเภท
เป็นเส้นใยหรือไฟเบอร์ อย่ำงเช่นเส้นใยแก้วและเส้นใยหิน จะมีควำมอ่อนนุ่ม
ส่วนใหญ่จะไม่กันน้ำ อีกประเภทเป็นวัสดุ ที่เป็นยำง หรือไวนิล ที่มีผิวเรียบ
ส่วนใหญ่จะไม่มีปัญหำ หำกสัมผัสกับน้ำหรือของเหลว
ผนังกันเสียงเป็นผนังเดียวกัน ทำหน้ำที่ไม่ให้คลื่นคลื่นเสียงเดินทำงไปอีกด้ำนหนึ่งได้
เช่นเครื่องกรอแก้วที่มีเสียงดัง 120 dBA เมื่อเครื่องจักรเริ่มทำงำน
ชุมชนภำยนอกที่อยู่รอบๆโรงงำนได้ยินเสียงดังนี้ระดับ 100 dBA เมื่อมีกำรทำผนังกันเสียง
ระหว่ำงโรงงำนกับชุมชนภำยนอก จะทำให้ระดับเสียงที่ชุมชนภำยนอกได้ยินลดลงจำก 100
dBAเหลือเพียง 80-90 dBAเป็นต้น ส่วนผนังเก็บเสียง นั้นจะหมำยถึง ผนังที่สดเสียงสะท้อนได้
เสียงเป็นคลื่นกลที่เกิดกำรสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะท้อน
ก็จะเกิดกำรอัดตัวและขยำยตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่ำนตัวกลำง เช่น อำกำศไปยังหู
แต่เสียงสำมำรถ เดินทำงผ่ำนสสำรในสถำนะก๊ำซของเหลว และของแข็งก็ได้
แต่ไม่สำมำรถเดินผ่ำนสุญญำกำศได้
กำรเกิดเสียง เสียง
เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดมีกำรสั่นสะเทือนส่งผลต่อกำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอำก
ำศที่อยู่โดยรอบ คือ
โมเลกุลของอำกำศเหล่ำนี้จะเคลื่อนที่จำกแหล่งเดิมไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป
ก่อให้เกิดกำรถ่ำยโอนโมเมนตัมจำกโมเลกุลที่มีกำรเคลื่อนที่ให้กับโมเลกุลที่อยู่ในสภำวะปกติ
จำกนั้นโมเลกุลที่ชนกันนี้จะแยกออกจำกกันโดยโมเลกุลที่เคลื่อนที่มำจะถูกดึงกลับไปยังตำแห
น่งเดิมด้วยแรงปฏิกิริยำและโมเลกุลที่ได้รับกำรถ่ำยโอนพลังงำนจะเคลื่อนที่ไปชนกับโมเลกุลถั
ดไป จะเกิดขึ้นสลับกันไปมำได้เมื่อสื่อกลำง มีคุณสมบัติของควำมยืดหยุ่น
กำรเคลื่อนที่ของโมเลกุลอำกำศนี้จึงเกิดเป็นคลื่นเสียง
ประเภทของเสียงแบ่งตำมลักษณะกำรเกิดได้ 3ลักษณะ
1.เสียงดังแบบต่อเนื่อง เป็นเสียงที่เกิดอย่ำงต่อเนื่อง จำแนกได้2ลักษณะ
- เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ เสียงดังต่อเนื่องเปลี่ยนแปลงได้ไม่เกิน 3 เดซิเบล เช่น เสียง
เครื่องทอผ้ำ
- เสียงดังต่อเนื่องที่ไม่คงที่ เสียงดังต่อเนื่องที่มีกำรเปลี่ยนแปลงเกินกว่ำ 10 เดซิเบล เช่น
เสียงจำกเลื่อยวงเดือน
2.เสียงดังเป็นช่วงๆ เสียงดังที่ไม่ต่อเนื่อง มีควำมเงียบหรือเบำเป็นระ ยะๆ เช่นเครื่องปั้ม
3. เสียงดังกระทบหรือเสียงกระแทก เป็ฯเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่ำงรวดเร็ว ในเวลำน้อยกว่ำ
1วินำที

More Related Content

More from Nontagan Lertkachensri (20)

บทที่ 5 (1)
บทที่ 5 (1)บทที่ 5 (1)
บทที่ 5 (1)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 3-1
บทที่ 3-1บทที่ 3-1
บทที่ 3-1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ไอซ์5
ไอซ์5ไอซ์5
ไอซ์5
 
ไอซ์4
ไอซ์4ไอซ์4
ไอซ์4
 
ไอซ์3
ไอซ์3ไอซ์3
ไอซ์3
 
ไอซ์1
ไอซ์1ไอซ์1
ไอซ์1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
จูน5
จูน5จูน5
จูน5
 
จูน4
จูน4จูน4
จูน4
 
จูน3
จูน3จูน3
จูน3
 
จูน1
จูน1จูน1
จูน1
 

จูน2