SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ทฤษฏีเกมส์ (game theory)

              จัดทำโดย
  นำงสำว นันทลักษณ์ พุ่มไพบูลย์
 เลขที่ 42 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1
ความสาคัญและความเป็นมาของทฤษฎีเกม


    เกม = สถานการณ์ที่มีการแข่งขันหรือการขัดแย้งระหว่าง
ผู้เล่นสอง ฝ่ายขึ้นไป ทาให้มีฝ่ายชนะและฝ่ายแพ้ฝ่ายชนะผล
จะออกมาเป็นบวก ส่วนฝ่ายแพ้ ผลออกมา เป็นลบในการ
เล่นเกม ผู้เล่นแต่ละคนมีทางหรือวิธีให้เลือกหลายๆ วิธี
ต่างกัน ทางให้เลือกนีเรียกว่า“กลยุทธ์” (ผลการเล่นเกมผู้ที่
                      ้
ได้จะได้รับค่าตอบแทนจากผู้เสีย)
เกมระหว่างสองฝ่ายมีผลรวมเท่ากับศูนย์


     เมื่อฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายได้ อีกฝ่ายหนึ่งจะเป็นฝ่ายเสียผลได้ของฝ่าย
หนึ่งจะพอดีกับผลเสียของอีกฝ่ายหนึ่ง(หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ฝ่าย
หนึ่งชนะจานวนเท่าใดก็จะทาให้อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเสียเป็นจานวน
เท่านั้น (Tow persons zero sum games)
กลยุทธ์ หรือ กลวิธี (Strategies)

     ทางเลือกที่ผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะเลือกใช้ผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะมี
กี่กลวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เล่นแต่ละฝ่าย
กลวิธีมี 2 ประเภท คือ กลวิธีแท้หรือกลยุทธ์แท้
(Purestrategies) และกลวิธีผสมหรือกลยุทธ์ผสม (Mixed
strategies)
กลยุทธ์แท้ (pure strategy)


      เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งเป็นประจา โดยไม่สนใจว่าคู่แข่งขันอีกฝ่าย
หนึ่งจะใช้กลยุทธ์ใด หรือทั้งสองฝ่ายเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งเพียงวิธีเดียว
อยู่ตลอดเวลา ไม่มีการเล่นหลายวิธีผสมกัน
วิธีคานวณเกี่ยวกับกลวิธีแท้

1. ค่าของเกม คานวณโดยอาศัยหลักเกณฑ์เพิ่มค่าน้อยที่สุด
   (maximin) และหลักเกณฑ์ลดค่ามากที่สุด (minimax) ถ้า
   หากมีค่าเท่ากันทั้งแถวนอนและตั้ง นั้นคือค่าของเกม

2. เลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดของผู้เล่นแต่ละฝ่าย เป็นการหาจุดดุล
   ศูนย์ถ่วงด้วยค่าของเกม
กลยุทธ์ผสม
        กลยุทธ์ที่ใช้ในการเล่นเกมระหว่างบุคคลสองฝ่าย โดยผูเล่นไม่ได้
 เล่นยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่งเพียงวิธีเดียว แต่จะเล่นหลายวิธผสมกัน จึง
                                                        ี
 จาเป็นต้องใช้หลักคณิตศาสตร์คานวณว่าจะเล่นแต่ละวิธีเป็นสัดส่วน
 เท่าใด และถ้าเล่นตามสัดส่วนจะมีค่าเกมเป็นเท่าใด ลักษณะสาคัญที่
 ชี้ให้เห็นว่าเป็นกลวิธผสมคือ ไม่มีจุดศูนย์ถ่วงวิธีการหาค่าทาได้หลาย
                        ี
 วิธีด้วยกัน ได้แก่วิธีคานวณโดยใช้ความน่าจะเป็น ทั้งคานวณโดยใช้
 เลขคณิต
และพีชคณิต และวิธีคานวณโดยกราฟ วิธีคานวณโดยใช้โปรแกรมเชิง
 เส้นเป็นต้น
2ช่อ

More Related Content

Viewers also liked

เกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือกเกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือก
0834770723
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
teaw-sirinapa
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
teaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
chonchai55
 

Viewers also liked (10)

เกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือกเกม 4 ตัวเลือก
เกม 4 ตัวเลือก
 
ท่องเที่ยวทั่วไทย12เดือน7ดาว9ตะวันสำหรับการศึกษา
ท่องเที่ยวทั่วไทย12เดือน7ดาว9ตะวันสำหรับการศึกษาท่องเที่ยวทั่วไทย12เดือน7ดาว9ตะวันสำหรับการศึกษา
ท่องเที่ยวทั่วไทย12เดือน7ดาว9ตะวันสำหรับการศึกษา
 
Tourism gamebinggo57
Tourism gamebinggo57Tourism gamebinggo57
Tourism gamebinggo57
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
K8
K8K8
K8
 
เกม 24 ใหม่
เกม  24 ใหม่เกม  24 ใหม่
เกม 24 ใหม่
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 

Similar to 2ช่อ (20)

Game theory+
Game theory+Game theory+
Game theory+
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
เเนน
เเนนเเนน
เเนน
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
3
33
3
 
3
33
3
 
3
33
3
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
 
ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)ทฤษฎีเกม (Game theory)
ทฤษฎีเกม (Game theory)
 
ทฤษฎีเกม(Game theory)
ทฤษฎีเกม(Game theory)ทฤษฎีเกม(Game theory)
ทฤษฎีเกม(Game theory)
 
ทฤษฎีเกม(Game theory)
ทฤษฎีเกม(Game theory)ทฤษฎีเกม(Game theory)
ทฤษฎีเกม(Game theory)
 
งานครั้งที่ 3 ทฤษฎีเกม
งานครั้งที่ 3 ทฤษฎีเกมงานครั้งที่ 3 ทฤษฎีเกม
งานครั้งที่ 3 ทฤษฎีเกม
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 
3
33
3
 
3
33
3
 
3
33
3
 
3
33
3
 

2ช่อ

  • 1. ทฤษฏีเกมส์ (game theory) จัดทำโดย นำงสำว นันทลักษณ์ พุ่มไพบูลย์ เลขที่ 42 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4/1
  • 2. ความสาคัญและความเป็นมาของทฤษฎีเกม เกม = สถานการณ์ที่มีการแข่งขันหรือการขัดแย้งระหว่าง ผู้เล่นสอง ฝ่ายขึ้นไป ทาให้มีฝ่ายชนะและฝ่ายแพ้ฝ่ายชนะผล จะออกมาเป็นบวก ส่วนฝ่ายแพ้ ผลออกมา เป็นลบในการ เล่นเกม ผู้เล่นแต่ละคนมีทางหรือวิธีให้เลือกหลายๆ วิธี ต่างกัน ทางให้เลือกนีเรียกว่า“กลยุทธ์” (ผลการเล่นเกมผู้ที่ ้ ได้จะได้รับค่าตอบแทนจากผู้เสีย)
  • 3. เกมระหว่างสองฝ่ายมีผลรวมเท่ากับศูนย์ เมื่อฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายได้ อีกฝ่ายหนึ่งจะเป็นฝ่ายเสียผลได้ของฝ่าย หนึ่งจะพอดีกับผลเสียของอีกฝ่ายหนึ่ง(หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ฝ่าย หนึ่งชนะจานวนเท่าใดก็จะทาให้อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเสียเป็นจานวน เท่านั้น (Tow persons zero sum games)
  • 4. กลยุทธ์ หรือ กลวิธี (Strategies) ทางเลือกที่ผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะเลือกใช้ผู้เล่นแต่ละฝ่ายจะมี กี่กลวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เล่นแต่ละฝ่าย กลวิธีมี 2 ประเภท คือ กลวิธีแท้หรือกลยุทธ์แท้ (Purestrategies) และกลวิธีผสมหรือกลยุทธ์ผสม (Mixed strategies)
  • 5. กลยุทธ์แท้ (pure strategy) เลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งเป็นประจา โดยไม่สนใจว่าคู่แข่งขันอีกฝ่าย หนึ่งจะใช้กลยุทธ์ใด หรือทั้งสองฝ่ายเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งเพียงวิธีเดียว อยู่ตลอดเวลา ไม่มีการเล่นหลายวิธีผสมกัน
  • 6. วิธีคานวณเกี่ยวกับกลวิธีแท้ 1. ค่าของเกม คานวณโดยอาศัยหลักเกณฑ์เพิ่มค่าน้อยที่สุด (maximin) และหลักเกณฑ์ลดค่ามากที่สุด (minimax) ถ้า หากมีค่าเท่ากันทั้งแถวนอนและตั้ง นั้นคือค่าของเกม 2. เลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุดของผู้เล่นแต่ละฝ่าย เป็นการหาจุดดุล ศูนย์ถ่วงด้วยค่าของเกม
  • 7. กลยุทธ์ผสม กลยุทธ์ที่ใช้ในการเล่นเกมระหว่างบุคคลสองฝ่าย โดยผูเล่นไม่ได้ เล่นยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่งเพียงวิธีเดียว แต่จะเล่นหลายวิธผสมกัน จึง ี จาเป็นต้องใช้หลักคณิตศาสตร์คานวณว่าจะเล่นแต่ละวิธีเป็นสัดส่วน เท่าใด และถ้าเล่นตามสัดส่วนจะมีค่าเกมเป็นเท่าใด ลักษณะสาคัญที่ ชี้ให้เห็นว่าเป็นกลวิธผสมคือ ไม่มีจุดศูนย์ถ่วงวิธีการหาค่าทาได้หลาย ี วิธีด้วยกัน ได้แก่วิธีคานวณโดยใช้ความน่าจะเป็น ทั้งคานวณโดยใช้ เลขคณิต และพีชคณิต และวิธีคานวณโดยกราฟ วิธีคานวณโดยใช้โปรแกรมเชิง เส้นเป็นต้น