SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ ที่ 2
รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การออกแบบฐานข้ อมูล
จํานวน 4 คาบเรียน
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------

ั
Access เป็ นโปรแกรม ฐานข้อมูลในชุด Microsoft Office ที่ใช้กนอย่างแพร่ หลาย โดย Access ได้รับ
การพัฒนา เป็ นฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( relational database) ในระดับคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะ
ั
(desktop) มีสมรรถนะในระดับที่ดี การบํารุ งรักษาทําได้ง่ายและสะดวก การเก็บข้อมูลของแต่ละ table จากการ
ใช้งานจริ ง สามารถเก็บเรคอร์ ด ได้อย่างน้อย 200,000 เรคอร์ด ขนาดไฟล์ที่เก็บ ไม่นอยกว่า 80 MB และสามารถ
้
ทํางานในลักษณะ multi-users ได้ จากประสบการณ์พบว่าสามารถทํางานได้ 5-7 ผูใช้พร้อมกัน ซึ่ งไมโครซอฟต์
้
่
ระบุวา ขนาดการเก็บในแต่ละ table สามารถเก็บได้ 2 GB ภายใน Access มีออบเจ็คต่างๆ ที่ครอบคลุมการ
็
พัฒนาเป็ นโปรแกรม โดยมีการติดต่อแบบ GUI (graphical user interface) ทําให้การพัฒนาทําได้สะดวก และใช้
เวลาน้อย
ความเหมาะสมในการใช้ ฐานข้ อมูล การเลือกใช้ Access หรื อฐานข้อมูลระบบต่างๆ มีขอควรพิจารณาที่
้
สําคัญ คือ
1. รู ปแบบและขั้นตอนการทํางานมีความแน่นอน
2. ปริ มาณข้อมูลที่ตองการจัดเก็บมีมาก
้
3. ใช้ขอมูลแบบร่ วมกัน (shared data)
้
เนื่องจากการเขียนโปรแกรมฐานข้อมูล มีความซับซ้อน ต้องการใช้เวลาในการพัฒนา ดังนั้น ถ้าปริ มาณ
ข้อมูลไม่มากและรู ปแบบของข้อมูลเปลี่ยนแปลงเสมอ จะทําให้การตอบสนองการใช้งานไม่ทนกาล แต่เมื่อ
ั
ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลแล้ว จะมีประโยชน์อย่างมากในการวิเคราะห์ การสอบค้นย้อนหลัง รวมถึงการ
ประเมินแนวโน้มต่างๆ

1. แนวคิดในการออกแบบฐานข้ อมูล
จุดมุ่งหมาย และหน้าที่ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ จัดขั้นตอน และกระบวนการประมวลผล จาก
ข้อมูลเบื้องต้น (Input) ให้ออกมาเป็ นผลลัพธ์ (Output)

Input

Process

Output
ในระบบฐานข้อมูล (Database) มีขอพิจารณามากขึ้นคือ ต้องคํานึงว่าจะนําข้อมูลเบื้องต้น เข้าไปเก็บใน
้
ลักษณะใด ที่ทาให้ข้ นตอนการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ สามารถทําได้ตรงตามต้องการ ของวัตถุประสงค์
ํ ั
การติดต่อกับผูใช้ ( user interface) ต้องมีความระมัดระวังลักษณะ และขั้นตอนการทํางานสมควรที่จะมีการ
้
่
ออกแบบให้เข้าใจได้ง่ายไม่มีความยุงยากใช้งานได้สะดวก ในส่ วนความซับซ้อนของการประมวลผลควรซ่อน
ไว้ภายในโปรแกรม ดังนั้น ผังการทํางานใหม่จะมีลกษณะนี้
ั

Input

Interface
Process

Output

2. หลักการออกแบบฐานข้ อมูล

ในกระบวนการออกแบบฐานข้อมูลที่ดีน้ น มีหลักการบางอย่างเป็ นแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้
ั
1. ข้ อมูลซํ้า หรื อที่เรี ยกว่าข้อมูลซํ้าซ้อน ไม่ใช่สิงที่ดี เนื่องจากเปลืองพื้นที่และอาจทําให้มีขอผิดพลาด
้
เกิดขึ้นรวมถึงเกิดความไม่สอดคล้องกัน
2. ความถูกต้ องและความสมบูรณ์ ของข้ อมูล เป็ นสิ่ งสําคัญ ถ้าฐานข้อมูลมีขอมูลที่ไม่ถูกต้อง รายงาน
้
ต่างๆ ที่ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลจะมีขอมูลที่ไม่ถูกต้องตามไปด้วย ส่ งผลให้การตัดสิ นใจต่างๆ ที่ได้กระทําโดย
้
ยึดตามรายงานเหล่านั้นจะไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
ดังนั้น หลักการออกแบบฐานข้ อมูลทีดี คือ
่
1. แบ่งข้อมูลของคุณลงในตารางต่างๆ ตามหัวเรื่ องเพื่อลดการซํ้าซ้อนกันของข้อมูล
2. ใส่ ขอมูลที่จาเป็ นลงใน Access เพื่อรวมข้อมูลในตารางต่างๆ เข้าด้วยกันตามต้องการ
้
ํ
3. ช่วยสนับสนุนและรับประกันความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล
4. ตอบสนองต่อความต้องการในการประมวลผลข้อมูลและการรายงาน

3. กระบวนการออกแบบฐานข้ อมูล
ข้อคํานึงพื้นฐานในการออกแบบฐานข้อมูล คือ การนําข้อมูลเข้าไปจัดเก็บ ในตําแหน่งที่สามารถเรี ยก
ออกมา แสดงผลได้ตรงกับความต้องการ และมีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้น กระบวนการวิเคราะห์จะเริ่ มการพิจารณา
ดังนี้
1. วิเคราะห์ เปาหมายของฐานข้ อมูล เพื่อที่จะทราบว่าจะเก็บข้อมูลประเภทไหน วัตถุประสงค์ของการใช้
้
งาน และต้องการประมวลผลอะไรบ้าง จะทําให้ทราบขอบเขตในการทํางาน และการรวบรวมข้อมูลให้
สอดคล้อง กับการใช้งาน
2. วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล เพื่อจัดกลุ่มข้อมูลสําหรับการจัดเก็บ และพิจารณาความสัมพันธ์ ใน
ด้านการประมวลผล เพื่อแสดงผลที่ตองการได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
้
3. วิเคราะห์ การจัดเก็บข้ อมูล เมื่อทราบจุดมุ่งหมาย และ ความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆแล้ว จึงนํามาจัด
กลุ่มเพื่อกําหนด Table ที่ใช้ในการเก็บให้สอดคล้องกับการทํางาน และความสามารถของ Access
4. วิเคราะห์ รายละเอียดของข้ อมูล เพื่อทําให้ฐานข้อมูล มีสารสนเทศที่เพียงพอกับวิเคราะห์ และการใช้
งานในแต่ละ Table ควรจัดเก็บรายละเอียดต่างๆ ให้ครบถ้วน
5. วิเคราะห์ การไหลของข้ อมูล เพื่อทําให้สามารถ ออกแบบขั้นตอนการทํางาน ของโปรแกรมให้
สอดคล้อง กับลักษณะการทํางาน มีความสะดวก และป้ องกันความผิดพลาด หรื อการรวบรวม
สารสนเทศไม่ครบ
กระบวนการออกแบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
1. กําหนดวัตถุประสงค์ ของฐานข้ อมูลของคุณ
• การทําเช่นนี้จะเป็ นการเตรี ยมพร้อมสําหรับขั้นตอนในขั้นต่อๆ ไป
2. ค้ นหาและจัดระเบียบข้ อมูลทีต้องการ
่
• รวบรวมข้อมูลทุกชนิดที่คุณอาจต้องการบันทึกลงในฐานข้อมูล เช่น ชื่อผลิตภัณฑ์และ
หมายเลขใบสั่งซื้อ
3. แบ่ งข้ อมูลลงในตารางต่ างๆ
• แบ่งรายการข้อมูลของคุณออกเป็ นกลุ่มหรื อหัวเรื่ องหลักๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ หรื อใบสั่งซื้ อ
จากนั้นแต่ละหัวเรื่ องจะถูกนํามาทําเป็ นตาราง
4. เปลียนรายการของข้ อมูลให้ เป็ นคอลัมน์ ต่างๆ
่
• ตัดสิ นใจว่าคุณต้องการเก็บข้อมูลอะไรในตารางแต่ละตาราง รายการแต่ละรายการจะกลายเป็ น
เขตข้อมูล และแสดงเป็ นคอลัมน์ในตาราง ตัวอย่างเช่น ตารางพนักงานอาจมีเขตข้อมูลเช่น
นามสกุลและวันที่จางงาน
้
5. ระบุคีย์หลัก
• เลือกคียหลักของตารางแต่ละตาราง คียหลักคือคอลัมน์ที่ใช้เพื่อระบุแต่ละแถวแบบไม่ซ้ ากัน
์
์
ํ
ตัวอย่างเช่น หมายเลขผลิตภัณฑ์ หรื อ ID ใบสั่งซื้ อ
6. กําหนดความสั มพันธ์ ของตาราง
ั
• ดูที่ตารางแต่ละตารางแล้วพิจารณาว่าข้อมูลในตารางหนึ่งสัมพันธ์กบข้อมูลในตารางอื่นๆ
อย่างไร ให้เพิมเขตข้อมูลลงในตารางหรื อสร้างตารางใหม่เพื่อระบุความสัมพันธ์ต่างๆ ให้
่
ชัดเจนตามต้องการ
7. การปรับการออกแบบให้ ดียงขึน
ิ่ ้
• วิเคราะห์การออกแบบของคุณเพื่อหาข้อผิดพลาด สร้างตารางแล้วเพิ่มระเบียนข้อมูลตัวอย่าง
่
สองสามระเบียน ให้ดูวาคุณจะได้รับผลลัพธ์ที่คุณต้องการจากตารางของคุณหรื อไม่
ปรับเปลี่ยนการออกแบบตามต้องการ
8. การใช้ กฎ Normalization
่
• ใช้กฎ Normalization ข้อมูลเพื่อดูวาตารางของคุณมีโครงสร้างที่ถูกต้องหรื อไม่ ปรับเปลี่ยน
การออกแบบได้ถาจําเป็ น
้

More Related Content

Viewers also liked (10)

2. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 52. ใบความรู้ที่ 5
2. ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 72. ใบความรู้ที่ 7
2. ใบความรู้ที่ 7
 
Power strip
Power stripPower strip
Power strip
 
1
11
1
 
2. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 62. ใบความรู้ที่ 6
2. ใบความรู้ที่ 6
 
5
55
5
 
7
77
7
 
6
66
6
 
3
33
3
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 2

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eSchool
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 
Num
NumNum
Numnpyp
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6Khanut Anusatsanakul
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรอภิวัฒน์ ปานกลาง
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Similar to 2. ใบความรู้ที่ 2 (20)

บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
แปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of eแปล Design and implementation of e
แปล Design and implementation of e
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
123
123123
123
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 
Num
NumNum
Num
 
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
สรุปกลุ่มที่ 1,2,3,5,6
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
08
0808
08
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 

More from ครูเพชร

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 

More from ครูเพชร (17)

ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower pointครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
ครูเพชร การแทรกรูปภาพลงในโปแกรมPower point
 
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
ครูเพชร การนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง
 
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1สื่อการสอน หน่วยที่ 1
สื่อการสอน หน่วยที่ 1
 
Research02
Research02Research02
Research02
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 

2. ใบความรู้ที่ 2

  • 1. ใบความรู้ ที่ 2 รหัสวิชา ง32202 ชื่ อวิชา การสร้ างฐานข้ อมูลเบืองต้ น ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การออกแบบฐานข้ อมูล จํานวน 4 คาบเรียน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------- ั Access เป็ นโปรแกรม ฐานข้อมูลในชุด Microsoft Office ที่ใช้กนอย่างแพร่ หลาย โดย Access ได้รับ การพัฒนา เป็ นฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( relational database) ในระดับคอมพิวเตอร์ ต้ งโต๊ะ ั (desktop) มีสมรรถนะในระดับที่ดี การบํารุ งรักษาทําได้ง่ายและสะดวก การเก็บข้อมูลของแต่ละ table จากการ ใช้งานจริ ง สามารถเก็บเรคอร์ ด ได้อย่างน้อย 200,000 เรคอร์ด ขนาดไฟล์ที่เก็บ ไม่นอยกว่า 80 MB และสามารถ ้ ทํางานในลักษณะ multi-users ได้ จากประสบการณ์พบว่าสามารถทํางานได้ 5-7 ผูใช้พร้อมกัน ซึ่ งไมโครซอฟต์ ้ ่ ระบุวา ขนาดการเก็บในแต่ละ table สามารถเก็บได้ 2 GB ภายใน Access มีออบเจ็คต่างๆ ที่ครอบคลุมการ ็ พัฒนาเป็ นโปรแกรม โดยมีการติดต่อแบบ GUI (graphical user interface) ทําให้การพัฒนาทําได้สะดวก และใช้ เวลาน้อย ความเหมาะสมในการใช้ ฐานข้ อมูล การเลือกใช้ Access หรื อฐานข้อมูลระบบต่างๆ มีขอควรพิจารณาที่ ้ สําคัญ คือ 1. รู ปแบบและขั้นตอนการทํางานมีความแน่นอน 2. ปริ มาณข้อมูลที่ตองการจัดเก็บมีมาก ้ 3. ใช้ขอมูลแบบร่ วมกัน (shared data) ้ เนื่องจากการเขียนโปรแกรมฐานข้อมูล มีความซับซ้อน ต้องการใช้เวลาในการพัฒนา ดังนั้น ถ้าปริ มาณ ข้อมูลไม่มากและรู ปแบบของข้อมูลเปลี่ยนแปลงเสมอ จะทําให้การตอบสนองการใช้งานไม่ทนกาล แต่เมื่อ ั ข้อมูลถูกเก็บในระบบฐานข้อมูลแล้ว จะมีประโยชน์อย่างมากในการวิเคราะห์ การสอบค้นย้อนหลัง รวมถึงการ ประเมินแนวโน้มต่างๆ 1. แนวคิดในการออกแบบฐานข้ อมูล จุดมุ่งหมาย และหน้าที่ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ จัดขั้นตอน และกระบวนการประมวลผล จาก ข้อมูลเบื้องต้น (Input) ให้ออกมาเป็ นผลลัพธ์ (Output) Input Process Output
  • 2. ในระบบฐานข้อมูล (Database) มีขอพิจารณามากขึ้นคือ ต้องคํานึงว่าจะนําข้อมูลเบื้องต้น เข้าไปเก็บใน ้ ลักษณะใด ที่ทาให้ข้ นตอนการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ สามารถทําได้ตรงตามต้องการ ของวัตถุประสงค์ ํ ั การติดต่อกับผูใช้ ( user interface) ต้องมีความระมัดระวังลักษณะ และขั้นตอนการทํางานสมควรที่จะมีการ ้ ่ ออกแบบให้เข้าใจได้ง่ายไม่มีความยุงยากใช้งานได้สะดวก ในส่ วนความซับซ้อนของการประมวลผลควรซ่อน ไว้ภายในโปรแกรม ดังนั้น ผังการทํางานใหม่จะมีลกษณะนี้ ั Input Interface Process Output 2. หลักการออกแบบฐานข้ อมูล ในกระบวนการออกแบบฐานข้อมูลที่ดีน้ น มีหลักการบางอย่างเป็ นแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ ั 1. ข้ อมูลซํ้า หรื อที่เรี ยกว่าข้อมูลซํ้าซ้อน ไม่ใช่สิงที่ดี เนื่องจากเปลืองพื้นที่และอาจทําให้มีขอผิดพลาด ้ เกิดขึ้นรวมถึงเกิดความไม่สอดคล้องกัน 2. ความถูกต้ องและความสมบูรณ์ ของข้ อมูล เป็ นสิ่ งสําคัญ ถ้าฐานข้อมูลมีขอมูลที่ไม่ถูกต้อง รายงาน ้ ต่างๆ ที่ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลจะมีขอมูลที่ไม่ถูกต้องตามไปด้วย ส่ งผลให้การตัดสิ นใจต่างๆ ที่ได้กระทําโดย ้ ยึดตามรายงานเหล่านั้นจะไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน ดังนั้น หลักการออกแบบฐานข้ อมูลทีดี คือ ่ 1. แบ่งข้อมูลของคุณลงในตารางต่างๆ ตามหัวเรื่ องเพื่อลดการซํ้าซ้อนกันของข้อมูล 2. ใส่ ขอมูลที่จาเป็ นลงใน Access เพื่อรวมข้อมูลในตารางต่างๆ เข้าด้วยกันตามต้องการ ้ ํ 3. ช่วยสนับสนุนและรับประกันความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล 4. ตอบสนองต่อความต้องการในการประมวลผลข้อมูลและการรายงาน 3. กระบวนการออกแบบฐานข้ อมูล ข้อคํานึงพื้นฐานในการออกแบบฐานข้อมูล คือ การนําข้อมูลเข้าไปจัดเก็บ ในตําแหน่งที่สามารถเรี ยก ออกมา แสดงผลได้ตรงกับความต้องการ และมีประสิ ทธิ ภาพ ดังนั้น กระบวนการวิเคราะห์จะเริ่ มการพิจารณา ดังนี้
  • 3. 1. วิเคราะห์ เปาหมายของฐานข้ อมูล เพื่อที่จะทราบว่าจะเก็บข้อมูลประเภทไหน วัตถุประสงค์ของการใช้ ้ งาน และต้องการประมวลผลอะไรบ้าง จะทําให้ทราบขอบเขตในการทํางาน และการรวบรวมข้อมูลให้ สอดคล้อง กับการใช้งาน 2. วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ของข้ อมูล เพื่อจัดกลุ่มข้อมูลสําหรับการจัดเก็บ และพิจารณาความสัมพันธ์ ใน ด้านการประมวลผล เพื่อแสดงผลที่ตองการได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ 3. วิเคราะห์ การจัดเก็บข้ อมูล เมื่อทราบจุดมุ่งหมาย และ ความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆแล้ว จึงนํามาจัด กลุ่มเพื่อกําหนด Table ที่ใช้ในการเก็บให้สอดคล้องกับการทํางาน และความสามารถของ Access 4. วิเคราะห์ รายละเอียดของข้ อมูล เพื่อทําให้ฐานข้อมูล มีสารสนเทศที่เพียงพอกับวิเคราะห์ และการใช้ งานในแต่ละ Table ควรจัดเก็บรายละเอียดต่างๆ ให้ครบถ้วน 5. วิเคราะห์ การไหลของข้ อมูล เพื่อทําให้สามารถ ออกแบบขั้นตอนการทํางาน ของโปรแกรมให้ สอดคล้อง กับลักษณะการทํางาน มีความสะดวก และป้ องกันความผิดพลาด หรื อการรวบรวม สารสนเทศไม่ครบ กระบวนการออกแบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ 1. กําหนดวัตถุประสงค์ ของฐานข้ อมูลของคุณ • การทําเช่นนี้จะเป็ นการเตรี ยมพร้อมสําหรับขั้นตอนในขั้นต่อๆ ไป 2. ค้ นหาและจัดระเบียบข้ อมูลทีต้องการ ่ • รวบรวมข้อมูลทุกชนิดที่คุณอาจต้องการบันทึกลงในฐานข้อมูล เช่น ชื่อผลิตภัณฑ์และ หมายเลขใบสั่งซื้อ 3. แบ่ งข้ อมูลลงในตารางต่ างๆ • แบ่งรายการข้อมูลของคุณออกเป็ นกลุ่มหรื อหัวเรื่ องหลักๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ หรื อใบสั่งซื้ อ จากนั้นแต่ละหัวเรื่ องจะถูกนํามาทําเป็ นตาราง 4. เปลียนรายการของข้ อมูลให้ เป็ นคอลัมน์ ต่างๆ ่ • ตัดสิ นใจว่าคุณต้องการเก็บข้อมูลอะไรในตารางแต่ละตาราง รายการแต่ละรายการจะกลายเป็ น เขตข้อมูล และแสดงเป็ นคอลัมน์ในตาราง ตัวอย่างเช่น ตารางพนักงานอาจมีเขตข้อมูลเช่น นามสกุลและวันที่จางงาน ้ 5. ระบุคีย์หลัก • เลือกคียหลักของตารางแต่ละตาราง คียหลักคือคอลัมน์ที่ใช้เพื่อระบุแต่ละแถวแบบไม่ซ้ ากัน ์ ์ ํ ตัวอย่างเช่น หมายเลขผลิตภัณฑ์ หรื อ ID ใบสั่งซื้ อ
  • 4. 6. กําหนดความสั มพันธ์ ของตาราง ั • ดูที่ตารางแต่ละตารางแล้วพิจารณาว่าข้อมูลในตารางหนึ่งสัมพันธ์กบข้อมูลในตารางอื่นๆ อย่างไร ให้เพิมเขตข้อมูลลงในตารางหรื อสร้างตารางใหม่เพื่อระบุความสัมพันธ์ต่างๆ ให้ ่ ชัดเจนตามต้องการ 7. การปรับการออกแบบให้ ดียงขึน ิ่ ้ • วิเคราะห์การออกแบบของคุณเพื่อหาข้อผิดพลาด สร้างตารางแล้วเพิ่มระเบียนข้อมูลตัวอย่าง ่ สองสามระเบียน ให้ดูวาคุณจะได้รับผลลัพธ์ที่คุณต้องการจากตารางของคุณหรื อไม่ ปรับเปลี่ยนการออกแบบตามต้องการ 8. การใช้ กฎ Normalization ่ • ใช้กฎ Normalization ข้อมูลเพื่อดูวาตารางของคุณมีโครงสร้างที่ถูกต้องหรื อไม่ ปรับเปลี่ยน การออกแบบได้ถาจําเป็ น ้