SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
2.หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยเก็บข้อมูล

หน่วยรับข้อมูล

หน่วยประมวลผลกลาง

หน่วยความจา RAM

หน่วยแสดงผล
•ซีพียู และการประมวลผล
CPU(Central Processing Unit) หรือ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) มี
ลักษณะเป็นชิป ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆมากมาย โดยมีการรวมวงจรต่างๆ
อยู่ในชิปเพียงตัวเดียว ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญคือ

ตัวอย่าง CPU
1.หน่วยควบคุม(control unit) ทาหน้าที่ประสานงานและควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์
2.หน่วยคานวณตรรกะ หรือ ALU (Arithmetic-Logic Unit) ทาหน้าที่ในการ
คานวณต่างๆทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อความตัดสินใจ
หน่วยความจาและการจัดเก็บข้อมูล แบ่งได้ 2 ชนิด
1.หน่วยความจาแบบไม่สามารถลบเลือนได้
เก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง เช่น

1.1 รอม (ROM: Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่อ่านได้
อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้เช่น BIOS (อุปกรณ์เก็บคาสั่ง
พื้นฐานเพื่อเริ่มการบูตของคอมพิวเตอร์)
1.2 หน่วยความจาแฟลช (Flash Memory) เป็นหน่วยความจาที่
สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ปัจจุบัน
นามาทางานร่วมกับรอม เพื่อให้สามารถแก้ไขข้อมูลได้
2.หน่วยความจาแบบลบเลือนได้
เป็นหน่วยความจาที่ต้องมีไฟเลี้ยง หากไฟดับ ข้อมูลจะหายไป เช่น
แรม : RAM (Random Access Memory) มี 2 ประเภท
2.1 SRAM (Static RAM)
ใช้เป็นหน่วยความจาแคช จะถูกฝังอยู่ในตัว CPU
ความเร็วสูงกว่า DRAM แต่มีราคาแพง
2.2 DRAM (Dynamic RAM)
ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมระหว่างการประมวลผล
เป็นที่นิยมมากที่สุด ราคาไม่แพง ความจุสูง มีหลายชนิด
ชนิดของ Ram
1. Dram (Dynamic RAM : DRAM) ลักษณะเป็นตัวเก็บประจุ ( Capacitor ) มีการ refresh เพื่อ
เก็บข้อมูลให้คงอยู่ โดยการ refresh นี้ ทาให้เกิดการหน่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล จึงเป็น
เหตุให้ได้ชื่อว่า Dynamic RAM ปัจจุบันนี้หมดไปจากตลาดแล้ว

2.FPM (First Page Mode) เป็น RAM ในยุคแรกของ CPUรุ่น 486
ลักษณะเหมือนๆกับ DRAM เพียงแต่สามารถลด
ช่วงการหน่วงเวลาในขณะเข้าถึงข้อมูลลง
ทาให้ได้ความเร็วมากขึ้น(ประมาณ 100 Mhz./s.)
ภาพ FPM RAM 4MB จานวน 4 ตัว (จาเป็นต้องใช้หลายตัว
เนืองจากมีขนาดความจุน้อย ทาให้ต้องใช้พื้นที่บอร์ดขนาดใหญ่)
่
3.EDO (Extended Data Out) พัฒนาจาก FPM มีขาสัญญาณ 72 ขา ให้มีความเร็วมากขึ้นเพื่อ
ใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ เช่น CPU 66 Mhz.
ภาพ EDO สามารถถ่ายโอนด้วย
ความเร็วบัส100 Mhz.และสูงสุด ประมาณ 264 Mhz./s.

3.SDRam (Synchronous DRAM )
พัฒนาให้มีจานวนขาจานวนขาทั้งสิ้น 168 ขา ทาให้มีความเร็วสูงขึ้น แต่ใช้ สัญญาณนาฬิกา
ได้เพียงขาขึ้นเท่านั้น ปัจจุบันหมดความเป็นที่นิยมไปแล้ว
จะพบได้ก็แต่เพียงในคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ
ภาพ SDRam ความเร็วมีให้เลือกใช้ทั้งรุ่น PC-66 (66
MHz ไปถึง PC-150 (150MHz)
4.DDR (Double Data Rate SDRAM )
พัฒนาต่อจาก SDRAM ให้สามารถส่งสัญญาณได้ทั้งขาขึ้นและขาลง
ทาให้ความเร็วเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ปัจจุบันมีหลายแบบ
-DDR1 มีจานวนขาทั้งสิ้น 184 ขา ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 133 MHz (DDR-266) ไป
จนถึง 400 MHz (DDR-700) ความจุสูงสุด ขนาด 1 GB.
-DDR2 มีจานวนขาทั้งสิ้น 240 ขา รองรับความจุได้สูงสุดถึง 4 GB ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้
ตั้งแต่ 400 MHz (DDR2-400) ไปจนถึง 1066 MHz (DDR2-900)
-DDR3 มีจานวนขาทั้งสิ้น 240 ขา ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 1066 MHz (DDR2-400)
ไปจนถึง 2800 MHz ชิปมีขนาด 4 กิกะบิต ช่วยให้มีหน่วยความจาได้สูงถึง 16GB

5.RDRAM (RAMBUS DRAN)

ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท Rambus lnc มีความเร็วบัสได้ถึง 400 เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่า
SDRAM ถึง 8 เท่า แต่กลับหน่วงการทางานใกล้เคียง SDRAM และมีราคาแพง
ปัจจุบนไม่ค่อยได้รับความนิยม เนื่องจากเมนบอร์ดของ Intel เพียงบางรุ่นเท่านั้นที่สนับสนุน
ั
ระบบบัส
คือเส้นทางที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์
ต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นระบบเดียวกัน ทั้งภายในแผงวงจรหลัก และ
อุปกรณ์ที่อยู่บน Slot จะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันโดยวงจรทางไฟฟ้า
บัสยิ่งมาก ความเร็วในการส่งข้อมูลยิ่งสูง
1.งานเอกสารหรืองานสานักงาน
CPU อย่างน้อย 1 GHz แรมอย่างน้อย 1 GB อาจเลือกใช้จอแบบ LCD
ขนาดใหญ่ 16-17 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา
2. งานกราฟิก
CPU ประมาณ 2GHz ขึ้นไป แรมอย่างน้อย 2 GB และควรมี
ความจุของฮาร์ดดิส จานวนมาก
3. งานออกแบบแสดงเป็น 3D
CPU ไม่น้อยกว่า 2 GHz แรมอย่างน้อย 4 GB หน้าจอไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว
และมีการ์ดแสดงผลความเร็วไม่ต่ากว่า 1 GHZ
แบบฝึกหัดที่ 1
1. จงอธิบายหลักการทางานของ DDR – Sdram มาพอเข้าใจ
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
............
2. เหตุใด จึงมีคากล่าวว่า “RAM สามารถเปรียบเทียบได้กับความจาระยะสั้น
ของคน และฮาร์ดดิสก์ เหมือนกับหน่วยความจาระยะยาว”
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........

More Related Content

What's hot

1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์namtoey
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์friendkrittiya
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์supanuch
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์chaiing
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3niramon_gam
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์moemon12
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwarekruwaeo
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwarekruwaeo
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นassumption college rayong
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SaiYoseob
 

What's hot (18)

1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Pang 4
Pang 4Pang 4
Pang 4
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Minemap1
Minemap1Minemap1
Minemap1
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Towards smart and sustainable machining
Towards smart and sustainable machiningTowards smart and sustainable machining
Towards smart and sustainable machiningLiu PeiLing
 
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.Mark Filippi
 
Аллергия народные средства лечения
Аллергия народные средства леченияАллергия народные средства лечения
Аллергия народные средства леченияvik65
 
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớ
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớCẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớ
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớeveline748
 
ABM_Infographic
ABM_InfographicABM_Infographic
ABM_InfographicJosh Toves
 
Virtual cnc training lab story
Virtual cnc training lab storyVirtual cnc training lab story
Virtual cnc training lab storyLiu PeiLing
 
Breaking the Monolith - v3
Breaking the Monolith - v3Breaking the Monolith - v3
Breaking the Monolith - v3Cristobal Viedma
 
中国模具工业协会成立30周年纪念画册
中国模具工业协会成立30周年纪念画册中国模具工业协会成立30周年纪念画册
中国模具工业协会成立30周年纪念画册Liu PeiLing
 
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...FLORIAN DUFOUR
 
Rehab for Student Leader Junkies
Rehab for Student Leader JunkiesRehab for Student Leader Junkies
Rehab for Student Leader JunkiesMichael Poll
 
Social Media Surprise and Delight
Social Media Surprise and DelightSocial Media Surprise and Delight
Social Media Surprise and DelightCarmen Collins
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลMrpopovic Popovic
 
Os sacramentos da igreja - Aula 03
Os sacramentos da igreja - Aula 03Os sacramentos da igreja - Aula 03
Os sacramentos da igreja - Aula 03Rubens Júnior
 
Os sacramentos da igreja - Aula 12
Os sacramentos da igreja - Aula 12Os sacramentos da igreja - Aula 12
Os sacramentos da igreja - Aula 12Rubens Júnior
 
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020ManpowerGroup
 
Ensayo administracion industrial
Ensayo administracion industrialEnsayo administracion industrial
Ensayo administracion industrialJohn Cruz
 

Viewers also liked (19)

Towards smart and sustainable machining
Towards smart and sustainable machiningTowards smart and sustainable machining
Towards smart and sustainable machining
 
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.
2010 Coherence Conference - James Oschman, Ph.D.
 
Аллергия народные средства лечения
Аллергия народные средства леченияАллергия народные средства лечения
Аллергия народные средства лечения
 
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớ
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớCẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớ
Cẩn thận đối phó với bệnh hay quên, đãng trí, suy giảm trí nhớ
 
ABM_Infographic
ABM_InfographicABM_Infographic
ABM_Infographic
 
Virtual cnc training lab story
Virtual cnc training lab storyVirtual cnc training lab story
Virtual cnc training lab story
 
Breaking the Monolith - v3
Breaking the Monolith - v3Breaking the Monolith - v3
Breaking the Monolith - v3
 
中国模具工业协会成立30周年纪念画册
中国模具工业协会成立30周年纪念画册中国模具工业协会成立30周年纪念画册
中国模具工业协会成立30周年纪念画册
 
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...
Infographie - les professionnels de l'expertise-comptable et les reseaux soci...
 
Rehab for Student Leader Junkies
Rehab for Student Leader JunkiesRehab for Student Leader Junkies
Rehab for Student Leader Junkies
 
Social Media Surprise and Delight
Social Media Surprise and DelightSocial Media Surprise and Delight
Social Media Surprise and Delight
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 
Os sacramentos da igreja - Aula 03
Os sacramentos da igreja - Aula 03Os sacramentos da igreja - Aula 03
Os sacramentos da igreja - Aula 03
 
Os sacramentos da igreja - Aula 12
Os sacramentos da igreja - Aula 12Os sacramentos da igreja - Aula 12
Os sacramentos da igreja - Aula 12
 
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020
Génération Y et Carrières : vision à l’horizon 2020
 
ETD2016 La Reunion : ETD and promotion of PhD students' research at the Unive...
ETD2016 La Reunion : ETD and promotion of PhD students' research at the Unive...ETD2016 La Reunion : ETD and promotion of PhD students' research at the Unive...
ETD2016 La Reunion : ETD and promotion of PhD students' research at the Unive...
 
Ensayo administracion industrial
Ensayo administracion industrialEnsayo administracion industrial
Ensayo administracion industrial
 
C2I D4 FST :TD1 Recherche web, moteurs de recherche, evaluation
C2I D4 FST :TD1 Recherche web, moteurs de recherche, evaluationC2I D4 FST :TD1 Recherche web, moteurs de recherche, evaluation
C2I D4 FST :TD1 Recherche web, moteurs de recherche, evaluation
 

Similar to เทอม 2 คาบ 2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSuriyawut Threecai
 
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์noo Carzy
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์krujee
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถNarunat Mahipan
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 

Similar to เทอม 2 คาบ 2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ (20)

ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
 
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถใบงาน 3.1 นฤนาถ
ใบงาน 3.1 นฤนาถ
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
Chapter 3 Module 1  Type of Information technologyChapter 3 Module 1  Type of Information technology
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

More from Mrpopovic Popovic

เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45
เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45
เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45Mrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงาน
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงานเทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงาน
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงานMrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ Mrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ด
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ดเทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ด
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ดMrpopovic Popovic
 
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูลเทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูลMrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์Mrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนต
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนตเทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนต
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนตMrpopovic Popovic
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainMrpopovic Popovic
 

More from Mrpopovic Popovic (20)

เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45
เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45
เทอม 1 คาบ 9.1วิธีการเข้าสาย utp กับขั้วต่อ rj45
 
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงาน
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงานเทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงาน
เทอม 2 คาบ 11 ตัวอย่าง ผังงาน
 
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
เทอม2คาบ 6ฮาร์ดดิสก์การ์ดจอ
 
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ด
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ดเทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ด
เทอม 2 คาบ5การเลือกซื้อเมนบอร์ด
 
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 12
เทอม 1 คาบ 12เทอม 1 คาบ 12
เทอม 1 คาบ 12
 
เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
 
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูลเทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4
 
เทอม 1 คาบ 3
เทอม 1 คาบ 3เทอม 1 คาบ 3
เทอม 1 คาบ 3
 
เทอม 1 คาบ 2
เทอม 1 คาบ 2เทอม 1 คาบ 2
เทอม 1 คาบ 2
 
เทอม 1 คาบ 1
เทอม 1 คาบ 1เทอม 1 คาบ 1
เทอม 1 คาบ 1
 
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนต
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนตเทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนต
เทอม 2 คาบ 8 การเรียกดูเว็บเบราวเซอร์และบริการบนอินเทอร์เนต
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
 

เทอม 2 คาบ 2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

  • 3. •ซีพียู และการประมวลผล CPU(Central Processing Unit) หรือ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) มี ลักษณะเป็นชิป ภายในบรรจุวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆมากมาย โดยมีการรวมวงจรต่างๆ อยู่ในชิปเพียงตัวเดียว ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญคือ ตัวอย่าง CPU
  • 4. 1.หน่วยควบคุม(control unit) ทาหน้าที่ประสานงานและควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ 2.หน่วยคานวณตรรกะ หรือ ALU (Arithmetic-Logic Unit) ทาหน้าที่ในการ คานวณต่างๆทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อความตัดสินใจ
  • 5. หน่วยความจาและการจัดเก็บข้อมูล แบ่งได้ 2 ชนิด 1.หน่วยความจาแบบไม่สามารถลบเลือนได้ เก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง เช่น 1.1 รอม (ROM: Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาที่อ่านได้ อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้เช่น BIOS (อุปกรณ์เก็บคาสั่ง พื้นฐานเพื่อเริ่มการบูตของคอมพิวเตอร์) 1.2 หน่วยความจาแฟลช (Flash Memory) เป็นหน่วยความจาที่ สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ปัจจุบัน นามาทางานร่วมกับรอม เพื่อให้สามารถแก้ไขข้อมูลได้
  • 6. 2.หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ เป็นหน่วยความจาที่ต้องมีไฟเลี้ยง หากไฟดับ ข้อมูลจะหายไป เช่น แรม : RAM (Random Access Memory) มี 2 ประเภท 2.1 SRAM (Static RAM) ใช้เป็นหน่วยความจาแคช จะถูกฝังอยู่ในตัว CPU ความเร็วสูงกว่า DRAM แต่มีราคาแพง
  • 7. 2.2 DRAM (Dynamic RAM) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมระหว่างการประมวลผล เป็นที่นิยมมากที่สุด ราคาไม่แพง ความจุสูง มีหลายชนิด
  • 8. ชนิดของ Ram 1. Dram (Dynamic RAM : DRAM) ลักษณะเป็นตัวเก็บประจุ ( Capacitor ) มีการ refresh เพื่อ เก็บข้อมูลให้คงอยู่ โดยการ refresh นี้ ทาให้เกิดการหน่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล จึงเป็น เหตุให้ได้ชื่อว่า Dynamic RAM ปัจจุบันนี้หมดไปจากตลาดแล้ว 2.FPM (First Page Mode) เป็น RAM ในยุคแรกของ CPUรุ่น 486 ลักษณะเหมือนๆกับ DRAM เพียงแต่สามารถลด ช่วงการหน่วงเวลาในขณะเข้าถึงข้อมูลลง ทาให้ได้ความเร็วมากขึ้น(ประมาณ 100 Mhz./s.) ภาพ FPM RAM 4MB จานวน 4 ตัว (จาเป็นต้องใช้หลายตัว เนืองจากมีขนาดความจุน้อย ทาให้ต้องใช้พื้นที่บอร์ดขนาดใหญ่) ่
  • 9. 3.EDO (Extended Data Out) พัฒนาจาก FPM มีขาสัญญาณ 72 ขา ให้มีความเร็วมากขึ้นเพื่อ ใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ เช่น CPU 66 Mhz. ภาพ EDO สามารถถ่ายโอนด้วย ความเร็วบัส100 Mhz.และสูงสุด ประมาณ 264 Mhz./s. 3.SDRam (Synchronous DRAM ) พัฒนาให้มีจานวนขาจานวนขาทั้งสิ้น 168 ขา ทาให้มีความเร็วสูงขึ้น แต่ใช้ สัญญาณนาฬิกา ได้เพียงขาขึ้นเท่านั้น ปัจจุบันหมดความเป็นที่นิยมไปแล้ว จะพบได้ก็แต่เพียงในคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ภาพ SDRam ความเร็วมีให้เลือกใช้ทั้งรุ่น PC-66 (66 MHz ไปถึง PC-150 (150MHz)
  • 10. 4.DDR (Double Data Rate SDRAM ) พัฒนาต่อจาก SDRAM ให้สามารถส่งสัญญาณได้ทั้งขาขึ้นและขาลง ทาให้ความเร็วเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ปัจจุบันมีหลายแบบ -DDR1 มีจานวนขาทั้งสิ้น 184 ขา ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 133 MHz (DDR-266) ไป จนถึง 400 MHz (DDR-700) ความจุสูงสุด ขนาด 1 GB. -DDR2 มีจานวนขาทั้งสิ้น 240 ขา รองรับความจุได้สูงสุดถึง 4 GB ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้ ตั้งแต่ 400 MHz (DDR2-400) ไปจนถึง 1066 MHz (DDR2-900) -DDR3 มีจานวนขาทั้งสิ้น 240 ขา ความเร็วบัสมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 1066 MHz (DDR2-400) ไปจนถึง 2800 MHz ชิปมีขนาด 4 กิกะบิต ช่วยให้มีหน่วยความจาได้สูงถึง 16GB 5.RDRAM (RAMBUS DRAN) ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท Rambus lnc มีความเร็วบัสได้ถึง 400 เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่า SDRAM ถึง 8 เท่า แต่กลับหน่วงการทางานใกล้เคียง SDRAM และมีราคาแพง ปัจจุบนไม่ค่อยได้รับความนิยม เนื่องจากเมนบอร์ดของ Intel เพียงบางรุ่นเท่านั้นที่สนับสนุน ั
  • 11. ระบบบัส คือเส้นทางที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ ต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นระบบเดียวกัน ทั้งภายในแผงวงจรหลัก และ อุปกรณ์ที่อยู่บน Slot จะถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันโดยวงจรทางไฟฟ้า บัสยิ่งมาก ความเร็วในการส่งข้อมูลยิ่งสูง
  • 12.
  • 13. 1.งานเอกสารหรืองานสานักงาน CPU อย่างน้อย 1 GHz แรมอย่างน้อย 1 GB อาจเลือกใช้จอแบบ LCD ขนาดใหญ่ 16-17 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา
  • 14. 2. งานกราฟิก CPU ประมาณ 2GHz ขึ้นไป แรมอย่างน้อย 2 GB และควรมี ความจุของฮาร์ดดิส จานวนมาก
  • 15. 3. งานออกแบบแสดงเป็น 3D CPU ไม่น้อยกว่า 2 GHz แรมอย่างน้อย 4 GB หน้าจอไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว และมีการ์ดแสดงผลความเร็วไม่ต่ากว่า 1 GHZ
  • 16. แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงอธิบายหลักการทางานของ DDR – Sdram มาพอเข้าใจ ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ............ 2. เหตุใด จึงมีคากล่าวว่า “RAM สามารถเปรียบเทียบได้กับความจาระยะสั้น ของคน และฮาร์ดดิสก์ เหมือนกับหน่วยความจาระยะยาว” ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ...........