SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบงานที่ 3.1
                ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์

จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้
     1. ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า
Microcontroller หมายถึง อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึง
กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอาซีพียู, หน่วยความจา และ
พอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการ
บรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน

2. ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ
  1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
  2. หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้
     สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory) เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่อง
     คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มไฟเลี้ยง
                                                                            ี
     อีกส่วนหนึ่งคือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดใน
     การคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง
     ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป
     แต่สาหรับไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งที่เป็น
     หน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็นอีอีพรอม
     (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูล
     ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
3. ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต
     (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ตเอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้
     ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่าง
     พอร์ตอินพุต เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและ
     ส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพือแสดงผลเช่น การติดสว่างของหลอดไฟ เป็นต้น
                            ่
  4. ช่องทางเดินของสัญญาณ หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล
     ระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ จานวนมาก
     อยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส
     (Address Bus) และบัสควบคุม (Control Bus)
  5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็นส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง
     เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึ้นอยู่กบการกาหนด
                                                                   ั
     จังหวะ หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้น
     ส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการประมวลผลสูงตามไปด้วย

3. บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ intel
มีชื่อเรียกว่า MPU 4004 (MCS-4)

4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลใน
รูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางานเช่นใด
     ประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อ
กาหนดการทางานในแบบต่างๆ ส่วนอัตราการประมวลนั้นขึ้นอยู่กบความถี่สัญญาณ
                                                       ั
นาฬิกาที่ป้อนให้
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้
ในการผลิต
      นาฬิกา แอร์ หุ่นยนต์ เมาส์

6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษา
แอสเซมบลี

7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษา BAISC หรือ
ภาษา C PASCAL

8. ATMEGA-16 คือ           หัวใจของIPST-MicroBox




9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบทีสาคัญอะไรบ้าง
                           ่
-หน่วยความจา โปรแกรมภายใน 16 Kbytes
-หน่วยความจา RAM lkByte
-ความเร็วในการประมวลผล 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่สัญญาณนาฬิกา 16 เมกะเฮริตซ์
(MHz)
-พอร์ตอินพุตและเอาท์พุต 32 ตาแหน่ง
-วงจรพัลล์วิดธ์มอดูเลเตอร์ 4ช่อง
-ไทเมอร์เคาร์เตอร์ 3ตัว
-การสื่อสารอนุกรม SPI/I2C/USART
-วงจรแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง
-สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง

More Related Content

What's hot

ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์noo Carzy
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Nuntawan Singhakun
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์abdtaehng
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10Minny Doza
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 

What's hot (15)

งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
ใบงาน 3.1 พัชราภรณ์
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
ใบงานที่3.1ชื่อนางสาวธญารินทร์ นาเลาห์
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 

Viewers also liked

แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานSittaphon Phommahala
 
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะ
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะงานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะ
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะM'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1pattie7
 
โครงงานคอม บ (1)
โครงงานคอม บ   (1)โครงงานคอม บ   (1)
โครงงานคอม บ (1)M'Mod Ta Noy
 
temporalizacion
temporalizaciontemporalizacion
temporalizacionGoyi Gomez
 
Temporalizacion
TemporalizacionTemporalizacion
TemporalizacionGoyi Gomez
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานkannikaoilza
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์kullachatt
 
Vancouver Home Design Show, Oct. 16
Vancouver Home Design Show, Oct. 16Vancouver Home Design Show, Oct. 16
Vancouver Home Design Show, Oct. 16pleasantlap5554
 
หน้าปกฃุดที่ 3
หน้าปกฃุดที่ 3หน้าปกฃุดที่ 3
หน้าปกฃุดที่ 3Krutum Boonchob
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
แผนพอเพียง
แผนพอเพียงแผนพอเพียง
แผนพอเพียงkruyaya999
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8'Fixation Tar
 

Viewers also liked (20)

Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงาน
 
sindrome
sindromesindrome
sindrome
 
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะ
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะงานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะ
งานคอม Cfh5ntumy6i,ycนะค ะ
 
Numeros
NumerosNumeros
Numeros
 
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
ใบงานที่ 7 แบบพิมพ์ 7.1
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอม บ (1)
โครงงานคอม บ   (1)โครงงานคอม บ   (1)
โครงงานคอม บ (1)
 
CV
CVCV
CV
 
temporalizacion
temporalizaciontemporalizacion
temporalizacion
 
Temporalizacion
TemporalizacionTemporalizacion
Temporalizacion
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
 
Vancouver Home Design Show, Oct. 16
Vancouver Home Design Show, Oct. 16Vancouver Home Design Show, Oct. 16
Vancouver Home Design Show, Oct. 16
 
Be bi - VB - SP 3
Be bi - VB - SP 3Be bi - VB - SP 3
Be bi - VB - SP 3
 
Equipo 9
Equipo 9Equipo 9
Equipo 9
 
หน้าปกฃุดที่ 3
หน้าปกฃุดที่ 3หน้าปกฃุดที่ 3
หน้าปกฃุดที่ 3
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
แผนพอเพียง
แผนพอเพียงแผนพอเพียง
แผนพอเพียง
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 

Similar to ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8

ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSuriyawut Threecai
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22Ya-Saranya Phanomai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 

Similar to ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8 (20)

งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 

More from Korakot Kaevwichian

กรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรกรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรKorakot Kaevwichian
 
ภาษา+Fort...pdfกรกช
ภาษา+Fort...pdfกรกชภาษา+Fort...pdfกรกช
ภาษา+Fort...pdfกรกชKorakot Kaevwichian
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8Korakot Kaevwichian
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 

More from Korakot Kaevwichian (7)

กรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรกรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียร
 
ภาษา+Fort...pdfกรกช
ภาษา+Fort...pdfกรกชภาษา+Fort...pdfกรกช
ภาษา+Fort...pdfกรกช
 
น.ส.ศุภิส..
น.ส.ศุภิส..น.ส.ศุภิส..
น.ส.ศุภิส..
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 

ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8

  • 1. ใบงานที่ 3.1 ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์ จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1. ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึง กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอาซีพียู, หน่วยความจา และ พอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการ บรรจุเข้าไว้ในตัวถังเดียวกัน 2. ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) 2. หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้ สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory) เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มไฟเลี้ยง ี อีกส่วนหนึ่งคือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดใน การคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป แต่สาหรับไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งที่เป็น หน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็นอีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูล ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
  • 2. 3. ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ตเอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้ ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่าง พอร์ตอินพุต เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและ ส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพือแสดงผลเช่น การติดสว่างของหลอดไฟ เป็นต้น ่ 4. ช่องทางเดินของสัญญาณ หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล ระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ จานวนมาก อยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสควบคุม (Control Bus) 5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็นส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึ้นอยู่กบการกาหนด ั จังหวะ หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้น ส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการประมวลผลสูงตามไปด้วย 3. บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ intel มีชื่อเรียกว่า MPU 4004 (MCS-4) 4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลใน รูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางานเช่นใด ประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อ กาหนดการทางานในแบบต่างๆ ส่วนอัตราการประมวลนั้นขึ้นอยู่กบความถี่สัญญาณ ั นาฬิกาที่ป้อนให้
  • 3. 5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ ในการผลิต นาฬิกา แอร์ หุ่นยนต์ เมาส์ 6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษา แอสเซมบลี 7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษา BAISC หรือ ภาษา C PASCAL 8. ATMEGA-16 คือ หัวใจของIPST-MicroBox 9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบทีสาคัญอะไรบ้าง ่ -หน่วยความจา โปรแกรมภายใน 16 Kbytes -หน่วยความจา RAM lkByte -ความเร็วในการประมวลผล 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ที่สัญญาณนาฬิกา 16 เมกะเฮริตซ์ (MHz) -พอร์ตอินพุตและเอาท์พุต 32 ตาแหน่ง -วงจรพัลล์วิดธ์มอดูเลเตอร์ 4ช่อง -ไทเมอร์เคาร์เตอร์ 3ตัว -การสื่อสารอนุกรม SPI/I2C/USART
  • 4. -วงจรแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง -สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง