SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ใบงานที่ 3.1
                                          ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์

จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้

1.ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง
ตอบ อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอา
ซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ใน
ตัวถังเดียวกัน

2.ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ
ตอบ 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)
2.หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory)
เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตงโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มีไฟเลี้ยง อีกส่วนหนึ่ง
                                                ั้
คือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะ
ทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป แต่สาหรับ
ไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งทีเ่ ป็นหน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็น
อีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
3.ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ต
เอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่างพอร์ตอินพุต
เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพื่อแสดงผลเช่น การติดสว่างของ
หลอดไฟ เป็นต้น                                                                              4.ช่องทางเดินของสัญญาณ
หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ
จานวนมากอยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสควบคุม
(Control Bus)                                                                5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็น
ส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึนอยู่กับการกาหนดจังหวะ
                                                                                               ้
หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้นส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการ
ประมวลผลสูงตามไปด้วย

3.บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ. อิมเทล
มีชื่อเรียกว่า MPU 404 (MCS-4)
4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางาน
เช่นใด
ตอบ ประมวลผลในรูปแบบสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อกาหนดการทางานในแบบต่างๆส่วนอัตราการ
ประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กบความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้
                     ั
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต
ตอบ
6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษาซี

8. ATMEGA-16 คือ
ตอบ ATmega16 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สมรรถนะสูงที่ใช้สถาปัตยกรรม AVR แบบ 8 บิตของบริษัท Atmel ซึ่งเป็น
สถาปัตยกรรมแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ที่ถูกออกแบบมาให้โปรแกรมมีขนาดเล็ก ใช้เนื้อทีใน
                                                                                                    ่
หน่วยความจาน้อยและกินไฟต่าไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้ทาหน้าที่เป็น

9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง
หน่วยความจาภายใน 16 kByte
หน่วยความจา RAM 1 kByte
ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ทีคริสตอล 16 MHz
                                           ่
พอร์ดอินพูดเอาต์พูด 32 ตาแหน่ง
วงจรพัลส์วิดธ์มาดูเลเตอร์ 4 ช่อง
ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว
การสื่อสารอนุกรม spi/i2c/usart
วงจรแปรงสัญญาณอะ
นาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง
สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง




นางสาว ศิริพร โมกศิริ
เลขที่ 9

More Related Content

What's hot

ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5Korakot Kaevwichian
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
Test
TestTest
Test30017
 
Evnt
EvntEvnt
Evnt30017
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 

What's hot (13)

ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Test
TestTest
Test
 
Evnt
EvntEvnt
Evnt
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

2011020
20110202011020
2011020mcab95
 
Democracia participativa y protagonica
Democracia participativa y protagonicaDemocracia participativa y protagonica
Democracia participativa y protagonicacompi_82
 
Prueba historia tercer año
Prueba historia tercer añoPrueba historia tercer año
Prueba historia tercer añoRayo Duarte
 
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit Scrum
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit ScrumEin Softwareprojekt zum Festpreis mit Scrum
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit ScrumJoscha Jenni
 
LMT Nuclear Experience Hours
LMT Nuclear Experience HoursLMT Nuclear Experience Hours
LMT Nuclear Experience HoursAnne Rossborough
 
The Business Challenge 10 1 12 with Drip
The Business Challenge 10 1 12 with DripThe Business Challenge 10 1 12 with Drip
The Business Challenge 10 1 12 with DripJared Wojcikowski
 
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3x
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3xFicha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3x
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3xSónia Carreira
 
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADOR
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADORTÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADOR
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADORInvierto En Niñez
 
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...Invierto En Niñez
 
Salmong Tugunan 23
Salmong Tugunan 23Salmong Tugunan 23
Salmong Tugunan 23Alan Caceres
 
Ejercicios divisibilidad 2
Ejercicios divisibilidad 2Ejercicios divisibilidad 2
Ejercicios divisibilidad 2MIGJORN
 
chuci
chucichuci
chucizm165
 
Work cited
Work citedWork cited
Work citedAaronx49
 
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...Wiwi Uni Mainz
 

Viewers also liked (20)

2011020
20110202011020
2011020
 
Diablada subir
Diablada subirDiablada subir
Diablada subir
 
Democracia participativa y protagonica
Democracia participativa y protagonicaDemocracia participativa y protagonica
Democracia participativa y protagonica
 
Prueba historia tercer año
Prueba historia tercer añoPrueba historia tercer año
Prueba historia tercer año
 
Nov. 4
Nov. 4Nov. 4
Nov. 4
 
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit Scrum
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit ScrumEin Softwareprojekt zum Festpreis mit Scrum
Ein Softwareprojekt zum Festpreis mit Scrum
 
trewq32
trewq32trewq32
trewq32
 
LMT Nuclear Experience Hours
LMT Nuclear Experience HoursLMT Nuclear Experience Hours
LMT Nuclear Experience Hours
 
The Business Challenge 10 1 12 with Drip
The Business Challenge 10 1 12 with DripThe Business Challenge 10 1 12 with Drip
The Business Challenge 10 1 12 with Drip
 
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3x
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3xFicha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3x
Ficha de trabalho equações 2ºgrau completas nº3x
 
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADOR
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADORTÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADOR
TÉCNICA/O AUXILIAR DE CAMPO (TÉCNICA/O DE SEGUIMIENTO) EL SALVADOR
 
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...
OFERTA LABORAL - ADJUNTO/A A COORDINADORA REGIONAL DE DERECHOS DE LA INFANCIA...
 
Salmong Tugunan 23
Salmong Tugunan 23Salmong Tugunan 23
Salmong Tugunan 23
 
Il dono del piccolo angelo
Il dono del piccolo angeloIl dono del piccolo angelo
Il dono del piccolo angelo
 
ganamores
ganamoresganamores
ganamores
 
Ejercicios divisibilidad 2
Ejercicios divisibilidad 2Ejercicios divisibilidad 2
Ejercicios divisibilidad 2
 
chuci
chucichuci
chuci
 
cHiisteE
cHiisteEcHiisteE
cHiisteE
 
Work cited
Work citedWork cited
Work cited
 
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...
Die Alumnis der Gemeinschaft der Wirtschaftswissenschaftler der Uni Mainz arb...
 

Similar to ใบงาน 3.1 ศิริพร

ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSuriyawut Threecai
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Ubonwan Tupsai
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30Nuntawan Singhakun
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16Nuntawan Singhakun
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22Ya-Saranya Phanomai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัยSuriyawut Threecai
 
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
ใบงานท   11 แผ_นพ_บใบงานท   11 แผ_นพ_บ
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ08048355633
 

Similar to ใบงาน 3.1 ศิริพร (20)

ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ  เลขที่  30
ใบงาน 3.1 นางสาวอุบลวรรณ เลขที่ 30
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา  ภาโนมัย   เลขที่ 22
ใบงานที่3 น.ส.ศรัณญา ภาโนมัย เลขที่ 22
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
สุริยาวุธ ตรีชัย
สุริยาวุธ  ตรีชัยสุริยาวุธ  ตรีชัย
สุริยาวุธ ตรีชัย
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Basic of Microcontroller
Basic of MicrocontrollerBasic of Microcontroller
Basic of Microcontroller
 
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
ใบงานท   11 แผ_นพ_บใบงานท   11 แผ_นพ_บ
ใบงานท 11 แผ_นพ_บ
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
 

More from Siriporn Narak

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 

More from Siriporn Narak (7)

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 

ใบงาน 3.1 ศิริพร

  • 1. ใบงานที่ 3.1 ส่วนประกอบไมโครคอนโทรลเลอร์ จงศึกษาและตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1.ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Microcontroller หมายถึง ตอบ อุปกรณ์ควบคุมขนาดเล็ก ซึ่งบรรจุความสามารถที่คล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์ โดยในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวมเอา ซีพียู, หน่วยความจา และพอร์ต ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน โดยทาการบรรจุเข้าไว้ใน ตัวถังเดียวกัน 2.ส่วนประกอบของไมโครคอนโทรลเลอร์ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน คือ ตอบ 1. หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) 2.หน่วยความจา (Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาที่มีไว้สาหรับเก็บโปรแกรมหลัก (Program Memory) เปรียบเสมือนฮาร์ดดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตงโต๊ะ คือข้อมูลใดๆ ที่ถูกเก็บไว้ในนี้จะไม่สูญหายไปแม้ไม่มีไฟเลี้ยง อีกส่วนหนึ่ง ั้ คือหน่วยความจาข้อมูล (Data Memory) ใช้เป็นเหมือนกกระดาษทดในการคานวณของซีพียู และเป็นที่พักข้อมูลชั่วคราวขณะ ทางาน แต่หากไม่มีไฟเลี้ยง ข้อมูลก็จะหายไปคล้ายกับหน่วยความแรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไป แต่สาหรับ ไมโครคอนโทรลเลอร์สมัยใหม่ หน่วยความจาข้อมูลจะมีทั้งทีเ่ ป็นหน่วยความจาแรม ซึ่งข้อมูลจะหายไปเมื่อไม่มีไฟเลี้ยง และเป็น อีอีพรอม (EEPROM : Erasable Electrically Read-Only Mempry) ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง 3.ส่วนติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอก หรือพอร์ต (Port) มี 2 ลักษณะคือ พอร์ตอินพุต (Input Port) และพอร์ตส่งสัญญาณหรือพอร์ต เอาต์พุต (Output Port) ส่วนนี้จะใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก ถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญมาก ใช้ร่วมกันระหว่างพอร์ตอินพุต เพื่อรับสัญญาณ อาจจะด้วยการกดสวิตช์ เพื่อนาไปประมวลผลและส่งไปพอร์ตเอาต์พุต เพื่อแสดงผลเช่น การติดสว่างของ หลอดไฟ เป็นต้น 4.ช่องทางเดินของสัญญาณ หรือบัส (BUS) คือเส้นทางการแลกเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลระหว่าง ซีพียู หน่วยความจาและพอร์ต เป็นลักษณะของสายสัญญาณ จานวนมากอยู่ภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยแบ่งเป็นบัสข้อมูล (Data Bus) , บัสแอดเดรส (Address Bus) และบัสควบคุม (Control Bus) 5. วงจรกาเนิดสัญญาณนาฬิกา นับเป็น ส่วนประกอบที่สาคัญมากอีกส่วนหนึ่ง เนื่องจากการทางานที่เกิดขึ้นในตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ จะขึนอยู่กับการกาหนดจังหวะ ้ หากสัญญาณนาฬิกามีความถี่สูง จังหวะการทางานก็จะสามารถทาได้ถี่ขึ้นส่งผลให้ไมโครคอนโทรลเลอร์จัวนั้น มีความเร็วในการ ประมวลผลสูงตามไปด้วย 3.บริษัทที่พัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกของโลก คือ. อิมเทล มีชื่อเรียกว่า MPU 404 (MCS-4) 4. การทางานของไมโครคอนโทรลเลอร์ จะประมวลคาสั่งข้อมูลในรูปสัญญาณแบบใด มีลักษณะการทางาน เช่นใด ตอบ ประมวลผลในรูปแบบสัญญาณดิจิตอล มาเทียบกับตารางชุดคาสั่งเพื่อกาหนดการทางานในแบบต่างๆส่วนอัตราการ ประมวลผลนั้นขึ้นอยู่กบความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ป้อนให้ ั
  • 2. 5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่นาเอาอุปกรณ์ชุดไมโครคอนโทรลเลอร์ มาใช้ในการผลิต ตอบ 6. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ติดตัวมากับไมโครคอนโทรลเลอร์ คือภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 7. ภาษาที่ใช้เขียนติดต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้แก่ ภาษาซี 8. ATMEGA-16 คือ ตอบ ATmega16 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สมรรถนะสูงที่ใช้สถาปัตยกรรม AVR แบบ 8 บิตของบริษัท Atmel ซึ่งเป็น สถาปัตยกรรมแบบ RISC (Reduced Instruction Set Computer) ที่ถูกออกแบบมาให้โปรแกรมมีขนาดเล็ก ใช้เนื้อทีใน ่ หน่วยความจาน้อยและกินไฟต่าไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวนี้ทาหน้าที่เป็น 9. ATMEGA-16 มีองค์ประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง หน่วยความจาภายใน 16 kByte หน่วยความจา RAM 1 kByte ทางานด้วยความเร็ว 16 ล้านคาสั่งต่อวินาที ทีคริสตอล 16 MHz ่ พอร์ดอินพูดเอาต์พูด 32 ตาแหน่ง วงจรพัลส์วิดธ์มาดูเลเตอร์ 4 ช่อง ไทเมอร์เคาน์เตอร์ 3 ตัว การสื่อสารอนุกรม spi/i2c/usart วงจรแปรงสัญญาณอะ นาลอกเป็นดิจิตอล 10 บิต 8 ช่อง สามารถโปรแกรมและลบได้นับหมื่นครั้ง นางสาว ศิริพร โมกศิริ เลขที่ 9