SlideShare a Scribd company logo
11
บทที่ 10
การฝึกเป่ าแคนเบื้องต้น
การฝึกเป่าแคนเบื้องต้น ผู้ฝึกจะต้องนาเอาทักษะการเป่าทั้งเป่าผ่อนลมและการเป่าตัดลม(ที่
เคยปฏิบัติมาแล้ว) มาประยุกต์ใช้ร่วมกับการฝึกไล่ระดับเสียง อาจจะเรียงตามลาดับจากระดับเสียงต่า
ไปยังเสียงสูง(ตามบันไดเสียง) หรือตามความเหมาะสมของทานองเพลงก็ได้ข้อสาคัญคือจะต้องเป่า
ทุกระดับเสียงเป็นแบบคู่ 8 เปอร์เฟ็ค และไม่ว่าจะเป็นการเป่าเสียงหรือกลุ่มเสียงใดก็ตาม ผู้เป่าจะต้อง
เป่าลมเข้าหรือดูดลมออก(เป่า-ดูด) ให้เป็นธรรมชาติในการหายใจเข้าและหายใจออกของตนเอง ซึ่ง
หมายความว่า ขณะที่หายใจออกจะเป็นการเป่าลมเข้าไปในรูเป่าของแคน และถ้าหายใจเข้าก็จะเป็น
การดูดลมออกจากรูเป่าของแคน ฉะนั้นทิศทางที่ลมผ่านเข้าออกในรูเป่าจึงขึ้นอยู่กับช่วงของลมหายใจ
ออกหรือหายใจเข้าของผู้เป่าเป็นสาคัญ ผู้เป่าบางคนสามารถเป่าหรือดูดลมออกเป็นช่วงยาวๆ (นานๆ)
ได้ซึ่งจะเป็นผลดีคือทาให้เสียงแคนดังต่อเนื่องกันไม่หยุดหรือขาดช่วง
การฝึกเป่าแคน ควรเริ่มต้นฝึกตามมาตราเสียงเพนทาโทนิค (Pentatonic) 5 ระดับเสียง คือ
โด เร มี ซอล ลา ควรเริ่มฝึกตามทานองเพลงง่ายๆ ก่อน โดยเริ่มที่เสียงลา (ลฺ ล) คู่ 8 ซึ่งเป็นเสียง
หลักของทานองลายใหญ่และเป็นเสียงต่าสุดของแคนแปด ดังแบบฝึกต่อไปนี้
การฝึกเป่ าเสียง ลา คู่ 8 (ลฺ ล)
แพซ้าย แพขวา
ฟํ ซ ฟ ม ร ทฺ ดํ ลฺ ด ซ ล ท รํ มํ
ซํ นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ โป้ ง โป้ ง นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ลํ
8 7 6 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8
แผนภูมิแสดงตําแหน่งเสียง คู่เสียง และการวางนิ้วมือบนลูกแคน
12
วิธีฝึกเป่ าเสียง ลา คู่ 8
1. ฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับ บนลูกแคนแพขวา ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาปิดรูนับลูกที่ 1 และใช้
ปลายนิ้วกลางมือขวาปิดรูนับลูกที่ 4 (ดูภาพประกอบในแผนภูมิ)
2. วิธีเป่า จะเริ่มต้นด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกก็ได้ตามความถนัดของผู้เป่า โดยใช้
นิ้วปิดรูนับเสียง ลฺ ล พร้อมกับเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียงพยัญชนะ “ ด ” ถ้า
เป็นการเป่าเสียงยาวให้ใช้คาว่า “ แด ” หรือ ถ้าต้องการเป่าให้เกิดเป็นเสียงสั้นให้ผันลิ้นหรือใช้ปลาย
ลิ้นปิดกั้นลมเพื่อแบ่งลมเป่าออกเป็นช่วงๆ สั้นๆ คล้ายกับจะเปล่งคาว่า “ แดน ” ควรฝึกใช้นิ้วมือปิดรู
นับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าและดูดลมออก ดังตัวอย่างในแบบฝึกที่ 1-3
แบบฝึกที่ 1 ฝึกเป่าเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) เป็นจังหวะช้าๆ
โน้ต - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล
การปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ต เสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) แล้ว เป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง
พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม
หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ
แบบฝึกที่ 2 ฝึกเป่า เสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) เป็นกระสวนจังหวะ
โน้ต - - - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล - - - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล
การปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ต เสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) แล้วเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง
พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม
หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ ฝึกเป่าตัดลมด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกเป็น
กระสวนจังหวะ โดยเป่าให้เสียงของโน้ตตัวสุดท้ายตรงกับจังหวะตก(เสียงหนัก)
13
แบบฝึกที่ 3 ฝึกเป่าเสียงลา (ลฺ ล) เป็นกระสวนจังหวะเร็วขึ้น
โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล- ล - ล - ล - - - ล - ล - ล ล ล- ล - ล - ล
โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล- ล - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล -ล
โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล- ล - - - ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล
วิธีปฏิบัติ
1. ฝึกร้องโน้ตเสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง
2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) ฝึกเป่าตัดลมโดยเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกเป็นกระสวน
จังหวะให้ถี่ขึ้น ทั้งการเป่าเสียงยาว(คาว่า แด) และลมเสียงสั้น(คาว่า แดน) สลับกันไปตามระดับเสียง
ในแต่ละห้องเพลง ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงจังหวะสั้นๆ ต่อเนื่องกันตลอดช่วงลมหายใจทั้งหายใจเข้า
และหายใจออกอย่างเป็นธรรมชาติ
ข้อสังเกต
1. การเป่าตัดลม โดยใช้ปลายลิ้นแบ่งลมเป่าให้มีความสั้นยาวต่างๆ กันในแต่ละ
จังหวะย่อยของห้องเพลงจะทาให้เกิดเสียงหนัก-เบาและอารมณ์เพลงในลักษณะที่แตกต่างกันออกไป
ตามจุดประสงค์ของผู้เป่า
2.แบบฝึกดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางการฝีกหัดเท่านั้น ผู้ฝึกเป่าสามารถ
กาหนดรูปแบบเองได้ที่สาคัญคือพยายามฝึกปิดรูนับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกตาม
ลมหายใจอย่างเป็นธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
Green Greenz
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
chutiwutchom
 
Intro outro innie inner
Intro outro innie innerIntro outro innie inner
Intro outro innie inner
Aj Muu
 
ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษาที่ปรึกษา
ที่ปรึกษาfayjaa
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
อภิญญา คำเหลือ
 

What's hot (8)

ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
Intro outro innie inner
Intro outro innie innerIntro outro innie inner
Intro outro innie inner
 
ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษาที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
 

More from วีรชัย มาตรหลุบเลา

09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 
02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน
วีรชัย มาตรหลุบเลา
 

More from วีรชัย มาตรหลุบเลา (6)

09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน06 ตำแหน่งของเสียงแคน
06 ตำแหน่งของเสียงแคน
 
05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน05 การจับถือแคน
05 การจับถือแคน
 
04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน04 การเก๊บรักษาแคน
04 การเก๊บรักษาแคน
 
03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน03 การเลือกซื้อแคน
03 การเลือกซื้อแคน
 
02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน02 ส่วนประกอบของแคน
02 ส่วนประกอบของแคน
 

10 การฝึกเป่าเสียงลา

  • 1. 11 บทที่ 10 การฝึกเป่ าแคนเบื้องต้น การฝึกเป่าแคนเบื้องต้น ผู้ฝึกจะต้องนาเอาทักษะการเป่าทั้งเป่าผ่อนลมและการเป่าตัดลม(ที่ เคยปฏิบัติมาแล้ว) มาประยุกต์ใช้ร่วมกับการฝึกไล่ระดับเสียง อาจจะเรียงตามลาดับจากระดับเสียงต่า ไปยังเสียงสูง(ตามบันไดเสียง) หรือตามความเหมาะสมของทานองเพลงก็ได้ข้อสาคัญคือจะต้องเป่า ทุกระดับเสียงเป็นแบบคู่ 8 เปอร์เฟ็ค และไม่ว่าจะเป็นการเป่าเสียงหรือกลุ่มเสียงใดก็ตาม ผู้เป่าจะต้อง เป่าลมเข้าหรือดูดลมออก(เป่า-ดูด) ให้เป็นธรรมชาติในการหายใจเข้าและหายใจออกของตนเอง ซึ่ง หมายความว่า ขณะที่หายใจออกจะเป็นการเป่าลมเข้าไปในรูเป่าของแคน และถ้าหายใจเข้าก็จะเป็น การดูดลมออกจากรูเป่าของแคน ฉะนั้นทิศทางที่ลมผ่านเข้าออกในรูเป่าจึงขึ้นอยู่กับช่วงของลมหายใจ ออกหรือหายใจเข้าของผู้เป่าเป็นสาคัญ ผู้เป่าบางคนสามารถเป่าหรือดูดลมออกเป็นช่วงยาวๆ (นานๆ) ได้ซึ่งจะเป็นผลดีคือทาให้เสียงแคนดังต่อเนื่องกันไม่หยุดหรือขาดช่วง การฝึกเป่าแคน ควรเริ่มต้นฝึกตามมาตราเสียงเพนทาโทนิค (Pentatonic) 5 ระดับเสียง คือ โด เร มี ซอล ลา ควรเริ่มฝึกตามทานองเพลงง่ายๆ ก่อน โดยเริ่มที่เสียงลา (ลฺ ล) คู่ 8 ซึ่งเป็นเสียง หลักของทานองลายใหญ่และเป็นเสียงต่าสุดของแคนแปด ดังแบบฝึกต่อไปนี้ การฝึกเป่ าเสียง ลา คู่ 8 (ลฺ ล) แพซ้าย แพขวา ฟํ ซ ฟ ม ร ทฺ ดํ ลฺ ด ซ ล ท รํ มํ ซํ นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ โป้ ง โป้ ง นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง ลํ 8 7 6 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 แผนภูมิแสดงตําแหน่งเสียง คู่เสียง และการวางนิ้วมือบนลูกแคน
  • 2. 12 วิธีฝึกเป่ าเสียง ลา คู่ 8 1. ฝึกใช้นิ้วมือปิดรูนับ บนลูกแคนแพขวา ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาปิดรูนับลูกที่ 1 และใช้ ปลายนิ้วกลางมือขวาปิดรูนับลูกที่ 4 (ดูภาพประกอบในแผนภูมิ) 2. วิธีเป่า จะเริ่มต้นด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกก็ได้ตามความถนัดของผู้เป่า โดยใช้ นิ้วปิดรูนับเสียง ลฺ ล พร้อมกับเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียงพยัญชนะ “ ด ” ถ้า เป็นการเป่าเสียงยาวให้ใช้คาว่า “ แด ” หรือ ถ้าต้องการเป่าให้เกิดเป็นเสียงสั้นให้ผันลิ้นหรือใช้ปลาย ลิ้นปิดกั้นลมเพื่อแบ่งลมเป่าออกเป็นช่วงๆ สั้นๆ คล้ายกับจะเปล่งคาว่า “ แดน ” ควรฝึกใช้นิ้วมือปิดรู นับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าและดูดลมออก ดังตัวอย่างในแบบฝึกที่ 1-3 แบบฝึกที่ 1 ฝึกเป่าเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) เป็นจังหวะช้าๆ โน้ต - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล - - - ล การปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ต เสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) แล้ว เป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ แบบฝึกที่ 2 ฝึกเป่า เสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) เป็นกระสวนจังหวะ โน้ต - - - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล - - - ล - ล - ล - ล - ล - ล - ล การปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ต เสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) แล้วเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกคล้ายกับจะเปล่งเสียง พยัญชนะ “ ด ” ด้วยคาว่า “ แด ” หรือ “ แดน ” ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงสั้นๆ ต่อเนื่องกันตามช่วงลม หายใจออก และหายใจเข้าอย่างเป็นธรรมชาติ ฝึกเป่าตัดลมด้วยการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกเป็น กระสวนจังหวะ โดยเป่าให้เสียงของโน้ตตัวสุดท้ายตรงกับจังหวะตก(เสียงหนัก)
  • 3. 13 แบบฝึกที่ 3 ฝึกเป่าเสียงลา (ลฺ ล) เป็นกระสวนจังหวะเร็วขึ้น โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล- ล - ล - ล - - - ล - ล - ล ล ล- ล - ล - ล โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล- ล - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล -ล โน้ต - - - ล - ล - ล ล ล -ล ล ล- ล - - - ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล ล วิธีปฏิบัติ 1. ฝึกร้องโน้ตเสียง ลา พร้อมเคาะจังหวะให้ถูกต้อง 2. ปิดรูนับเสียงลา คู่ 8 (ลฺ ล) ฝึกเป่าตัดลมโดยเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกเป็นกระสวน จังหวะให้ถี่ขึ้น ทั้งการเป่าเสียงยาว(คาว่า แด) และลมเสียงสั้น(คาว่า แดน) สลับกันไปตามระดับเสียง ในแต่ละห้องเพลง ฝึกเป่าตัดลมเป็นช่วงจังหวะสั้นๆ ต่อเนื่องกันตลอดช่วงลมหายใจทั้งหายใจเข้า และหายใจออกอย่างเป็นธรรมชาติ ข้อสังเกต 1. การเป่าตัดลม โดยใช้ปลายลิ้นแบ่งลมเป่าให้มีความสั้นยาวต่างๆ กันในแต่ละ จังหวะย่อยของห้องเพลงจะทาให้เกิดเสียงหนัก-เบาและอารมณ์เพลงในลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ตามจุดประสงค์ของผู้เป่า 2.แบบฝึกดังกล่าวเป็นเพียงตัวอย่างหรือแนวทางการฝีกหัดเท่านั้น ผู้ฝึกเป่าสามารถ กาหนดรูปแบบเองได้ที่สาคัญคือพยายามฝึกปิดรูนับให้สัมพันธ์กับการเป่าลมเข้าหรือดูดลมออกตาม ลมหายใจอย่างเป็นธรรมชาติ