SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
การศึกษา เรื่องผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
นายณัฐวัชร ไชยวรรณ เลขที่ 10
นายพีรพัฒน์ ชูโชติ เลขที่ 11
นายพีรพัฒน์ เทียรสิวา เลขที่ 12
นายวสุธัญ เรืองโชติ เลขที่ 13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/16
การศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
การศึกษา เรื่องผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
นายณัฐวัชร ไชยวรรณ เลขที่ 10
นายพีรพัฒน์ ชูโชติ เลขที่ 11
นายพีรพัฒน์ เทียรสิวา เลขที่ 12
นายวสุธัญ เรืองโชติ เลขที่ 13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/16
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง
การศึกษา การทาผ้ามัดย้อมจากดอกอัญชัน
คณะผู้จัดทา ณัฐวัชร ไชยวรรณ
พีรพัฒน์ ชูโชติ
พีรพัฒน์ เทียรสิวา
วสุธัญ เรืองโชติ
อาจารย์ที่ปรึกษา นางกานดา ยนตรการกาจร
นายนพพร มีชีพสม
โรงเรียน ธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม
ปีการศึกษา 2566
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง การย้อมผ้าจากดอกอัญชัน เป็นการนาดอกอัญชัน สามารถนาดอกอัญชันทา
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไม่ก่อให้เกิดมลพิษ มีสีสันที่สดใสสวยงาม และผ้าที่ได้ก็ไม่เป็น
อันตรายต่อร่างกายเวลาสวมใส่ วัตถุประสงค์ที่จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ประโยชน์
โดยการย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดที่ปราศจากสารเคมีที่เป็นอันตราย ให้รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
กิตติกรรมประกาศ
รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอินสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลาย ท่านซึ่งไม่
อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด
ซึ่งผู้มีพระคุณคือ คุณกานดา ยนตรการกาจร และ คุณนพพร มีชีพสม ครูผู้สอนที่ให้ความรู้ คาแนะนา
ตรวจทานและแก้ไขข้อบพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอนเพื่อให้การเขียนรายงาน การศึกษาการ
ค้นคว้าอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุดและให้คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ เทคนิคการนาเสนอ
รายงานปากเปล่าคณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบขอบระคุณเป็นอย่างสูงไว ณ โอกาสนี้
และขอบคุณนักเรียนห้องเรียนคุณภาพระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน ธรรมศาสตร์คลอง
หลวงวิทยาคมที่ช่วยให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการสืบค้น ข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด
และให้กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา
ขอขอบพระคุณคุณพ่อและคุณแม่ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จที่ได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนและ
ให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญของปัญหาไม่พบรายการสารบัญภาพ 1
วัตถุประสงค์ 1
สมมติฐาน 1
ขอบเขตการศึกษา 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2
ประวัติของผ้ามัดย้อม 2
วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม 2
การออกแบบผ้ามัดย้อม 2
วิธีการย้อม 3
คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม 3
แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม 3
สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ 4
ประวัติและสรรพคุณของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้า 5
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 24
เครื่องมือ 24
วัตถุดิบที่ใช้ 24
ขั้นตอนในการทา 24
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา 24
ขั้นตอนการทาโลโก้ 24
บทที่ 4 ผลการทดลอง 25
บทที่ 5 สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 27
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 27
สมมุตติฐานของการศึกษา 27
การวิเคราะห์ข้อมูล 28
สรุปผลการศึกษา 29
บรรณานุกรม
บทที่ 1
บทนา
1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา
เนื่องจากในปัจจุบันสีที่ใช้ย้อมเสื้อผ้านั้นมักทามาจากสารเคมี มีราคาสูง และสารเคมีที่ใช้อาจม
อันตรายต่อร่างกาย ของเราได้ การย้อมสีผ้าด้วยสีธรรมชาติเป็นทางเลือกที่ดี และนับเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอ
ดันมาแต่ในอดีต โดยกระบวนการย้อมสามารถหาสีย้อมได้จากวัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเศษวัสดุ
เหลือใช้ มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งยังนาของที่เหลือใช้มาสร้างมูลค่าเพิ่ม
เสื้อ ผ้าที่เราสวมใส่กันอยู่เป็นประจาสวยเด่นนาแฟชั่นเพียงใดหลายคนทราบดี แต่สาหรับขั้นตอนการ
ผลิตนั้นคงยากที่ใครจะสนใจว่าปลอดภัย จากสารพิษหรือไม่และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพราะถือ
เป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้วมันใกล้ปากเราเพียงนิดเดียว เนื่องจากมีการใช้สารพิษในกระบวนการผลิตที่มี
ผลกระทบต่อแหล่งน้าและอาหารของ มนุษย์ ซึ่งในอนาคตหากไม่มีการป้องกันจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั่ว
โลก
ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญของการใช้สีย้อมผ้าจากเศษวัสดุจากธรรมชาติแทนการใช้สี
ย้อมผ้าจากสารเคมี ทั้งนี้จึงเลือกใช้เศษวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกมังคุด ซึ่งมังคุดได้ชื่อว่าเป็น
ราชินีผลไม้ประจา จังหวัดจันทบุรี เปลือกมังคุดจึงหาได้ง่ายในท้องถิ่น อีกทั้งคณะผู้จัดทายังค้นคว้าสีย้อมอื่นๆ
เพิ่มเติมดังนี้ ดอกอัญชันแห้ง ดอกดาวเรือง ดอกอัญชันแห้ง มังคุด หอมหัวใหญ่ กล้วย ขมิ้น ขี้เหล็กบ้าน ซึ่ง
เป็นวัสดุเหลือใช้ที่หาได้ง่ายในครัวเรือน ให้สีที่ติดทน เป็นการเพิ่มมูลค่าให้วัสดุเหลือใช้ ยังเป็นการประหยัด
ค่าใช้จ่ายด้วย
2 วัตถุประสงค์
ศึกษาสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติทาปฏิกิริยากับสารช่วยสีติดชนิดใดได้สีที่สวยที่สุด
3 สมมติฐาน
การย้อมผ้าจากธรรมชาติ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์
การย้อมผ้าจากธรรมชาติ สามารถสร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าทอ
การย้อมผ้าจากธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4 ขอบเขตการศึกษา
4.1 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นม 5 โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง
วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จานวน 808 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นม 5 ห้อง 16โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง
วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จานวน 40 คน
4.2 ขอบเขตด้านสถานที่
โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม
4.3 ขอบเขตเนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา
เนื้อหาที่ใช้ในกาศึกษาเป็นเนื้อหาที่เลือกจากปัญหาที่ผมในสารเคมีในผ้ามัดย้อมที่ส่งผลต่อ
การแพ้
4.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา
ทาโครงงานในช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2566
5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 ได้ผลิตภัณฑ์สีย้อมผ้าจากธรรมชาติที่มีสีสันสวยงาม
6.2 เป็นการนาเศษวัสดุเหลือใช้ที่ได้จากธรรมชาติในท้องถิ่น มาเพิ่มมูลค่า
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารและการวิจัยที่งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีหัวข้อดังต่อไปนี้
1 ประวัติของผ้ามัดย้อม
2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม
3 การออกแบบผ้ามัดย้อม
4 วิธีการย้อม
5 คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม
6 แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม
7 สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ
8 ประวัติและสรรพคุณของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้า
1 ประวัติของผ้ามัดย้อม
การทาผ้ามัดย้อมอาจเริ่มเกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจของคนสมัยโบราณ โดยนักมนุษยวิทยาสันนิษฐานว่า อาจ
มี แนวความคิดมาจากการฟอกสีออกด้วยแสงอาทิตย์โดยบังเอิญ ซึ่งหลักฐานความรู้ที่พอจะเชื่อถือได้แสดงให้
เห็นว่า ประเทศในยุคแรก ๆ ที่มีการมัดย้อมผ้า คือ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และแอฟริกาที่มีความคุ้นเคย
กับเทคนิคการใช้ สีย้อมที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ในประเทศอินเดีย ผ้ามัดย้อมจะเป็นที่รู้จักกันในชนบท
สมัยก่อน ซึ่งพบหลักฐานจาก เศษผ้าเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ ปีก่อน สะท้อนให้เห็นถึงความรู้และประสบการณ์ใน
การใช้สีย้อม เช่น สาหรี เป็นต้น หรือ ชนเผ่ายิบซีที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ก็ปรากฏให้เห็นศิลปะ
ของการมัดย้อมผ่านเครื่องแต่งกายในปัจจุบัน ส่วนในบาหลี ประเทศอินโดนีเซียก็มีศิลปะของการมัดย้อม
เช่นเดียวกัน โดยจะเรียกการมัดย้อมนี้ว่า เปลังกิ เป็นต้น
2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม
1.ผ้า
2.สบู่
3.ดอกอัญชัน
4.หม้อสแตนเลส
5.ไม้พาย
6.เตาแก๊ส
7.กะละมัง
3.การออกแบบผ้ามัดย้อม
การออกแบบลายผ้าโดยการพับจีบแล้วมัดนั้นเป็นเทคนิคที่กว้าง มีอิสระในการออกแบบลวดลายและ
วิธีมีดได้หลายอย่าง ทั้งนี้เนื่องจากหัวใจหลักของการพับจีบแล้วมัด คือ “การหาวิธีให้ผ้าได้สัมผัสสีโดยทั่วถึง
เฉพาะบริเวณภายนอกที่ไม่ได้กันสีหรือมัด” ดังนั้น การจะพับเป็นจีบ การมัดผ้า การนาเอาวัสดุอื่นเข้าไปใน
ผืนผ้าแล้วมัดให้เป็นจีบ ยังเป็นวิธีการที่ให้ผ้าสัมผัสได้น้าสี และไม่ซึมเข้าในขอบเขตที่ได้มัดไว้รูปร่างของ
ลวดลายจะเกิดจากรอยพับจีบมัด และรอยพับจีบของผ้าที่ห่อห้อมวัสดุอื่น หรือรอยอันเกิดจากการมัด
ลวดลายจากการมัดย้อมเกิดจากการ ผูก มัด เย็บ หนีบ หรือ การสกัดสี ในส่วนใดส่วนหนึ่งของผ้าที่ผู้ย้อมไม่
ต้องการให้เกิดสีที่จะย้อมในครั้งนั้น โดยใช้วัสดุต่าง เช่น ยางรัด เชือก เหรียญ เชือกฝาง ไม้หนีบ ด้าย หรือ
ถุงพลาสติก มาเป็น วัสดุช่วยในการกัดสี ร่วมกับการม้วน พับ จับ จีบ ขยาย หรือการเย็บผ้า ซึ่งจะให้ผลลัพธ์
ของลายที่แตกต่างกันออกไปที้งนี้ขึ้นอยู่ กับวิธีการในการออกแบบสีและการผสมผสานเทคนิคต่างเข้าไป
ด้วยกันของผู้ย้อม
4 วิธีการย้อม
วิธีการย้อมสีมีวิธีการย้อมด้วยกัน 3 วิธี
1. การย้อมแบบจุ่ม ต้องเอาผ้าที่ต้องการย้อมจุ่มลงในน้าย้อมที่มีตัวสีย้อมและสารช่วยย้อมละลาย
รวมกันมีความเข้มข้นที่เหมาะสม ผ้าที่ย้อมจะเคลื่อนไปไหวโดยกระบวนการเชิงกล หรือในทางกลับกันน้าจะ
ไหลเวียนโดยผ้านั้นหยุดนิ่ง กล่าวคือน้าเคลื่อนที่หรือผ้าเคลื่อนที่มีจุดมุ่งหมายให้ย้อมผ้าได้พอดีสีติดอย่าง
สม่าเสมอ
2. ย้อมแบบต่อเนื่องเป็นวิธีย้อมสีโดยผ้าผ่านมาจากเครื่องย้อมที่ทาหน้าที่อย่างหนึ่งไปสู่เครื่องย้อมที่
ทาหน้าที่อีกอย่างหนึ่งจนกว่าจะย้อมเสร็จ เริ่มจากการผ่านผ้าลงจุ่มในน้าสีส่งไปบีบเอาน้าออกให้เหลือเพียง
เท่าที่ต้องการ ส่งไปทาให้สีรวมตัวและทาให้ติดผ้า
3. ย้อมด้วยการระบายสีหรือพิมพ์สีลงบนผืนผ้าให้เนื้อสีซึมติดเส้นใยผ้าจากด้านบนลงล่าง สีจะซึมลง
ในเน้อผ้าทั้งสองด้านการระบายซ้าจึงทาให้สีติดเส้นใยเข้มและแน่น ส่วนการพิมพ์ผ้าสีติดผ้าเฉพาะด้านหลัง
เท่านั้น
5 คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม
คุณลักษณะของผ้าหรือเส้นใยผ้าแต่ละชนิดที่ทนต่อสภาพการณ์บางอย่างแตกต่างกัน การดูดซึมสี
แตกต่างกันรวมทั้งมีลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงมีความสาคัญที่ผู้บริโภคควรรู้ชนิดของเส้นใยผ้าที่
แตกต่างกันย้อมมีผลทาให้คุณสมบัติของผ้าแตกต่างกัน คุณสมบัตินี้บางทีทาให้ผ้าน่าใช้ดูแลง่ายสามารถนามา
ตกแต่งแปรรูป ย้อมสีเขียนลวดลาย และเลือกสีใช้ได้เหมาะสม
6 แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม
เทคนิคการใช้ผ้ามาผูกแล้วย้อมสี หรือการมัดย้อมนี้มีที่ใช้อย่างไม่จากัดแบะเพิ่งมีการสนใจอย่าง
จริงจัง ศิลปินได้พยายามผสมผสานวิธการต่าง ๆ เพื่อให้ได้รูปแบบต่าง ๆ ในมิติใหม่ ๆ นอกเหนือไปจากรูปแบบ
ที่ทาได้อยู่เดิม สิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับจินตนาการความหลักแหลมและความสามารถในการออกแบบของแต่ละคน
ว่าสามารถทาได้แปลกใหม่แค่ไหน การเย็บและสอยมักจะเป็นวิธีการที่ไปด้วยกันกับเทคนิคการทาผ้ามัดย้อม
โดยธรรมชาติอยู่แล้ว หลังจากที่แก้ที่ผูกออก ผ้าจะยังคงมีรอยยับเพราะการบิดของเนื้อผ้าศิลปินมากคนได้
ออกแบบอย่างอย่างฉลาดได้โดยการใช้ด้ายและเข็มเย็บบริเวณที่เป็นรอยผูก เป็นการจัดแบบให้มีพื้นผิวนูน
7.สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ
สีที่ได้จากธรรมชาติ เป็นความรู้ดั่งเดิมที่สืบทอดกันมาจากปู่ย่าตายาย แหล่งวัตถุดิบสีธรรมชาติยัง
สามารถหาได้จากต้นไม้ ใบไม้ ที่ให้สีสันสวยงามตามที่เราต้องการและหาได้ไม่ยาก ซึ่งปัจจุบันมีกาส่งเสริมให้ใช้
วัสดุจากธรรมชาติกันมากขึ้น เพราะผลิตภัณฑ์ที่ได้จากธรรมชาติจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก และ
กรรมวิธีผลิตที่แตกต่างกัน ทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความสวยงามและหลากหลาย
1 การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา
เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ นาไปต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถั่ว
แปบเอาแต่น้าใสเติมลงไปใส่น้ามะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและใบส้มป่อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรอง
ให้เหลือแต่น้าสีพร้อมที่จะย้อม นาเอาน้าย้อมตั้งไฟพออุ่น นาด้ายฝ้ายซึ่งซุบน้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม
ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซักน้าสะอาดใส่ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สี
เขียวตามต้องการ
2 การย้อมสีดาจากเปลือกสมอ
ให้เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งจนงวดพอสมควร รินเอาแต่น้าใส่หม้อดิน เอาด้ายฝ้ายที่เตรียม
ไว้ลงย้อมขณะที่น้าสียังร้อนอยู่ จะได้สีดาแกมเขียวเข้ม ถ้าต้องการได้สีเขียว ใช้ด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมสี
ครามมาย้อมจะได้สีเขียวตามต้องการ
3 การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่น้าใส่หม้อดิน เอา
ด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในน้าสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ชั่วโมง
หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่าเสมอ พอได้สีตามต้องการยกด้ายฝ้ายขึ้นกระตุก ตากให้แห้ง
จะได้สีเขียวตามต้องการ
4 การย้อมสีจากเปลือกรกฟ้า
โดยการแช่เปลือกต้นรกฟ้าในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วันแล้วตั้งไฟต้ม ให้เดือด จนเห็นว่าสีออก
หมดดีแล้ว จึงเทน้าย้อมใส่ลงในอ่างย้อมหมักแช่ไว้ 1 คืน นาเอาเปลือกไม้ผึ่งแดด จนแห้ง เก็บไว้ใช้ต่อไป
สีเปลือกไม้นี้ถ้าถูกต้มจะกลายเป็นสีดาได้
5 การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน
เอาเปลือกเพกาสด ๆ มาล้างน้า ผึ่งแดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือไสให้เป็นชิ้น
บาง ๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือกเพกา 3 ส่วน ต้มเคี่ยวให้น้าเดือดแล้วกรองเอาแต่น้า เวลาย้อม
เติมน้าสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้สีติดดีและทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้าแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อม
หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีติดสม่าเสมอ ไม่ด่าง จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้าให้สะอาดบิดกระตุก ตาก
6 การย้อมสีน้าตาลแก่จากเปลือกไม้โกงกาง
นาเอาเปลือกไม้โกงกางที่แห้งพอหมาด มาล้างน้าให้สะอาด แช่น้าไว้ 1 คืน แล้วต้มเคี่ยวไว้ 2
วัน กรองเอาแต่น้าย้อมใส่สารเคมีไฮโดรเจนซัลไฟต์ ผสมลงในน้าย้อมเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดีขึ้น เอาด้ายฝ้าย
ที่ชุบน้าพอหมาดจุ่มลงในน้าย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้า บิดให้แห้ง กระตุกด้ายฝ้ายให้
กระจาย ตากแดด
7 การย้อมสีเปลือกไม้โกงกาง
แช่เปลือกไม้โกงกางในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้วตั้งไฟต้มให้เดือด จนเห็นว่าสีออกหมดดี
แล้ว จึงเทน้าย้อมใส่ลงใสอ่างย้อม หมักแช่ไว้ 1 คืน นาเอาเปลือกไม้ผึ่งแดดจนแห้งเก็บไว้ใช้ต่อไป สี
เปลือกไม้นี้ถ้าถูกต้มจะกลายเป็นสีดาได้ แต่ทนน้าเค็ม
8 การย้อมสีด้วยรากยอ
เอารากยอแห้งที่มีอายุสักหน่อย เพื่อจะให้ได้สีเข้มมาสับหรือหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นาไปต้มน้าเดือด น้าสี
จะเป็นสีแดงจึงยกลง กรองเอาแต่น้าสี นาเอาด้ายฝ้ายซึ่งเตรียมจะย้อมชุบน้าให้เปลือกพอหมาดลงแช่ในน้าสี
ประมาณ 30 นาที หรือกว่านั้น หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพื่อให้สีติดด้ายฝ้ายอย่างทั่วถึง แล้วนาด้าย
ฝ้ายที่ย้อมขึ้นจากหม้อบิดพอหมาด นาไปล้างน้าสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง จะได้ด้ายฝ้ายที่ย้อมเป็นสีแดงตาม
ต้องการ
8 การย้อมสีด้วยเมล็ดคาแสด
วิธีเตรียมสีจากเมล็ดคาแสด แกะเมล็ดออกจากผลที่แก่จัด แช่น้าร้อนหมักทิ้งไว้หลาย ๆ วัน จนสารสี
ตกตะกอน แยกเมล็ดออก นาน้าสีที่ได้ไปเคี่ยวจนงวดเกือบแห้งแล้วนาไปตากแดด จนแห้งเป็นผงเก็บไว้ใช้
9 วิธีย้อมสีผ้าฝ้าย
ละลายสีเช่นเดียวกับการย้อมผ้าฝ้าย แต่นาผ้าไหมที่ต้องการย้อมแช่ไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง และเติม
สบู่ลงเล็กน้อยลงไปในสีที่ใช้ย้อม ถ้าต้องการให้ผ้ามีสีเหลืองเพิ่มขึ้นให้เติมกรด tataric ลงไปเล็กน้อย ผ้าที่
ย้อมด้วยสีจากเมล็ดคาแสดที่จะไม่ตกง่ายเมื่อถูกับสบู่ หรือกรดอ่อน ๆ
10 การย้อมสีดาจากลูกมะเกลือ
นาเอาลูกมะเกลือมาตาละเอียด แล้วแช่ในน้า ในน้าที่แช่นี้เอารากลาเจียก หรือต้นเบงตาปนกับลูก
มะเกลือ แล้วเอาด้ายฝ้ายที่ลงน้าแล้วบิดพอหมาดลงย้อมในน้าย้อม สัก 3-4 ครั้ง การย้อมทุกครั้งต้องตาก
แดดให้แห้งจนเห็นว่าดาสนิทดี ถ้าต้องการให้ผ้าเป็นเงาใช้งาดาตาละเอียด นาด้ายฝ้ายมาคลุกเคล้าให้ทั่ว ผึ่ง
ไว้สักพัก กระตุกตาก
11 การย้อมอีกวิธีหนึ่งคือ
เอาลูกมะเกลือที่แช่น้าทิ้งไว้นั้นในปริมาณที่ต้องการมาตาให้ละเอียดพร้อมกับใบหญ้าฮ่อมเกี่ยวแล้ว
เอาไปแช่ในน้าด่าง (ได้จากต้นมะขามเผาไฟให้เป็นขี้เถ้า แล้วละลายน้ากรองเอาน้าใส ๆ จะได้น้าย้อมที่
ต้องการ) นาเอาด้ายฝ้ายที่ลงน้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ใช้มือช่วยบีบด้วยฝ้ายเพื่อให้สีดูดซึมอย่าง
ทั่วถึง ปล่อยทิ้งสักพักแล้วยกขึ้นจากอ่างน้าย้อม ซักให้สะอาดกระตุกตากให้แห้ง
12 การย้อมสีแดงจากดอกคาฝอย
นาดอกคาฝอยมาตาให้ละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบางผสมน้าด่างเพื่อให้เกิดสี (น้าด่างได้จากการนาต้น
ผักขมหนามที่แก่จนเป็นสีแดงหรือน้าตาลมาตากให้แห้งสนิทแล้วนาไปเผาไฟให้เป็นขี้เถ้า ผสมกับน้าทิ้งให้
ตกตะกอน รินเอาแต่น้าใส ๆ มาผสมกับสี) ส่วนวิธีย้อมทาโดยนาดอกคาฝอยมาต้มให้น้าออกมาก ๆ จน
เหนียว เก็บน้าสีไว้ จากนั้นเอาแก่นไม้ฝางมาไสด้วยกบบาง ๆ แล้วต้มให้เดือดนานประมาณ 6 ชั่วโมง
ช้อนกากทิ้ง เวลาจะย้อมฝ้าย นาเอาน้าย้อมที่ต้มแล้วทั้งสองอย่างมาเทรวมเข้าด้วยกัน แล้วเติมสารส้มลงไป
เล็กน้อย คนให้เข้ากันดีนาฝ้ายที่ชุบน้าและตีเส้นให้กระจายลงย้อมในอ่างย้อม
13 การย้อมสีเขียวจากใบหูกวาง
เอาใบหูกวางมาตาคั้นเอาแต่น้าสีกรองให้สะอาดต้มให้เดือดเอาฝ้ายที่เตรียมไว้ ลงย้อมจะได้เป็นสี
เขียวอ่อน หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมา เพื่อไม่ให้ด้ายฝ้ายด่าง และสีย้อมจะได้ติดทั่วถึง พอได้ความเข้ม
ของสีติดด้ายฝ้ายตามต้องการจึงยกขึ้นบิดพอหมาด ซักน้าสะอาดผึ่งให้แห้ง
14 การย้อมสีจากคราม
ตัดต้นครามมาม้วนและมัดเป็นฟ่อน ๆ นาไปแช่น้าไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ประมาณ 2-3 วัน จนใบ
ครามเปื่อย จึงแก้มัดครามออกเพื่อให้ใบครามหลุดออกจากลาต้น นาลาต้นทิ้งไป เอาปูนขาวในอัตราส่วนที่
เหมาะสมกันกับน้าที่แช่ครามผสมลงไปแทนต้นคราม จากนั้นนาเอาขี้เถ้าซึ่งได้จากเหง้ากล้วยเผาจนดา ผสม
ลงไป ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 คืน จนกว่าน้าที่กวนใส รินน้าที่ใสออกทิ้ง จะได้น้าสีครามตามต้องการ อาจใช้ผ้า
ขาวบางกรองเพื่อจะได้น้าสีครามที่ละเอียด นาด้ายไปขยาในหม้อคราม พยายามอย่าให้ด้ายฝ้ายพันกัน ให้น้า
สีกินเข้าไปในเนื้อด้ายฝ้ายอย่างทั่วถึง จนกระทั่งได้สีเข้มตามต้องการ จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นจากหม้อ บิดให้
หมาดล้างน้าสะอาด นาไปขึ้นราวตากให้แห้ง
15 การย้อมสีชมพูจากต้นมหากาฬและต้นฝาง
เอาเปลือกของต้นมหากาฬมาสับให้ละเอียดต้มในน้าเดือดประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วช้อนเอาเปลือก
ออก เติมไม้ฝางซึ่งผ่าเป็นชิ้นเล็ก ๆ ลงไปต้มในน้าเดือดนาน 1 ชั่วโมง เติมใบส้มป่อยลงไปอีก 1 กา ต้มต่อไป
อีกเล็กน้อย ช้อนเอากากออกแล้วเติมน้าด่างลงไป จะได้น้าย้อมสีชมพูจึงเอาด้ายฝ้ายที่ชุบน้าบิดพอหมาด จุ่ม
ลงไปในอ่างย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกขึ้นจากอ่างย้อมนาไปซักน้าบิดให้แห้งกระตุกให้เส้นด้ายกระจาย
ตากแดด
16 การย้อมสีเหลืองจากแก่นขนุน
นาแก่นขนุนที่แห้งแล้วมาหั่นหรือไสด้วยกบเบา ๆ ใช้มือขยาให้ป่นละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบาง แล้ว
ต้มประมาณ 4 ชั่วโมง ดูว่าสีนั้นออกตามความต้องการหรือยังเมื่อใช้ได้ช้อนเอากากทิ้งกรองเอาน้าใสเติมน้า
สารส้มเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดี เอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้าพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม กลับด้ายฝ้ายไปมานาน 1
ชั่วโมง เอาขึ้นจากอ่างย้อม ซักน้าสะอาดกระตุกตาก
17 การย้อมสีเหลืองจากแก่นแกแล
ใช้ส่วนของแก่นแกเลย้อมผ้าจะได้สีเหลือง ซึ่งจะมีสารสีเหลืองชื่อ Morin อยู่ประมาณ 1% ให้
นาเอาแก่นแกแลมาตากให้แห้งแล้วผ่าให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่หม้อต้มเดือด จนน้าต้มสีเป็นสีเหลืองจึงยกลง และ
นาเอาไปกรองเก็บน้าสีไว้ เอาแกแลที่กรองไว้ไปต้มน้าให้เดือดต่อไปจนได้น้าสีจากแกแล ซึ่งสีอ่อนกว่าหม้อ
แรก เก็บน้าสีไว้ทาแบบเดียวกัน จนได้น้าสีครบ 3 หม้อ จะได้น้าสีอ่อนสุดถึงแก่สุด นาเอาด้ายฝ้ายที่เตรียมไว้
ลงย้อมในน้าสีหม้อที่ 3 ซึ่งเป็นสีอ่อนสุดยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพื่อให้น้าสีเข้าไปในเนื้อฝ้ายได้ทั่วถึงไม่ด่าง
ทิ้งไว้สักพักจึงยกด้ายฝ้ายขึ้นบิดพอหมาด นาไปย้อมในหม้อที่ 2 และหม้อที่ 1 ทาแบบเดียวกัน จนย้อมได้ครบ
3 หม้อ นาด้ายฝ้ายขึ้นซักน้าสะอาดจนสีไม่ตก เอาเข้ารางผึ่งให้แห้ง
10 ประวัติของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้าและสรรพคุณ
1 ดอกอัญชันแห้ง
อัญชัน ชื่อสามัญ Butterfly pea, Blue pea
อัญชัน ชื่อวิทยาศาสตร์Clitoria ternatea L. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือLEGUMINOSAE)
และอยู่ในวงศ์ย่อยถั่ว FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE) สมุนไพรอัญชัน มีชื่อท้องถิ่น
อื่น ๆ ว่า แดงชัน (เชียงใหม่), เอื้องชัน (ภาคเหนือ) เป็นต้น อัญชัน เป็นพืชที่มีต้นกาเนิดในแถบอเมริกาใต้ปลูก
ทั่วไปในเขตร้อน ลักษณะของดอกอัญชันจะมีสีขาว สีฟ้า สี ม่วง ส่วนตรงกลางดอกจะมีสีเหลือง และรูปทรง
คล้ายหอยเชลล์มีสรรพคุณที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะมี สารที่ชื่อว่า "แอนโทไซยานิน" (Anthocyanin)
ซึ่งมีหน้าที่ไปช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ทาให้เลือดไป เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น เช่น ไปเลี้ยงบริเวณ
รากผม ซึ่งช่วยทาให้ผมดกดา เงางาม หรือไปเลี้ยงบริเวณ ดวงตาจึงช่วยบารุงสายตาไปด้วยในตัว หรือไปเลี้ยง
บริเวณปลายนิ้วมือ ซึ่งก็จะช่วยแก้อาการเหน็บชาได้ด้วย และที่สาคัญสารนี้ยังมีความโดดเด่นที่ใครหลาย ๆ คน
ยังไม่ทราบ นั่นก็คือช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดเส้น เลือดอุดตันได้ และการ "กินดอกอัญชันทุกวัน...วันละ
หนึ่งดอก" จะช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบได้อีกด้วย
เนื่องจากดอกอัญชันนั้นมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด สาหรับผู้มีเลือดจางห้ามรับประทานดอกอัญชันเด็ดขาด
หรืออาหารเครื่องดื่มที่ย้อมสีด้วยอัญชันก็ไม่ควรรับประทานบ่อย ๆ
สรรพคุณของอัญชัน
1. น้าอัญชันมีส่วนช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย
2. เครื่องดื่มน้าอัญชันช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายและเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย
3. มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและริ้วรอยแห่งวัย
4. ดอกมีส่วนช่วยในการบารุงสมอง เพิ่มการไหลเวียนเลือด
5. ดอกอัญชันมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด
6. ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบ
7. ช่วยรักษาอาการผมร่วง (ดอก)
8. อัญชันทาคิ้ว ทาหัว ใช้เป็นยาปลูกผม ปลูกขนช่วยให้ดกดาเงางามยิ่งขึ้น (น้าคั้นจากดอก)
9. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดเส้นเลือดอุดตัน
10. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
11. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเร็งด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ
12. ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือดของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน
13. อัญชันมีคุณสมบัติในการช่วยล้างสารพิษและของเสียออกจากร่างกาย
14. ช่วยบารุงสายตา แก้อาการตาฟาง ตาแฉะ (น้าคั้นจากดอกสดและใบสด)
15. ช่วยป้องกันโรคต้อกระจก ต้อหิน ตาเสื่อมจากโรคเบาหวาน (ดอก)
16. ช่วยเพิ่มความสามารถในการมองเห็นให้ดียิ่งขึ้น
17. น ารากไปถูกับน้าฝน นามาใช้หยอดตาและหู (ราก)
18. นามาถูฟันแก้อาการปวดฟันและทาให้ฟันแข็งแรง (ราก)
19. ใช้เป็นยาระบาย แต่อาจทาให้คลื่นไส้อาเจียนได้ (เมล็ด)
20. ใช้รากปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ (ราก,ใบ)
21. แก้อาการปัสสาวะพิการ
22. ใช้แก้อาการฟกช้า (ดอก)
23. ช่วยป้องกันและแก้อาการเหน็บชาตามนิ้วมือนิ้วเท้า
24. นามาทาเป็นเครื่องดื่มน้าอัญชันเพื่อใช้ดับกระหาย
25. ดอกอัญชันตากแห้งสามารถนามาชงดื่มแทนน้าชาได้เหมือนกัน
26. ดอกอัญชันนามารับประทานเป็นผัก เช่น นา มาจิ้มน้าพริกสด ๆ หรือนามาชุบแป้งทอดก็ได้
27. น้าดอกอัญชันนามาใช้ทาเป็นสีผสมอาหารโดยให้สีม่วง เช่น ขนมดอกอัญชัน ข้าวดอกอัญชัน
(ดอก)
28. ช่วยปลูกผมทาให้ผมดกดาขึ้น (ดอก)
29. ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ อย่าง ครีมนวดผม ยาสระผม เป็นต้น
30. นิยมนามาปลูกไว้ตามรั้วบ้านเพื่อความสวยงาม
2 ดอกดาวเรือง
ดาวเรืองชื่อสามัญAfrican marigold, American marigold, Aztec marigold, Big marigold
ดาวเรืองชื่อวิทยาศาสตร์ Tagetes erecta L. จัดอยู่ในวงศ์ทานตะวัน (ASTERACEAE หรือ
COMPOSITAE)
สมุนไพรดาวเรือง มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ดาวเรืองใหญ่ (ทั่วไป), คาปู้จู้หลวง (ภาคเหนือ), พอทู
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), บ่วงซิ่วเก็ก (จีนแต้จิ๋ว), ว่านโซ่วจวี๋ (จีนกลาง), บ่วงลิ่วเก็ก เฉาหู่ย้ง, กิมเก็ก (จีน), ดาว
เรืองอเมริกัน เป็นต้น
ลักษณะของดาวเรือง
1 ต้นดาวเรืองเป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก โดยจัดเป็นไม้ล้มลุก มีอายุได้ราว 1 ปี ล า ต้น
ตั้งตรงมีความสูงประมาณ 60-100 เซนติเมตร แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น ลาต้นเป็นสีเขียวและเป็นร่อง ทั้ง ต้น
เมื่อนามาขยี้จะมีกลิ่นเหม็น จึงทาให้แมลงไม่ค่อยมารบกวน โดยจัดเป็นพันธุ์ไม้กลางแจ้ง ขยายพันธุ์ด้วย เมล็ด
เป็นหลัก (แต่อาจจะใช้การปักชาได้ แต่ต้นที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่า) เจริญเติบโตได้เร็ว ชอบดินร่วน ระบาย น้าได้
ดี มีความชื้นปานกลาง และชอบแสงแดดแบบเต็มวัน โดยแหล่งเพาะปลูกดาวเรืองที่สาคัญของประเทศ ไทย
ได้แก่ จังหวัดลาปาง พะเยา ราชบุรี นนทบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร อุดรธานี และกรุงเทพฯ เป็นต้น[10] โดย
ดาวเรืองที่พบเห็นและปลูกกันมากในปัจจุบันจะมีอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ ดาวเรืองอเมริกัน (Tagetes erecta),
ดาวเรืองฝรั่งเศส (Tagetes patula), ดาวเรืองนักเก็ต (Triploid Marigold), ดาวเรืองซิกเน็ต (Tagetes
tenuifolia หรือ Tagetes signata pumila) และดาวเรืองใบ (Tagetes filifolia)
2 ใบดาวเรือง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ปลายใบคี่ ออกเรียงตรงข้ามกัน มีใบย่อยประมาณ 11-
17 ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้าง
ประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร เนื้อใบนิ่ม
3 ดอกดาวเรือง ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวตามปลายยอด ดอกเป็นสีเหลืองสดหรือสีเหลืองปนส้ม กลีบ
ดอกมีขนาดใหญ่เรียงซ้อนกันหลายชั้นเป็นวงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 5-10 เซนติเมตร
และยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ปลายกลีบดอกเป็นฟันเลื่อย มีเกสรเพศผู้ 5 ก้านโดยดอกจะแบ่งออกเป็น
2 ลักษณะ คือ ดอกวงนอกมีลักษณะคล้ายลิ้นหรือเป็นรูปรางน้าซ้อนกันแน่น บานแผ่ออกปลายม้วนลง มี
จานวนมาก เป็นดอกที่ไม่สมบูรณ์เพศ โคนกลีบดอกเป็นหลอดเล็ก ส่วนดอกวงในเป็นหลอดเล็กอยู่ตรงกลางช่อ
ดอก มีจานวนมากและเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ ส่วนกลีบเลี้ยงดอกเป็นสีเขียวเชื่อมติดกันหุ้มโคนช่อดอก ก้าน
ชูดอกยาว
4 ผลดาวเรือง ผลเป็นผลแห้งสีดาไม่แตก ดอกจะแห้งติดกับผล[1] โคนกว้างเรียวสอบไปยังปลาย ซึ่งปลายผล
นั้นจะมี
สรรพคุณของดาวเรือง
1. ดอกและรากมีรสขมเผ็ดเล็กน้อย มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอดและตับ (ดอก, ราก)
2. ดอกใช้เป็นยาฟอกเลือด (ดอก) ในอินเดียจะใช้น้าคั้นจากช่อดอกเป็นยาฟอกเลือด (ดอก)
3. ใช้ใบแห้งประมาณ 5-10 กรัม นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้เด็กเป็นตานขโมย (ใบ)
4. ช่วยแก้อาการเวียนศีรษะ ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัม ต้มกับน้าดื่ม (ดอก)
5. ดอกช่วยบารุงสายและถนอมสายตาได้ดี ในตารายาจีนจะนาดอกมาปรุงกับตับไก่ใช้กินเป็นยาบารุง
สายตาได้ดี (ดอก) 8
6. ช่วยแก้ตาเจ็บ ตาบวม ตาแดง ปวดตา ด้วยการใช้ดอกแห้งประมาณ 10-15 กรัม นามาต้มกับน้า
รับประทาน (ดอก)
7. ดอกใช้รักษาคางทูม ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัม นามาต้มกับน้าดื่ม (ดอก)
8. ดอกใช้เป็นยาแก้ไข้สูงในเด็กที่มีอาการชัก (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
9. ช่วยแก้อาการร้อนใน (ดอก)
10. ช่วยแก้อาการไอหวัด ไอกรน ไอเรื้อรัง ด้วยการใช้ดอกสดประมาณ 10-15 ดอก นามาต้มกับน้า
ผสม กับน้าตาลรับประทาน (ดอก)
11. ช่วยขับและละลายเสมหะ ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัมนามาต้มกับน้าดื่ม (ดอก)
12. น้าคั้นจากใบใช้แก้อาการหูเจ็บ ปวดหู (ใบ)
13. ช่วยแก้อาการปวดฟัน ด้วยการใช้ดอกแห้ง 15 กรัมนามาต้มกับน้ารับประทาน (ดอก)
14. ช่วยรักษาปากเปื่อย (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
15. ช่วยแก้คอและปากอักเสบ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)
16. ดอกใช้เป็นยาแก้หลอดลมอักเสบหรือระบบทางเดินหายใจติดเชื้อ โดยใช้ดอกสดประมาณ 10-15
ดอก นามาต้มกับน้าผสมกับน้ าตาลรับประทานส่วนอีกวิธีให้ใช้ดอกสด 30 ดอกผสมกับจี๋อ้วง (Astertataricus
L.F.) สด 7 กรัม, จุยเฉี่ยวเอื้อง (Inula Helianthus-aquatilis C.Y. Wuex Ling) สด 10 กรัม นามาต้มกับน้า
ดื่ม (ดอก)
17. ช่วยรักษาเต้านมอักเสบ เต้านมเป็นฝี โดยใช้ดอกแห้ง ดอกสายน้าผึ้ง (Lonicera japonica
Thunb), เต่งเล้า (paris petiolata Bak. ex. Forb.) อย่างละเท่ากัน น ามาบดรวมกันเป็นผงผสมกับ
น้าส้มสายชู คนให้เข้ากัน แล้วน ามาใช้พอกบริเวณที่เป็น (ดอก)
18. ดอกและทั้งต้นเป็นยาขับลม ทาให้น้าดีในลาไส้ท างานได้ดี (ดอก, ทั้งต้น) ส่วนตารับยาเภสัชของ
เม็กซิโกจะใช้ช่อดอกและใบนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับลม (ดอก, ใบ)
19. ช่วยแก้อาการจุกเสียด (ต้น)
20. รากใช้เป็นยาระบาย (ราก)
21. ช่วยแก้อาการปวดท้อง (ทั้งต้น)
22. ต้นนามาใช้ทาเป็นยารักษาโรคไส้ตันอักเสบหรือมีอาการปวดท้องขนาดหนักคล้ายกับไส้ติ่ง (ต้น)
23. ใบและช่อดอกนามาชงกับน้า ใช้เป็นยาขับพยาธิ (ดอก, ใบ)
24. ต ารับยาเภสัชของเม็กซิโกเคยมีการใช้ดอกและใบดาวเรืองน ามาต้มกับน้ าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ
(ดอก, ใบ)
25. ดอกเป็นยาแก้ริดสีดวงทวาร (ดอก) โดยในอินเดียจะใช้น้ าคั้นจากช่อดอกดาวเรืองเป็นยาแก้
ริดสีดวง ทวาร (ดอก)
26. ดอกใช้เป็นยากล่อมตับ ดับพิษร้อนในตับ ด้วยการใช้ดอก 3-10 กรัมน ามาต้มกับน้ าดื่ม (ดอก)
27. รากใช้เป็นยาแก้พิษ แก้อาการบวมอักเสบ (ราก)
28. ดอกมีสรรพคุณเรียกเนื้อ ทาให้แผลหายเร็ว ด้วยการใช้ดอกนามาต้มเอาน้าใช้ชะล้างบริเวณที่เป็น
แผล (ดอก) 9
29. ใบมีรสชุ่มเย็นและมีกลิ่นฉุน น้าคั้นจากใบสามารถนามาใช้เป็นยาทารักษาแผลเน่าเปื่อย หรือนามา
ตาม ใช้เป็นยาพอกก็ได้ (ใบ) บ้างก็ใช้น้าคั้นจากใบนามาผสมกับน้ามันมะพร้าว เคี่ยวจนส่วนน้าระเหยหมด ใช้
เป็นยาทารักษาแผลเน่าเปื่อยและฝีต่าง ๆ (ใบ)
30. น้าคั้นจากใบใช้เป็นยาทาแก้ฝีต่าง ๆ ฝีฝักบัว ฝีพุพอง หรือนาใบมาตาพอก หรือต้มเอาน้าชะล้าง
บริเวณที่เป็น อีกทั้งยังช่วยรักษาแผลฝี ตุ่มมีหนอง อาการบวมอักเสบโดยไม่รู้สาเหตุได้อีกด้วย (ใบ)
31. ต้นใช้เป็นยารักษาแก้ฝีลม (ต้น)
32. ในบราซิลจะใช้ช่อดอกนามาชงกับน้าดื่มเป็นยาแก้อาการปวดตามข้อ (ดอก)
33. ส่วนตารายาจีนจะ ใช้ดอกแห้ง ดอกสายน้าผึ้ง เต่งเล้า อย่างละเท่ากัน นามาบดรวมกันเป็นผง ผสม
กับน้าส้มสายชูคนให้ เข้ากัน แล้วนามาใช้พอกบริเวณที่เป็น (ดอก)
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของดาวเรือง
1 ดอกหรือช่อดอกดาวเรืองมีสาร Flavonoid glycosides, Tagetiin 0.1%
และมีสารเรืองแสง Terthienyl 15-21 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม ของดอกสด Helenien 74%, B-Carotene
Flavoxanthin โดยสาร Helenien มีผู้กล่าวว่าสามารถช่วยทาให้เนื้อเยื่อตาดีขึ้นได้
2 ทั้งต้นพบน้ามัน ระเหย เช่น Carotent, d-limonene, Flavoxanthin, Helenienm Nonanal,
Ocimene, Tagetiin, Tagetone d-Terehienyl เป็นต้น
3 พบว่าในดอกมีสารฆ่าแมลงที่ชื่อว่า Pyrethrin และน้ ามันหอมระเหย ซึ่งแสดงฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ
แบคทีเรียและเชื้อในราในหลอดทดลองด้วย[2]
4 รากของต้นดาวเรืองมีสารชนิดหนึ่งชื่อว่า แอลฟ่า เทอร์เธียนิล (α-terthienyl) ซึ่งเป็นสารที่สามารถ
ควบคุมปริมาณไส้เดือนฝอยในดินได้เป็นอย่างดี
5 ในใบดาวเรืองมีสารคาเอมพ์เฟอริตริน (Kaempferitrin) ซึ่งมีฤทธิ์แก้อาการอักเสบ ให้หนูตะเภากิน
ใน ขนาด 50 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว พบว่าจะทาให้หลอดเลือดฝอยตีบตัน ทาให้เลือดหยุด เนื้อ
หนังเจริญดีขึ้น และยังมีฤทธิ์ที่แรงกว่ารูติน (Rutin) อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีวิตามินพี (Vitamin P) ค่อนข้างสูง
โดยสารนี้จะช่วยลดการเคลื่อนไหวของลาไส้เล็กที่แยกจากตัวของกระต่ายได้ทาให้จังหวะ การบีบตัวลดลง
6 เคยมีการใช้ดอกเป็นยาฆ่าเชื้อโรคและยาสงบประสาท โดยมีผลเช่นเดียวกับต้น Tagetes minuta L.
หรือ Tagetes glandif lora ที่มีน้ามันหอมระเหย มีฤทธิ์ในการสงบประสาท ช่วยลดความดันโลหิต ขยายหลอด
เลือดและหลอดลม และช่วยแก้อาการอักเสบ
7 ดาวเรืองมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย แผลเปื่อยเรื้อรังที่เป็นอาการที่เกิดจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งใน
ผู้ป่วยเอดส์จะพบเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุและพบได้บ่อยคือ เชื้อ Staphylococcus aureus และ ได้มีการ
ทดสอบสารสกัดจากส่วนต่าง ๆ ของต้นดาวเรือง เพื่อใช้ต้านแบคทีเรียชนิดนี้อยู่หลายการ ทดลอง เช่น มีการ
ทดสอบสารสกัดเอทานอลจากส่วนเหนือดิน ที่ความเข้มข้น 5 มก./มล. กับ Staphylococcus aureus ในจาน
เพาะเชื้อ พบว่ามีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียดังกล่าว แต่เมื่อได้ทาการ ทดสอบสารสกัดเอทานอล (95%) จากดอก
ใบ และลาต้นดาวเรือง พบว่าสารสกัดดังกล่าวไม่มีฤทธิ์ ต้านเชื้อแบคทีเรียดังกล่าว และได้ทดลองใช้สารสกัด
ดังกล่าวจากดอกแห้งดาวเรือง ความเข้มข้น 100 มก./แผ่น ก็ให้ผลการทดสอบเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีการ
ทดสอบสารสกัดเอทานอลจากดอก ดาวเรืองกับเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกอีกหลายชนิด พบว่า สารสกัดดังกล่าว
ไม่มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อ Staphylococcus aureus, จากการทดสอบน้ามันหอมระเหย (ไม่เจือจางและไม่ระบุ
ส่วนที่ใช้) ใน จานเพาะเชื้อ ก็พบว่าน้ามันหอมระเหยไม่มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อ Staphylococcus aureus และ
ถ้าใช้ 10 น้ามันหอมจากใบดาวเรือง (ไม่ทราบความเข้มข้น) ก็พบว่าให้ผลเช่นเดียวกัน, เมื่อทดสอบน้าสกัดจาก
ดอก ใบ และลาต้นของดาวเรืองกับเชื้อ Staphylococcus aureus ก็พบว่าไม่มีฤทธิ์และยังทดสอบ ด้วยสาร
สกัดเมทานอลจากดอกแห้งที่ความเข้มข้น 20 มก./แผ่น หรือสารสกัดเมทานอลจากดอกสด ความเข้มข้น 1.5
มก./มล. หรือสารสกัดเมทานอลจากใบสดความเข้มข้น 15 มก./มล. ก็พบว่าให้ผล เช่นเดียวกัน แต่เมื่อใช้สาร
สกัดเมทานอลจากรากสดดาวเรือง ความเข้มข้น 0.8 มก./มล. กลับให้ผล การทดสอบที่ไม่แน่นอน นอกจากนี้
ยังได้มีการทดสอบสารสกัดเมทานอลจากพืชอีก 24 ชนิดในการ ต้านเชื้อแบคทีเรีย และได้พบว่า สารสกัดจาก
ดอกดาวเรืองมีฤทธิ์ต้าน Staphylococcus aureus จริง และจากการทดสอบน้าสกัดและสารสกัดจากเอทา
นอล (95%) พบว่า น้าสกัดจากใบและสาร สกัดเอทานอล (95%) จากดอกดาวเรือง ความเข้มข้น 1:1 มีฤทธิ์ใน
การต้านเชื้อ Staphylococcus aureus แต่ผลการทดสอบสารสกัดทิงเจอร์จากดอกแห้งดาวเรือง ความเข้มข้น
30 มคก./แผ่น พบว่า ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphylococcus aureus
8 จากการทดสอบความเป็นพิษของดาวเรือง เมื่อฉีดสารสกัดเมทานอลจากดอกหรือรากสดดาวเรือง
เข้าทางช่องท้องหนูถีบจักร พบว่า LD50 มากกว่า 2 ก./กก. และเมื่อใช้สารสกัดเอทานอล (50%) จากทั้งต้น
ของดาวเรืองแทน พบว่า LD50 มากกว่า 1 ก./กก.
9 จากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ของดาวเรือง ได้มีการทดลองใช้ผงจากใบและดอกดาวเรือง
โดย ใช้ภายนอกในการรักษาหูดที่ฝ่าเท้าของผู้ใหญ่จานวน 31 ราย โดยทาการทดลองแบบสุ่มเปรียบเทียบ กับ
ยาหลอก จากผลการศึกษาพบว่าส่วนของพืชดังกล่าวมีพิษต่อเซลล์และเมื่อได้ทาการทดสอบ น้ามันหอมระเหย
จากใบสดดาวเรืองกับเอมบริโอของไก่ (ไม่ทราบปริมาณความเข้มข้น) พบว่ามีพิษต่อ เซลล์ของสัตว์ทดลอง และ
จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์พบว่ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น และไม่ พบฤทธิ์ต้านการแพ้หรือลดการ
อักเสบ ทั้งนี้ก่อนมีการส่งเสริมให้ใช้ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อที่จะ ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาแผลได้
ประโยชน์ของดาวเรือง
1. ดอกสามารถนามาใช้ประกอบอาหารรับประทานได้ เช่น การนาดอกตูมมาลวกจิ้มกับ น้าพริก ใช้
แกล้มกับลาบ หรือจะใช้ดอกบานนาไปปรุงแบบยาใส่เนื้อ ทาน้ายาแบบรส หวานคล้ายกับน้าจิ้มไก่หรือน้าจิ้ม
ทอดมัน เป็นต้น ส่วนทางภาคใต้นั้นจะนิยมนามาใช้เป็น ผักผสมในข้าวยา
2. ดอกดาวเรืองมีสารเบตาแคโรทีนจากธรรมชาติซึ่งคุณสมบัติของเบตาแคโรทีนนี้จะท า หน้าที่โปรวิ
ตามินเอ เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายแล้วจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอ นอกจากนี้ยังเป็น สารต่อต้านอนุมูลอิสระที่ช่วย
ป้องกันการเกิดมะเร็งในตับและปอดของร่างกายอีกด้วย
3. ใช้น้าสกัดจากดอกดาวเรือง สามารถนามาใช้เพื่อป้องกันและกาจัดไส้เดือนฝอยในดินได้ โดยขนาดที่
ใช้คือกลีบดอกสด 3 กรัมปั่นในน้า 1 ลิตร ใช้เป็นยาฉีดพ่น
4. ดอกสามารถนามาใช้ในงานพิธีต่าง ๆ ใช้ร้อยเป็นพวงมาลัยเพื่อบูชาพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตามความ
เชื่อ หรือนามาใช้เป็นดอกไม้ปักแจกันก็ได้เช่นกัน
5. ดอกใช้สกัดทาเป็นสีย้อมผ้า โดยจะให้สีเหลืองทอง ซึ่งดอกดาวเรืองแห้ง 1.2 กิโลกรัม สามารถนามา
ย้อมเส้นไหมได้ 1 กิโลกรัม โดยใช้วิธีการต้มเพื่อสกัดน้าสีนาน 1 ชั่วโมง แล้ว กรองเอาเฉพาะน้า ใช้ย้อมด้วย
กรรมวิธีการย้อมร้อน แล้วนาเส้นไหมมาแช่ในสารละลาย 11 1% สารส้ม ก็จะได้เส้นไหมสีเหลืองทอง และดอก
ดาวเรืองที่ได้จากการนึ่งและอบจะให้น้า สีที่เข้มข้นกว่าดอกสด 1 เท่า และมากกว่าดอกตากแห้ง 5 เท่า เมื่อใช้
ในอัตราส่วนเท่ากัน
6. ต้นและรากของดาวเรืองมีสารที่ช่วยป้องกันและกาจัดไส้เดือนฝอยในดินได้โดยใช้วิธีการ ไถกลบทั้ง
ต้นและรากลงในแปลงปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่มีปัญหาไส้เดือนฝอยในดิน เช่น แปลงยาสูบ มะเขือเทศ เยอบี
ร่า และสตรอว์เบอร์รี เป็นต้น
7. ต้นดาวเรืองสามารถสะสมสารหนูได้มากถึง 42% จึงมีประโยชน์ในด้านการนามาฟื้นฟูดิน ที่มีการ
ปนเปื้อนสารหนูได้ดี
8. ปัจจุบันได้มีการปลูกดาวเรืองเพื่อนามาผลิตเป็นดอกดาวเรืองแห้ง เพื่อใช้เป็นส่วนผสมใน อาหาร
หรือเป็นส่วนผสมในอาหารเสริมของไก่ไข่กันอย่างกว้างขวาง เพราะมีผลงานวิจัยที่ ระบุว่าอาหารไก่ที่ผสมดอก
ดาวเรืองแห้งจะช่วยเพิ่มความเข้มสีของไข่แดงได้
9. เนื่องจากดอกดาวเรืองมีความสวยงาม จึงนิยมปลูกเพื่อประดับเป็นจุดเด่นตามสวนหรือใช้ ปลูกเป็น
กลุ่ม ๆ ตามริมถนนหรือทางเดิน
10. นอกจากจะใช้ปลูกเพื่อเป็นไม้ประดับแล้ว ยังสามารถนามาใช้ปลูกเป็นเกราะป้องกันแมลง ศัตรูพืช
ให้แก่พืชอื่น ๆ ได้อีกด้วย เนื่องจากดาวเรืองมีสารที่มีกลิ่นเหม็นฉุนที่แมลงไม่ชอบ
3 มังคุด
มังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia mangostana Linn. เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกัน
ว่ามีถิ่นก าเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อ ราว
พุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมี การ
ปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น
ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของ ราชทูตจากศรี
ลังกาที่เข้ามาขอพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต
มังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูป วงรีแกม
ขอบขนาน กว้าง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง หลังใบสีเขียว เข้มเป็น
มัน ท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบ เลี้ยงสี
เขียวอมเหลืองติดอยู่จนเป็นผล กลีบดอกสีแดง ฉ่าน้า ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม เปลือกนอกค่อนข้าง แข็ง แก่
เต็มที่มีสีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เนื้อในมีสีขาวฉ่าน้า อาจมีเมล็ดอยู่ ในเนื้อ
ผลได้ขึ้นอยู่กับขนาดและอายุของผล จานวนกลีบของเนื้อจะเท่ากับจานวนกลีบดอกที่อยู่ด้านล่างของ เปลือก
เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร เมล็ดไม่สามารถใช้รับประทานได้
ส่วนของเนื้อผลที่กินได้ของมังคุดเป็นชั้นเอนโดคาร์ป ซึ่งพัฒนามาจากเปลือกหุ้มเมล็ดเรียกว่า aril มีสี
ขาว มี กลิ่นหอม สารระเหยได้ส่วนใหญ่คือ hexyl acetate, hexenolและ α-copaene ส่วนล่างสุดของผลที่
เป็น แถบสีเข้มที่ติดอยู่เรียงเป็นวงพัฒนามาจากปลายยอดเกสรตัวเมีย (stigma)มีจานวนเท่ากับจานวนเมล็ด
ภายใน ผล เมล็ดมังคุดเพาะยากและต้องได้รับความชื้นจนกว่าจะงอก เมล็ดมังคุดเกิดจากชั้นนิวเซลลาร์ ไม่
ได้มาจาก การปฏิสนธิเมล็ดจะงอกได้ทันทีเมื่อออกจากผลแต่จะตายทันทีที่แห้ง มังคุดมีพันธุ์พื้นเมืองเพียงพันธุ์
เดียว แต่ ถ้าปลูกต่างบริเวณกันอาจมีความผันแปรไปได้บ้าง ในประเทศไทยจะพบความแตกต่างได้ระหว่าง
มังคุดในแถบ ภาคกลางหรือมังคุดเมืองนนท์ที่ผลเล็ก ขั้วยาว เปลือกบาง กับมังคุดปักษ์ใต้ที่ผลใหญ่กว่า ขั้วผล
สั้น เปลือก หนาปัจจุบันมีการเพาะปลูกและขายบนเกาะบางเกาะในหมู่เกาะฮาวาย ต้นมังคุดต้องปลูกในสภาพ
อากาศ อบอุ่น หากอุณหภูมิลดลงต่ากว่า 4 °C จะทาให้ต้นมังคุดตายได้
มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของผลไม้" อาจ
เป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยู่ที่หัวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วน เนื้อ
ในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้มีการนามังคุดมา ประกอบ
อาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม
ในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้ รับประทานในขณะที่
ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้านอนุมูล อิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิ
ต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิดริ้วรอย และยังมีส่วน ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่ง
ปลั่งสดใสอีกด้วย เนื้อมังคุดมีคุณค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะโพแทสเซียม โปรตีน สารเยื่อใย วิตามินซี
ฟอสฟอรัส แคลเซียมและแมกนีเซียม จากการตรวจวิเคราะห์พบว่าในน้ามังคุด 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย
โพแทสเซียมปริมาณสูงถึง 87.14 มิลลิกรัม แคลเซียม 34.53 มิลลิกรัม และแมกนีเซียม 111.22 มิลลิกรัม
เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือแทนนิน แซนโทน (โดยเฉพาะแมงโกสติน) แทนนินมีฤทธิ์ฝาด
สมาน ทาให้ แผลหายเร็ว มังคุดช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนองได้ดี ในทาง
ยาสมุนไพร ใช้เปลือกมังคุดตากแห้งต้มกับน้าหรือย่างไฟ ฝนกับน้าปูนใส แก้ท้องเสีย เปลือกแห้งฝนกับน้าปูนใส
ใช้รักษา อาการน้ากัดเท้า แผลเปื่อย เปลือกมังคุด มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่การหมักปุ๋ย ชาวโอรังอัสลีใน
รัฐเประ มาเลเซียใช้เปลือกผลแห้งรักษาแผลเปิด
ยางมังคุด มีประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมหลายประเภท เนื่องจากยางมังคุดใช้เป็นวัตถุดิบใน
การสกัด สารกลุ่มแซนโทน ซึ่งแต่ละชนิดที่มีฤทธิ์ทางยาที่แตกต่างกัน รวมทั้งมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม
พลาสติก นอกจากนั้นยางมังคุดยังเข้ามามีบทบาทในการใช้เป็นสารเจือปนในอาหาร เพราะมีฤทธิ์ในการยับยั้ง
เชื้อ Staphylococcus Aureus ซึ่งเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดอาการอาหารเป็นพิษได้
4 หอมหัวใหญ่
หอมใหญ่ เป็นพืชหัว (bulb) ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดที่มีการระบาย น้า
และอากาศดีเจริญได้ดีที่ค่าความเป็นกรด-เบสช่วง 6.0–6.8 อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 15–24 องศา
เซลเซียส และมีความเค็มของดินปานกลาง เป็นพืชล้มลุก ตระกูลเดียวกับหอมแดง ต้นสูงประมาณ 30-40
เซนติเมตร ลาต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่ เมื่อแห้งจะมีสีน้าตาลอ่อน ภายใน
เป็นกาบสีขาวซ้อนกัน ลักษณะของดอกมีสีขาว เป็นช่อ มีดอกย่อยเป็นจานวนมาก ก้านช่อดอกยาว แทงออก
จากลาต้นใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต : ให้ผลผลิต 2 ครั้งใน 1 ปี คือ ช่วงเดือน มกราคม
ถึง เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์
สรรพคุณ
หอมใหญ่ช่วยลดการอุดตันไขมันในเส้นเลือด ลดคลอเลสเตอรอลในเลือด ช่วยเพิ่มไขมันชนิดดี (HDL:
High-density lipoproteins) และช่วยทาหน้าที่ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน สารกามะถันใน หอมใหญ่
ช่วยยับยั้งการก่อตัวของเซลล์มะเร็ง เมื่อตาผสมกับเหล้าเล็กน้อยแล้วนามาพอก จะลดการอักเสบ อาการบวม
ได้
5 กล้วย
กล้วย เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ มีอายุหลายปี ลาต้นตั้งตรง เมื่อโตเต็มที่อาจจะมีความสูงสองถึงเก้า
เมตร ลาต้นที่มองเห็นเรียกว่า ลาต้นเทียม (pseudostem) ส่วนประกอบของลาต้น ได้แก่ หยวก
กล้วย หรือ กาบใบ ลาต้นที่แท้จริงของกล้วยจะเกิดเป็นเหง้าใต้ดิน (corm) ใบมีสีเขียวขนาดใหญ่เป็นใบเดี่ยว
ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ท้องใบสีนวล เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ
(inflorescence)อยู่ที่ปลายยอด ลักษณะห้อยหัวลง สีแดงคล้า เรียกว่า ปลีกล้วย (banana flower)ผลของ
กล้วยรวมกันเรียกว่า เครือ (Bunch) ส่วนผลกล้วยที่ เรียกว่า หวี (hand) แต่ละผลเรียกว่า ผลกล้วย (finger)
กล้วยหนึ่งเครือหนึ่งอาจจะมีจานวนหวีตั้งแต่ 5 หวี ไปจนถึง 15 หวีเลย แต่ละหวีมีจานวนผลตั้งแต่ 5-20 ผล
ขนาดของผลเมื่อโตแล้วจะมีขนาดประมาณ 5-15 เซนติเมตร กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ผลของกล้วยเมื่อสุกจะมี
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf
บทที่ 1 is v.pdf

More Related Content

Similar to บทที่ 1 is v.pdf

มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกมหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกpotemax
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
รายชื่อ
รายชื่อรายชื่อ
รายชื่อamixdouble
 
36100717 1 20110923-171825 (1)
36100717 1 20110923-171825 (1)36100717 1 20110923-171825 (1)
36100717 1 20110923-171825 (1)Kamonchanok Narin
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 

Similar to บทที่ 1 is v.pdf (20)

บทคัดย่อครูสิริพรรณ
บทคัดย่อครูสิริพรรณบทคัดย่อครูสิริพรรณ
บทคัดย่อครูสิริพรรณ
 
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอกมหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนในบางกอก
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
รายชื่อ
รายชื่อรายชื่อ
รายชื่อ
 
Customs of north thailand
Customs of  north thailandCustoms of  north thailand
Customs of north thailand
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
36100717 1 20110923-171825 (1)
36100717 1 20110923-171825 (1)36100717 1 20110923-171825 (1)
36100717 1 20110923-171825 (1)
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
ชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทยชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย
 
Rub 2
Rub 2Rub 2
Rub 2
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1 603 22
Work1 603 22Work1 603 22
Work1 603 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Work 1 603 no33
Work 1 603 no33Work 1 603 no33
Work 1 603 no33
 
Work 1 603 no33
Work 1 603 no33Work 1 603 no33
Work 1 603 no33
 

บทที่ 1 is v.pdf

  • 1. การศึกษา เรื่องผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ นายณัฐวัชร ไชยวรรณ เลขที่ 10 นายพีรพัฒน์ ชูโชติ เลขที่ 11 นายพีรพัฒน์ เทียรสิวา เลขที่ 12 นายวสุธัญ เรืองโชติ เลขที่ 13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/16 การศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
  • 2. การศึกษา เรื่องผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ นายณัฐวัชร ไชยวรรณ เลขที่ 10 นายพีรพัฒน์ ชูโชติ เลขที่ 11 นายพีรพัฒน์ เทียรสิวา เลขที่ 12 นายวสุธัญ เรืองโชติ เลขที่ 13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/16
  • 3. บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง การศึกษา การทาผ้ามัดย้อมจากดอกอัญชัน คณะผู้จัดทา ณัฐวัชร ไชยวรรณ พีรพัฒน์ ชูโชติ พีรพัฒน์ เทียรสิวา วสุธัญ เรืองโชติ อาจารย์ที่ปรึกษา นางกานดา ยนตรการกาจร นายนพพร มีชีพสม โรงเรียน ธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม ปีการศึกษา 2566 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง การย้อมผ้าจากดอกอัญชัน เป็นการนาดอกอัญชัน สามารถนาดอกอัญชันทา ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมไม่ก่อให้เกิดมลพิษ มีสีสันที่สดใสสวยงาม และผ้าที่ได้ก็ไม่เป็น อันตรายต่อร่างกายเวลาสวมใส่ วัตถุประสงค์ที่จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย ประโยชน์ โดยการย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดที่ปราศจากสารเคมีที่เป็นอันตราย ให้รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  • 4. กิตติกรรมประกาศ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอินสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลาย ท่านซึ่งไม่ อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณคือ คุณกานดา ยนตรการกาจร และ คุณนพพร มีชีพสม ครูผู้สอนที่ให้ความรู้ คาแนะนา ตรวจทานและแก้ไขข้อบพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอนเพื่อให้การเขียนรายงาน การศึกษาการ ค้นคว้าอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุดและให้คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ เทคนิคการนาเสนอ รายงานปากเปล่าคณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบขอบระคุณเป็นอย่างสูงไว ณ โอกาสนี้ และขอบคุณนักเรียนห้องเรียนคุณภาพระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน ธรรมศาสตร์คลอง หลวงวิทยาคมที่ช่วยให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการสืบค้น ข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และให้กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา ขอขอบพระคุณคุณพ่อและคุณแม่ที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จที่ได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนและ ให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญของปัญหาไม่พบรายการสารบัญภาพ 1 วัตถุประสงค์ 1 สมมติฐาน 1 ขอบเขตการศึกษา 1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2 ประวัติของผ้ามัดย้อม 2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม 2 การออกแบบผ้ามัดย้อม 2 วิธีการย้อม 3 คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม 3 แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม 3 สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ 4 ประวัติและสรรพคุณของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้า 5
  • 6. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 24 เครื่องมือ 24 วัตถุดิบที่ใช้ 24 ขั้นตอนในการทา 24 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา 24 ขั้นตอนการทาโลโก้ 24 บทที่ 4 ผลการทดลอง 25 บทที่ 5 สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 27 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 27 สมมุตติฐานของการศึกษา 27 การวิเคราะห์ข้อมูล 28 สรุปผลการศึกษา 29 บรรณานุกรม
  • 7. บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา เนื่องจากในปัจจุบันสีที่ใช้ย้อมเสื้อผ้านั้นมักทามาจากสารเคมี มีราคาสูง และสารเคมีที่ใช้อาจม อันตรายต่อร่างกาย ของเราได้ การย้อมสีผ้าด้วยสีธรรมชาติเป็นทางเลือกที่ดี และนับเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอ ดันมาแต่ในอดีต โดยกระบวนการย้อมสามารถหาสีย้อมได้จากวัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น ซึ่งเป็นเศษวัสดุ เหลือใช้ มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งยังนาของที่เหลือใช้มาสร้างมูลค่าเพิ่ม เสื้อ ผ้าที่เราสวมใส่กันอยู่เป็นประจาสวยเด่นนาแฟชั่นเพียงใดหลายคนทราบดี แต่สาหรับขั้นตอนการ ผลิตนั้นคงยากที่ใครจะสนใจว่าปลอดภัย จากสารพิษหรือไม่และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพราะถือ เป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้วมันใกล้ปากเราเพียงนิดเดียว เนื่องจากมีการใช้สารพิษในกระบวนการผลิตที่มี ผลกระทบต่อแหล่งน้าและอาหารของ มนุษย์ ซึ่งในอนาคตหากไม่มีการป้องกันจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั่ว โลก ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญของการใช้สีย้อมผ้าจากเศษวัสดุจากธรรมชาติแทนการใช้สี ย้อมผ้าจากสารเคมี ทั้งนี้จึงเลือกใช้เศษวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติ ได้แก่ เปลือกมังคุด ซึ่งมังคุดได้ชื่อว่าเป็น ราชินีผลไม้ประจา จังหวัดจันทบุรี เปลือกมังคุดจึงหาได้ง่ายในท้องถิ่น อีกทั้งคณะผู้จัดทายังค้นคว้าสีย้อมอื่นๆ เพิ่มเติมดังนี้ ดอกอัญชันแห้ง ดอกดาวเรือง ดอกอัญชันแห้ง มังคุด หอมหัวใหญ่ กล้วย ขมิ้น ขี้เหล็กบ้าน ซึ่ง เป็นวัสดุเหลือใช้ที่หาได้ง่ายในครัวเรือน ให้สีที่ติดทน เป็นการเพิ่มมูลค่าให้วัสดุเหลือใช้ ยังเป็นการประหยัด ค่าใช้จ่ายด้วย 2 วัตถุประสงค์ ศึกษาสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติทาปฏิกิริยากับสารช่วยสีติดชนิดใดได้สีที่สวยที่สุด 3 สมมติฐาน การย้อมผ้าจากธรรมชาติ เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ การย้อมผ้าจากธรรมชาติ สามารถสร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าทอ การย้อมผ้าจากธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4 ขอบเขตการศึกษา 4.1 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นม 5 โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จานวน 808 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นม 5 ห้อง 16โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวง วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จานวน 40 คน 4.2 ขอบเขตด้านสถานที่ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม
  • 8. 4.3 ขอบเขตเนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในกาศึกษาเป็นเนื้อหาที่เลือกจากปัญหาที่ผมในสารเคมีในผ้ามัดย้อมที่ส่งผลต่อ การแพ้ 4.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา ทาโครงงานในช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม พ.ศ. 2566 5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6.1 ได้ผลิตภัณฑ์สีย้อมผ้าจากธรรมชาติที่มีสีสันสวยงาม 6.2 เป็นการนาเศษวัสดุเหลือใช้ที่ได้จากธรรมชาติในท้องถิ่น มาเพิ่มมูลค่า
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารและการวิจัยที่งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมีหัวข้อดังต่อไปนี้ 1 ประวัติของผ้ามัดย้อม 2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม 3 การออกแบบผ้ามัดย้อม 4 วิธีการย้อม 5 คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม 6 แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม 7 สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ 8 ประวัติและสรรพคุณของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้า 1 ประวัติของผ้ามัดย้อม การทาผ้ามัดย้อมอาจเริ่มเกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจของคนสมัยโบราณ โดยนักมนุษยวิทยาสันนิษฐานว่า อาจ มี แนวความคิดมาจากการฟอกสีออกด้วยแสงอาทิตย์โดยบังเอิญ ซึ่งหลักฐานความรู้ที่พอจะเชื่อถือได้แสดงให้ เห็นว่า ประเทศในยุคแรก ๆ ที่มีการมัดย้อมผ้า คือ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และแอฟริกาที่มีความคุ้นเคย กับเทคนิคการใช้ สีย้อมที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ในประเทศอินเดีย ผ้ามัดย้อมจะเป็นที่รู้จักกันในชนบท สมัยก่อน ซึ่งพบหลักฐานจาก เศษผ้าเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ ปีก่อน สะท้อนให้เห็นถึงความรู้และประสบการณ์ใน การใช้สีย้อม เช่น สาหรี เป็นต้น หรือ ชนเผ่ายิบซีที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ก็ปรากฏให้เห็นศิลปะ ของการมัดย้อมผ่านเครื่องแต่งกายในปัจจุบัน ส่วนในบาหลี ประเทศอินโดนีเซียก็มีศิลปะของการมัดย้อม เช่นเดียวกัน โดยจะเรียกการมัดย้อมนี้ว่า เปลังกิ เป็นต้น 2 วัสดุอุปกรณ์ในการทาผ้ามัดย้อม 1.ผ้า 2.สบู่ 3.ดอกอัญชัน 4.หม้อสแตนเลส 5.ไม้พาย 6.เตาแก๊ส 7.กะละมัง 3.การออกแบบผ้ามัดย้อม
  • 10. การออกแบบลายผ้าโดยการพับจีบแล้วมัดนั้นเป็นเทคนิคที่กว้าง มีอิสระในการออกแบบลวดลายและ วิธีมีดได้หลายอย่าง ทั้งนี้เนื่องจากหัวใจหลักของการพับจีบแล้วมัด คือ “การหาวิธีให้ผ้าได้สัมผัสสีโดยทั่วถึง เฉพาะบริเวณภายนอกที่ไม่ได้กันสีหรือมัด” ดังนั้น การจะพับเป็นจีบ การมัดผ้า การนาเอาวัสดุอื่นเข้าไปใน ผืนผ้าแล้วมัดให้เป็นจีบ ยังเป็นวิธีการที่ให้ผ้าสัมผัสได้น้าสี และไม่ซึมเข้าในขอบเขตที่ได้มัดไว้รูปร่างของ ลวดลายจะเกิดจากรอยพับจีบมัด และรอยพับจีบของผ้าที่ห่อห้อมวัสดุอื่น หรือรอยอันเกิดจากการมัด ลวดลายจากการมัดย้อมเกิดจากการ ผูก มัด เย็บ หนีบ หรือ การสกัดสี ในส่วนใดส่วนหนึ่งของผ้าที่ผู้ย้อมไม่ ต้องการให้เกิดสีที่จะย้อมในครั้งนั้น โดยใช้วัสดุต่าง เช่น ยางรัด เชือก เหรียญ เชือกฝาง ไม้หนีบ ด้าย หรือ ถุงพลาสติก มาเป็น วัสดุช่วยในการกัดสี ร่วมกับการม้วน พับ จับ จีบ ขยาย หรือการเย็บผ้า ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ ของลายที่แตกต่างกันออกไปที้งนี้ขึ้นอยู่ กับวิธีการในการออกแบบสีและการผสมผสานเทคนิคต่างเข้าไป ด้วยกันของผู้ย้อม 4 วิธีการย้อม วิธีการย้อมสีมีวิธีการย้อมด้วยกัน 3 วิธี 1. การย้อมแบบจุ่ม ต้องเอาผ้าที่ต้องการย้อมจุ่มลงในน้าย้อมที่มีตัวสีย้อมและสารช่วยย้อมละลาย รวมกันมีความเข้มข้นที่เหมาะสม ผ้าที่ย้อมจะเคลื่อนไปไหวโดยกระบวนการเชิงกล หรือในทางกลับกันน้าจะ ไหลเวียนโดยผ้านั้นหยุดนิ่ง กล่าวคือน้าเคลื่อนที่หรือผ้าเคลื่อนที่มีจุดมุ่งหมายให้ย้อมผ้าได้พอดีสีติดอย่าง สม่าเสมอ 2. ย้อมแบบต่อเนื่องเป็นวิธีย้อมสีโดยผ้าผ่านมาจากเครื่องย้อมที่ทาหน้าที่อย่างหนึ่งไปสู่เครื่องย้อมที่ ทาหน้าที่อีกอย่างหนึ่งจนกว่าจะย้อมเสร็จ เริ่มจากการผ่านผ้าลงจุ่มในน้าสีส่งไปบีบเอาน้าออกให้เหลือเพียง เท่าที่ต้องการ ส่งไปทาให้สีรวมตัวและทาให้ติดผ้า 3. ย้อมด้วยการระบายสีหรือพิมพ์สีลงบนผืนผ้าให้เนื้อสีซึมติดเส้นใยผ้าจากด้านบนลงล่าง สีจะซึมลง ในเน้อผ้าทั้งสองด้านการระบายซ้าจึงทาให้สีติดเส้นใยเข้มและแน่น ส่วนการพิมพ์ผ้าสีติดผ้าเฉพาะด้านหลัง เท่านั้น 5 คุณสมบัติของผ้ามัดย้อม คุณลักษณะของผ้าหรือเส้นใยผ้าแต่ละชนิดที่ทนต่อสภาพการณ์บางอย่างแตกต่างกัน การดูดซึมสี แตกต่างกันรวมทั้งมีลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงมีความสาคัญที่ผู้บริโภคควรรู้ชนิดของเส้นใยผ้าที่ แตกต่างกันย้อมมีผลทาให้คุณสมบัติของผ้าแตกต่างกัน คุณสมบัตินี้บางทีทาให้ผ้าน่าใช้ดูแลง่ายสามารถนามา ตกแต่งแปรรูป ย้อมสีเขียนลวดลาย และเลือกสีใช้ได้เหมาะสม 6 แนวคิดในการใช้ผ้ามัดย้อม เทคนิคการใช้ผ้ามาผูกแล้วย้อมสี หรือการมัดย้อมนี้มีที่ใช้อย่างไม่จากัดแบะเพิ่งมีการสนใจอย่าง จริงจัง ศิลปินได้พยายามผสมผสานวิธการต่าง ๆ เพื่อให้ได้รูปแบบต่าง ๆ ในมิติใหม่ ๆ นอกเหนือไปจากรูปแบบ
  • 11. ที่ทาได้อยู่เดิม สิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับจินตนาการความหลักแหลมและความสามารถในการออกแบบของแต่ละคน ว่าสามารถทาได้แปลกใหม่แค่ไหน การเย็บและสอยมักจะเป็นวิธีการที่ไปด้วยกันกับเทคนิคการทาผ้ามัดย้อม โดยธรรมชาติอยู่แล้ว หลังจากที่แก้ที่ผูกออก ผ้าจะยังคงมีรอยยับเพราะการบิดของเนื้อผ้าศิลปินมากคนได้ ออกแบบอย่างอย่างฉลาดได้โดยการใช้ด้ายและเข็มเย็บบริเวณที่เป็นรอยผูก เป็นการจัดแบบให้มีพื้นผิวนูน 7.สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ สีที่ได้จากธรรมชาติ เป็นความรู้ดั่งเดิมที่สืบทอดกันมาจากปู่ย่าตายาย แหล่งวัตถุดิบสีธรรมชาติยัง สามารถหาได้จากต้นไม้ ใบไม้ ที่ให้สีสันสวยงามตามที่เราต้องการและหาได้ไม่ยาก ซึ่งปัจจุบันมีกาส่งเสริมให้ใช้ วัสดุจากธรรมชาติกันมากขึ้น เพราะผลิตภัณฑ์ที่ได้จากธรรมชาติจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก และ กรรมวิธีผลิตที่แตกต่างกัน ทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความสวยงามและหลากหลาย 1 การย้อมสีเขียวจากเปลือกต้นเพกา เอาเปลือกเพกามาหั่น หรือสับให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ นาไปต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถั่ว แปบเอาแต่น้าใสเติมลงไปใส่น้ามะเกลือกเล็กน้อย ใส่ปูนขาวและใบส้มป่อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรอง ให้เหลือแต่น้าสีพร้อมที่จะย้อม นาเอาน้าย้อมตั้งไฟพออุ่น นาด้ายฝ้ายซึ่งซุบน้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ต้องการ ยกด้ายฝ้ายออก ซักน้าสะอาดใส่ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สี เขียวตามต้องการ 2 การย้อมสีดาจากเปลือกสมอ ให้เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งจนงวดพอสมควร รินเอาแต่น้าใส่หม้อดิน เอาด้ายฝ้ายที่เตรียม ไว้ลงย้อมขณะที่น้าสียังร้อนอยู่ จะได้สีดาแกมเขียวเข้ม ถ้าต้องการได้สีเขียว ใช้ด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมสี ครามมาย้อมจะได้สีเขียวตามต้องการ 3 การย้อมสีเขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร รินเอาแต่น้าใส่หม้อดิน เอา ด้ายฝ้ายที่ผ่านการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในน้าสีที่ยังร้อนอยู่ ต้มต่อไปประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีดูดซึมอย่างสม่าเสมอ พอได้สีตามต้องการยกด้ายฝ้ายขึ้นกระตุก ตากให้แห้ง จะได้สีเขียวตามต้องการ 4 การย้อมสีจากเปลือกรกฟ้า โดยการแช่เปลือกต้นรกฟ้าในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วันแล้วตั้งไฟต้ม ให้เดือด จนเห็นว่าสีออก หมดดีแล้ว จึงเทน้าย้อมใส่ลงในอ่างย้อมหมักแช่ไว้ 1 คืน นาเอาเปลือกไม้ผึ่งแดด จนแห้ง เก็บไว้ใช้ต่อไป สีเปลือกไม้นี้ถ้าถูกต้มจะกลายเป็นสีดาได้ 5 การย้อมสีกากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน
  • 12. เอาเปลือกเพกาสด ๆ มาล้างน้า ผึ่งแดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหั่นหรือไสให้เป็นชิ้น บาง ๆ แบ่งเอามา 1 ส่วน ผสมกับเปลือกเพกา 3 ส่วน ต้มเคี่ยวให้น้าเดือดแล้วกรองเอาแต่น้า เวลาย้อม เติมน้าสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้สีติดดีและทนทาน การย้อมเอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้าแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อม หมั่นกลับด้ายฝ้ายไปมา เพื่อให้สีติดสม่าเสมอ ไม่ด่าง จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้าให้สะอาดบิดกระตุก ตาก 6 การย้อมสีน้าตาลแก่จากเปลือกไม้โกงกาง นาเอาเปลือกไม้โกงกางที่แห้งพอหมาด มาล้างน้าให้สะอาด แช่น้าไว้ 1 คืน แล้วต้มเคี่ยวไว้ 2 วัน กรองเอาแต่น้าย้อมใส่สารเคมีไฮโดรเจนซัลไฟต์ ผสมลงในน้าย้อมเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดีขึ้น เอาด้ายฝ้าย ที่ชุบน้าพอหมาดจุ่มลงในน้าย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกด้ายฝ้ายขึ้นซักน้า บิดให้แห้ง กระตุกด้ายฝ้ายให้ กระจาย ตากแดด 7 การย้อมสีเปลือกไม้โกงกาง แช่เปลือกไม้โกงกางในปริมาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้วตั้งไฟต้มให้เดือด จนเห็นว่าสีออกหมดดี แล้ว จึงเทน้าย้อมใส่ลงใสอ่างย้อม หมักแช่ไว้ 1 คืน นาเอาเปลือกไม้ผึ่งแดดจนแห้งเก็บไว้ใช้ต่อไป สี เปลือกไม้นี้ถ้าถูกต้มจะกลายเป็นสีดาได้ แต่ทนน้าเค็ม 8 การย้อมสีด้วยรากยอ เอารากยอแห้งที่มีอายุสักหน่อย เพื่อจะให้ได้สีเข้มมาสับหรือหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นาไปต้มน้าเดือด น้าสี จะเป็นสีแดงจึงยกลง กรองเอาแต่น้าสี นาเอาด้ายฝ้ายซึ่งเตรียมจะย้อมชุบน้าให้เปลือกพอหมาดลงแช่ในน้าสี ประมาณ 30 นาที หรือกว่านั้น หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพื่อให้สีติดด้ายฝ้ายอย่างทั่วถึง แล้วนาด้าย ฝ้ายที่ย้อมขึ้นจากหม้อบิดพอหมาด นาไปล้างน้าสะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง จะได้ด้ายฝ้ายที่ย้อมเป็นสีแดงตาม ต้องการ 8 การย้อมสีด้วยเมล็ดคาแสด วิธีเตรียมสีจากเมล็ดคาแสด แกะเมล็ดออกจากผลที่แก่จัด แช่น้าร้อนหมักทิ้งไว้หลาย ๆ วัน จนสารสี ตกตะกอน แยกเมล็ดออก นาน้าสีที่ได้ไปเคี่ยวจนงวดเกือบแห้งแล้วนาไปตากแดด จนแห้งเป็นผงเก็บไว้ใช้ 9 วิธีย้อมสีผ้าฝ้าย ละลายสีเช่นเดียวกับการย้อมผ้าฝ้าย แต่นาผ้าไหมที่ต้องการย้อมแช่ไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง และเติม สบู่ลงเล็กน้อยลงไปในสีที่ใช้ย้อม ถ้าต้องการให้ผ้ามีสีเหลืองเพิ่มขึ้นให้เติมกรด tataric ลงไปเล็กน้อย ผ้าที่ ย้อมด้วยสีจากเมล็ดคาแสดที่จะไม่ตกง่ายเมื่อถูกับสบู่ หรือกรดอ่อน ๆ 10 การย้อมสีดาจากลูกมะเกลือ
  • 13. นาเอาลูกมะเกลือมาตาละเอียด แล้วแช่ในน้า ในน้าที่แช่นี้เอารากลาเจียก หรือต้นเบงตาปนกับลูก มะเกลือ แล้วเอาด้ายฝ้ายที่ลงน้าแล้วบิดพอหมาดลงย้อมในน้าย้อม สัก 3-4 ครั้ง การย้อมทุกครั้งต้องตาก แดดให้แห้งจนเห็นว่าดาสนิทดี ถ้าต้องการให้ผ้าเป็นเงาใช้งาดาตาละเอียด นาด้ายฝ้ายมาคลุกเคล้าให้ทั่ว ผึ่ง ไว้สักพัก กระตุกตาก 11 การย้อมอีกวิธีหนึ่งคือ เอาลูกมะเกลือที่แช่น้าทิ้งไว้นั้นในปริมาณที่ต้องการมาตาให้ละเอียดพร้อมกับใบหญ้าฮ่อมเกี่ยวแล้ว เอาไปแช่ในน้าด่าง (ได้จากต้นมะขามเผาไฟให้เป็นขี้เถ้า แล้วละลายน้ากรองเอาน้าใส ๆ จะได้น้าย้อมที่ ต้องการ) นาเอาด้ายฝ้ายที่ลงน้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ใช้มือช่วยบีบด้วยฝ้ายเพื่อให้สีดูดซึมอย่าง ทั่วถึง ปล่อยทิ้งสักพักแล้วยกขึ้นจากอ่างน้าย้อม ซักให้สะอาดกระตุกตากให้แห้ง 12 การย้อมสีแดงจากดอกคาฝอย นาดอกคาฝอยมาตาให้ละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบางผสมน้าด่างเพื่อให้เกิดสี (น้าด่างได้จากการนาต้น ผักขมหนามที่แก่จนเป็นสีแดงหรือน้าตาลมาตากให้แห้งสนิทแล้วนาไปเผาไฟให้เป็นขี้เถ้า ผสมกับน้าทิ้งให้ ตกตะกอน รินเอาแต่น้าใส ๆ มาผสมกับสี) ส่วนวิธีย้อมทาโดยนาดอกคาฝอยมาต้มให้น้าออกมาก ๆ จน เหนียว เก็บน้าสีไว้ จากนั้นเอาแก่นไม้ฝางมาไสด้วยกบบาง ๆ แล้วต้มให้เดือดนานประมาณ 6 ชั่วโมง ช้อนกากทิ้ง เวลาจะย้อมฝ้าย นาเอาน้าย้อมที่ต้มแล้วทั้งสองอย่างมาเทรวมเข้าด้วยกัน แล้วเติมสารส้มลงไป เล็กน้อย คนให้เข้ากันดีนาฝ้ายที่ชุบน้าและตีเส้นให้กระจายลงย้อมในอ่างย้อม 13 การย้อมสีเขียวจากใบหูกวาง เอาใบหูกวางมาตาคั้นเอาแต่น้าสีกรองให้สะอาดต้มให้เดือดเอาฝ้ายที่เตรียมไว้ ลงย้อมจะได้เป็นสี เขียวอ่อน หมั่นยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมา เพื่อไม่ให้ด้ายฝ้ายด่าง และสีย้อมจะได้ติดทั่วถึง พอได้ความเข้ม ของสีติดด้ายฝ้ายตามต้องการจึงยกขึ้นบิดพอหมาด ซักน้าสะอาดผึ่งให้แห้ง 14 การย้อมสีจากคราม ตัดต้นครามมาม้วนและมัดเป็นฟ่อน ๆ นาไปแช่น้าไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ประมาณ 2-3 วัน จนใบ ครามเปื่อย จึงแก้มัดครามออกเพื่อให้ใบครามหลุดออกจากลาต้น นาลาต้นทิ้งไป เอาปูนขาวในอัตราส่วนที่ เหมาะสมกันกับน้าที่แช่ครามผสมลงไปแทนต้นคราม จากนั้นนาเอาขี้เถ้าซึ่งได้จากเหง้ากล้วยเผาจนดา ผสม ลงไป ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 คืน จนกว่าน้าที่กวนใส รินน้าที่ใสออกทิ้ง จะได้น้าสีครามตามต้องการ อาจใช้ผ้า ขาวบางกรองเพื่อจะได้น้าสีครามที่ละเอียด นาด้ายไปขยาในหม้อคราม พยายามอย่าให้ด้ายฝ้ายพันกัน ให้น้า สีกินเข้าไปในเนื้อด้ายฝ้ายอย่างทั่วถึง จนกระทั่งได้สีเข้มตามต้องการ จึงยกด้ายฝ้ายขึ้นจากหม้อ บิดให้ หมาดล้างน้าสะอาด นาไปขึ้นราวตากให้แห้ง
  • 14. 15 การย้อมสีชมพูจากต้นมหากาฬและต้นฝาง เอาเปลือกของต้นมหากาฬมาสับให้ละเอียดต้มในน้าเดือดประมาณ 1 ชั่วโมง แล้วช้อนเอาเปลือก ออก เติมไม้ฝางซึ่งผ่าเป็นชิ้นเล็ก ๆ ลงไปต้มในน้าเดือดนาน 1 ชั่วโมง เติมใบส้มป่อยลงไปอีก 1 กา ต้มต่อไป อีกเล็กน้อย ช้อนเอากากออกแล้วเติมน้าด่างลงไป จะได้น้าย้อมสีชมพูจึงเอาด้ายฝ้ายที่ชุบน้าบิดพอหมาด จุ่ม ลงไปในอ่างย้อม ตั้งไฟต้มนาน 30 นาที ยกขึ้นจากอ่างย้อมนาไปซักน้าบิดให้แห้งกระตุกให้เส้นด้ายกระจาย ตากแดด 16 การย้อมสีเหลืองจากแก่นขนุน นาแก่นขนุนที่แห้งแล้วมาหั่นหรือไสด้วยกบเบา ๆ ใช้มือขยาให้ป่นละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบาง แล้ว ต้มประมาณ 4 ชั่วโมง ดูว่าสีนั้นออกตามความต้องการหรือยังเมื่อใช้ได้ช้อนเอากากทิ้งกรองเอาน้าใสเติมน้า สารส้มเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดี เอาด้ายฝ้ายซึ่งชุบน้าพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม กลับด้ายฝ้ายไปมานาน 1 ชั่วโมง เอาขึ้นจากอ่างย้อม ซักน้าสะอาดกระตุกตาก 17 การย้อมสีเหลืองจากแก่นแกแล ใช้ส่วนของแก่นแกเลย้อมผ้าจะได้สีเหลือง ซึ่งจะมีสารสีเหลืองชื่อ Morin อยู่ประมาณ 1% ให้ นาเอาแก่นแกแลมาตากให้แห้งแล้วผ่าให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่หม้อต้มเดือด จนน้าต้มสีเป็นสีเหลืองจึงยกลง และ นาเอาไปกรองเก็บน้าสีไว้ เอาแกแลที่กรองไว้ไปต้มน้าให้เดือดต่อไปจนได้น้าสีจากแกแล ซึ่งสีอ่อนกว่าหม้อ แรก เก็บน้าสีไว้ทาแบบเดียวกัน จนได้น้าสีครบ 3 หม้อ จะได้น้าสีอ่อนสุดถึงแก่สุด นาเอาด้ายฝ้ายที่เตรียมไว้ ลงย้อมในน้าสีหม้อที่ 3 ซึ่งเป็นสีอ่อนสุดยกด้ายฝ้ายกลับไปกลับมาเพื่อให้น้าสีเข้าไปในเนื้อฝ้ายได้ทั่วถึงไม่ด่าง ทิ้งไว้สักพักจึงยกด้ายฝ้ายขึ้นบิดพอหมาด นาไปย้อมในหม้อที่ 2 และหม้อที่ 1 ทาแบบเดียวกัน จนย้อมได้ครบ 3 หม้อ นาด้ายฝ้ายขึ้นซักน้าสะอาดจนสีไม่ตก เอาเข้ารางผึ่งให้แห้ง
  • 15. 10 ประวัติของดอกไม้และผลไม้ที่นามาย้อมผ้าและสรรพคุณ 1 ดอกอัญชันแห้ง อัญชัน ชื่อสามัญ Butterfly pea, Blue pea อัญชัน ชื่อวิทยาศาสตร์Clitoria ternatea L. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือLEGUMINOSAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยถั่ว FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE) สมุนไพรอัญชัน มีชื่อท้องถิ่น อื่น ๆ ว่า แดงชัน (เชียงใหม่), เอื้องชัน (ภาคเหนือ) เป็นต้น อัญชัน เป็นพืชที่มีต้นกาเนิดในแถบอเมริกาใต้ปลูก ทั่วไปในเขตร้อน ลักษณะของดอกอัญชันจะมีสีขาว สีฟ้า สี ม่วง ส่วนตรงกลางดอกจะมีสีเหลือง และรูปทรง คล้ายหอยเชลล์มีสรรพคุณที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะมี สารที่ชื่อว่า "แอนโทไซยานิน" (Anthocyanin) ซึ่งมีหน้าที่ไปช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ทาให้เลือดไป เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ดีมากขึ้น เช่น ไปเลี้ยงบริเวณ รากผม ซึ่งช่วยทาให้ผมดกดา เงางาม หรือไปเลี้ยงบริเวณ ดวงตาจึงช่วยบารุงสายตาไปด้วยในตัว หรือไปเลี้ยง บริเวณปลายนิ้วมือ ซึ่งก็จะช่วยแก้อาการเหน็บชาได้ด้วย และที่สาคัญสารนี้ยังมีความโดดเด่นที่ใครหลาย ๆ คน ยังไม่ทราบ นั่นก็คือช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดเส้น เลือดอุดตันได้ และการ "กินดอกอัญชันทุกวัน...วันละ หนึ่งดอก" จะช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบได้อีกด้วย เนื่องจากดอกอัญชันนั้นมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด สาหรับผู้มีเลือดจางห้ามรับประทานดอกอัญชันเด็ดขาด หรืออาหารเครื่องดื่มที่ย้อมสีด้วยอัญชันก็ไม่ควรรับประทานบ่อย ๆ สรรพคุณของอัญชัน 1. น้าอัญชันมีส่วนช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย 2. เครื่องดื่มน้าอัญชันช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกายและเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย 3. มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและริ้วรอยแห่งวัย 4. ดอกมีส่วนช่วยในการบารุงสมอง เพิ่มการไหลเวียนเลือด 5. ดอกอัญชันมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด 6. ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตีบ
  • 16. 7. ช่วยรักษาอาการผมร่วง (ดอก) 8. อัญชันทาคิ้ว ทาหัว ใช้เป็นยาปลูกผม ปลูกขนช่วยให้ดกดาเงางามยิ่งขึ้น (น้าคั้นจากดอก) 9. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดเส้นเลือดอุดตัน 10. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจอุดตัน 11. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเร็งด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ 12. ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือดของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน 13. อัญชันมีคุณสมบัติในการช่วยล้างสารพิษและของเสียออกจากร่างกาย 14. ช่วยบารุงสายตา แก้อาการตาฟาง ตาแฉะ (น้าคั้นจากดอกสดและใบสด) 15. ช่วยป้องกันโรคต้อกระจก ต้อหิน ตาเสื่อมจากโรคเบาหวาน (ดอก) 16. ช่วยเพิ่มความสามารถในการมองเห็นให้ดียิ่งขึ้น 17. น ารากไปถูกับน้าฝน นามาใช้หยอดตาและหู (ราก) 18. นามาถูฟันแก้อาการปวดฟันและทาให้ฟันแข็งแรง (ราก) 19. ใช้เป็นยาระบาย แต่อาจทาให้คลื่นไส้อาเจียนได้ (เมล็ด) 20. ใช้รากปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ (ราก,ใบ) 21. แก้อาการปัสสาวะพิการ 22. ใช้แก้อาการฟกช้า (ดอก) 23. ช่วยป้องกันและแก้อาการเหน็บชาตามนิ้วมือนิ้วเท้า 24. นามาทาเป็นเครื่องดื่มน้าอัญชันเพื่อใช้ดับกระหาย 25. ดอกอัญชันตากแห้งสามารถนามาชงดื่มแทนน้าชาได้เหมือนกัน 26. ดอกอัญชันนามารับประทานเป็นผัก เช่น นา มาจิ้มน้าพริกสด ๆ หรือนามาชุบแป้งทอดก็ได้ 27. น้าดอกอัญชันนามาใช้ทาเป็นสีผสมอาหารโดยให้สีม่วง เช่น ขนมดอกอัญชัน ข้าวดอกอัญชัน (ดอก) 28. ช่วยปลูกผมทาให้ผมดกดาขึ้น (ดอก) 29. ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ อย่าง ครีมนวดผม ยาสระผม เป็นต้น 30. นิยมนามาปลูกไว้ตามรั้วบ้านเพื่อความสวยงาม 2 ดอกดาวเรือง
  • 17. ดาวเรืองชื่อสามัญAfrican marigold, American marigold, Aztec marigold, Big marigold ดาวเรืองชื่อวิทยาศาสตร์ Tagetes erecta L. จัดอยู่ในวงศ์ทานตะวัน (ASTERACEAE หรือ COMPOSITAE) สมุนไพรดาวเรือง มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ดาวเรืองใหญ่ (ทั่วไป), คาปู้จู้หลวง (ภาคเหนือ), พอทู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), บ่วงซิ่วเก็ก (จีนแต้จิ๋ว), ว่านโซ่วจวี๋ (จีนกลาง), บ่วงลิ่วเก็ก เฉาหู่ย้ง, กิมเก็ก (จีน), ดาว เรืองอเมริกัน เป็นต้น ลักษณะของดาวเรือง 1 ต้นดาวเรืองเป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก โดยจัดเป็นไม้ล้มลุก มีอายุได้ราว 1 ปี ล า ต้น ตั้งตรงมีความสูงประมาณ 60-100 เซนติเมตร แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น ลาต้นเป็นสีเขียวและเป็นร่อง ทั้ง ต้น เมื่อนามาขยี้จะมีกลิ่นเหม็น จึงทาให้แมลงไม่ค่อยมารบกวน โดยจัดเป็นพันธุ์ไม้กลางแจ้ง ขยายพันธุ์ด้วย เมล็ด เป็นหลัก (แต่อาจจะใช้การปักชาได้ แต่ต้นที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่า) เจริญเติบโตได้เร็ว ชอบดินร่วน ระบาย น้าได้ ดี มีความชื้นปานกลาง และชอบแสงแดดแบบเต็มวัน โดยแหล่งเพาะปลูกดาวเรืองที่สาคัญของประเทศ ไทย ได้แก่ จังหวัดลาปาง พะเยา ราชบุรี นนทบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร อุดรธานี และกรุงเทพฯ เป็นต้น[10] โดย ดาวเรืองที่พบเห็นและปลูกกันมากในปัจจุบันจะมีอยู่ 5 ชนิด ได้แก่ ดาวเรืองอเมริกัน (Tagetes erecta), ดาวเรืองฝรั่งเศส (Tagetes patula), ดาวเรืองนักเก็ต (Triploid Marigold), ดาวเรืองซิกเน็ต (Tagetes tenuifolia หรือ Tagetes signata pumila) และดาวเรืองใบ (Tagetes filifolia) 2 ใบดาวเรือง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ปลายใบคี่ ออกเรียงตรงข้ามกัน มีใบย่อยประมาณ 11- 17 ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ฟัน ใบมีขนาดกว้าง ประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร เนื้อใบนิ่ม 3 ดอกดาวเรือง ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวตามปลายยอด ดอกเป็นสีเหลืองสดหรือสีเหลืองปนส้ม กลีบ ดอกมีขนาดใหญ่เรียงซ้อนกันหลายชั้นเป็นวงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 5-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ปลายกลีบดอกเป็นฟันเลื่อย มีเกสรเพศผู้ 5 ก้านโดยดอกจะแบ่งออกเป็น
  • 18. 2 ลักษณะ คือ ดอกวงนอกมีลักษณะคล้ายลิ้นหรือเป็นรูปรางน้าซ้อนกันแน่น บานแผ่ออกปลายม้วนลง มี จานวนมาก เป็นดอกที่ไม่สมบูรณ์เพศ โคนกลีบดอกเป็นหลอดเล็ก ส่วนดอกวงในเป็นหลอดเล็กอยู่ตรงกลางช่อ ดอก มีจานวนมากและเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ ส่วนกลีบเลี้ยงดอกเป็นสีเขียวเชื่อมติดกันหุ้มโคนช่อดอก ก้าน ชูดอกยาว 4 ผลดาวเรือง ผลเป็นผลแห้งสีดาไม่แตก ดอกจะแห้งติดกับผล[1] โคนกว้างเรียวสอบไปยังปลาย ซึ่งปลายผล นั้นจะมี สรรพคุณของดาวเรือง 1. ดอกและรากมีรสขมเผ็ดเล็กน้อย มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอดและตับ (ดอก, ราก) 2. ดอกใช้เป็นยาฟอกเลือด (ดอก) ในอินเดียจะใช้น้าคั้นจากช่อดอกเป็นยาฟอกเลือด (ดอก) 3. ใช้ใบแห้งประมาณ 5-10 กรัม นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้เด็กเป็นตานขโมย (ใบ) 4. ช่วยแก้อาการเวียนศีรษะ ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัม ต้มกับน้าดื่ม (ดอก) 5. ดอกช่วยบารุงสายและถนอมสายตาได้ดี ในตารายาจีนจะนาดอกมาปรุงกับตับไก่ใช้กินเป็นยาบารุง สายตาได้ดี (ดอก) 8 6. ช่วยแก้ตาเจ็บ ตาบวม ตาแดง ปวดตา ด้วยการใช้ดอกแห้งประมาณ 10-15 กรัม นามาต้มกับน้า รับประทาน (ดอก) 7. ดอกใช้รักษาคางทูม ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัม นามาต้มกับน้าดื่ม (ดอก) 8. ดอกใช้เป็นยาแก้ไข้สูงในเด็กที่มีอาการชัก (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 9. ช่วยแก้อาการร้อนใน (ดอก) 10. ช่วยแก้อาการไอหวัด ไอกรน ไอเรื้อรัง ด้วยการใช้ดอกสดประมาณ 10-15 ดอก นามาต้มกับน้า ผสม กับน้าตาลรับประทาน (ดอก) 11. ช่วยขับและละลายเสมหะ ด้วยการใช้ดอกประมาณ 3-10 กรัมนามาต้มกับน้าดื่ม (ดอก) 12. น้าคั้นจากใบใช้แก้อาการหูเจ็บ ปวดหู (ใบ) 13. ช่วยแก้อาการปวดฟัน ด้วยการใช้ดอกแห้ง 15 กรัมนามาต้มกับน้ารับประทาน (ดอก) 14. ช่วยรักษาปากเปื่อย (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 15. ช่วยแก้คอและปากอักเสบ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 16. ดอกใช้เป็นยาแก้หลอดลมอักเสบหรือระบบทางเดินหายใจติดเชื้อ โดยใช้ดอกสดประมาณ 10-15 ดอก นามาต้มกับน้าผสมกับน้ าตาลรับประทานส่วนอีกวิธีให้ใช้ดอกสด 30 ดอกผสมกับจี๋อ้วง (Astertataricus L.F.) สด 7 กรัม, จุยเฉี่ยวเอื้อง (Inula Helianthus-aquatilis C.Y. Wuex Ling) สด 10 กรัม นามาต้มกับน้า ดื่ม (ดอก) 17. ช่วยรักษาเต้านมอักเสบ เต้านมเป็นฝี โดยใช้ดอกแห้ง ดอกสายน้าผึ้ง (Lonicera japonica Thunb), เต่งเล้า (paris petiolata Bak. ex. Forb.) อย่างละเท่ากัน น ามาบดรวมกันเป็นผงผสมกับ น้าส้มสายชู คนให้เข้ากัน แล้วน ามาใช้พอกบริเวณที่เป็น (ดอก)
  • 19. 18. ดอกและทั้งต้นเป็นยาขับลม ทาให้น้าดีในลาไส้ท างานได้ดี (ดอก, ทั้งต้น) ส่วนตารับยาเภสัชของ เม็กซิโกจะใช้ช่อดอกและใบนามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาขับลม (ดอก, ใบ) 19. ช่วยแก้อาการจุกเสียด (ต้น) 20. รากใช้เป็นยาระบาย (ราก) 21. ช่วยแก้อาการปวดท้อง (ทั้งต้น) 22. ต้นนามาใช้ทาเป็นยารักษาโรคไส้ตันอักเสบหรือมีอาการปวดท้องขนาดหนักคล้ายกับไส้ติ่ง (ต้น) 23. ใบและช่อดอกนามาชงกับน้า ใช้เป็นยาขับพยาธิ (ดอก, ใบ) 24. ต ารับยาเภสัชของเม็กซิโกเคยมีการใช้ดอกและใบดาวเรืองน ามาต้มกับน้ าดื่มเป็นยาขับปัสสาวะ (ดอก, ใบ) 25. ดอกเป็นยาแก้ริดสีดวงทวาร (ดอก) โดยในอินเดียจะใช้น้ าคั้นจากช่อดอกดาวเรืองเป็นยาแก้ ริดสีดวง ทวาร (ดอก) 26. ดอกใช้เป็นยากล่อมตับ ดับพิษร้อนในตับ ด้วยการใช้ดอก 3-10 กรัมน ามาต้มกับน้ าดื่ม (ดอก) 27. รากใช้เป็นยาแก้พิษ แก้อาการบวมอักเสบ (ราก) 28. ดอกมีสรรพคุณเรียกเนื้อ ทาให้แผลหายเร็ว ด้วยการใช้ดอกนามาต้มเอาน้าใช้ชะล้างบริเวณที่เป็น แผล (ดอก) 9 29. ใบมีรสชุ่มเย็นและมีกลิ่นฉุน น้าคั้นจากใบสามารถนามาใช้เป็นยาทารักษาแผลเน่าเปื่อย หรือนามา ตาม ใช้เป็นยาพอกก็ได้ (ใบ) บ้างก็ใช้น้าคั้นจากใบนามาผสมกับน้ามันมะพร้าว เคี่ยวจนส่วนน้าระเหยหมด ใช้ เป็นยาทารักษาแผลเน่าเปื่อยและฝีต่าง ๆ (ใบ) 30. น้าคั้นจากใบใช้เป็นยาทาแก้ฝีต่าง ๆ ฝีฝักบัว ฝีพุพอง หรือนาใบมาตาพอก หรือต้มเอาน้าชะล้าง บริเวณที่เป็น อีกทั้งยังช่วยรักษาแผลฝี ตุ่มมีหนอง อาการบวมอักเสบโดยไม่รู้สาเหตุได้อีกด้วย (ใบ) 31. ต้นใช้เป็นยารักษาแก้ฝีลม (ต้น) 32. ในบราซิลจะใช้ช่อดอกนามาชงกับน้าดื่มเป็นยาแก้อาการปวดตามข้อ (ดอก) 33. ส่วนตารายาจีนจะ ใช้ดอกแห้ง ดอกสายน้าผึ้ง เต่งเล้า อย่างละเท่ากัน นามาบดรวมกันเป็นผง ผสม กับน้าส้มสายชูคนให้ เข้ากัน แล้วนามาใช้พอกบริเวณที่เป็น (ดอก) ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของดาวเรือง 1 ดอกหรือช่อดอกดาวเรืองมีสาร Flavonoid glycosides, Tagetiin 0.1% และมีสารเรืองแสง Terthienyl 15-21 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม ของดอกสด Helenien 74%, B-Carotene Flavoxanthin โดยสาร Helenien มีผู้กล่าวว่าสามารถช่วยทาให้เนื้อเยื่อตาดีขึ้นได้ 2 ทั้งต้นพบน้ามัน ระเหย เช่น Carotent, d-limonene, Flavoxanthin, Helenienm Nonanal, Ocimene, Tagetiin, Tagetone d-Terehienyl เป็นต้น 3 พบว่าในดอกมีสารฆ่าแมลงที่ชื่อว่า Pyrethrin และน้ ามันหอมระเหย ซึ่งแสดงฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรียและเชื้อในราในหลอดทดลองด้วย[2]
  • 20. 4 รากของต้นดาวเรืองมีสารชนิดหนึ่งชื่อว่า แอลฟ่า เทอร์เธียนิล (α-terthienyl) ซึ่งเป็นสารที่สามารถ ควบคุมปริมาณไส้เดือนฝอยในดินได้เป็นอย่างดี 5 ในใบดาวเรืองมีสารคาเอมพ์เฟอริตริน (Kaempferitrin) ซึ่งมีฤทธิ์แก้อาการอักเสบ ให้หนูตะเภากิน ใน ขนาด 50 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว พบว่าจะทาให้หลอดเลือดฝอยตีบตัน ทาให้เลือดหยุด เนื้อ หนังเจริญดีขึ้น และยังมีฤทธิ์ที่แรงกว่ารูติน (Rutin) อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีวิตามินพี (Vitamin P) ค่อนข้างสูง โดยสารนี้จะช่วยลดการเคลื่อนไหวของลาไส้เล็กที่แยกจากตัวของกระต่ายได้ทาให้จังหวะ การบีบตัวลดลง 6 เคยมีการใช้ดอกเป็นยาฆ่าเชื้อโรคและยาสงบประสาท โดยมีผลเช่นเดียวกับต้น Tagetes minuta L. หรือ Tagetes glandif lora ที่มีน้ามันหอมระเหย มีฤทธิ์ในการสงบประสาท ช่วยลดความดันโลหิต ขยายหลอด เลือดและหลอดลม และช่วยแก้อาการอักเสบ 7 ดาวเรืองมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย แผลเปื่อยเรื้อรังที่เป็นอาการที่เกิดจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งใน ผู้ป่วยเอดส์จะพบเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุและพบได้บ่อยคือ เชื้อ Staphylococcus aureus และ ได้มีการ ทดสอบสารสกัดจากส่วนต่าง ๆ ของต้นดาวเรือง เพื่อใช้ต้านแบคทีเรียชนิดนี้อยู่หลายการ ทดลอง เช่น มีการ ทดสอบสารสกัดเอทานอลจากส่วนเหนือดิน ที่ความเข้มข้น 5 มก./มล. กับ Staphylococcus aureus ในจาน เพาะเชื้อ พบว่ามีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียดังกล่าว แต่เมื่อได้ทาการ ทดสอบสารสกัดเอทานอล (95%) จากดอก ใบ และลาต้นดาวเรือง พบว่าสารสกัดดังกล่าวไม่มีฤทธิ์ ต้านเชื้อแบคทีเรียดังกล่าว และได้ทดลองใช้สารสกัด ดังกล่าวจากดอกแห้งดาวเรือง ความเข้มข้น 100 มก./แผ่น ก็ให้ผลการทดสอบเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีการ ทดสอบสารสกัดเอทานอลจากดอก ดาวเรืองกับเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกอีกหลายชนิด พบว่า สารสกัดดังกล่าว ไม่มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อ Staphylococcus aureus, จากการทดสอบน้ามันหอมระเหย (ไม่เจือจางและไม่ระบุ ส่วนที่ใช้) ใน จานเพาะเชื้อ ก็พบว่าน้ามันหอมระเหยไม่มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อ Staphylococcus aureus และ ถ้าใช้ 10 น้ามันหอมจากใบดาวเรือง (ไม่ทราบความเข้มข้น) ก็พบว่าให้ผลเช่นเดียวกัน, เมื่อทดสอบน้าสกัดจาก ดอก ใบ และลาต้นของดาวเรืองกับเชื้อ Staphylococcus aureus ก็พบว่าไม่มีฤทธิ์และยังทดสอบ ด้วยสาร สกัดเมทานอลจากดอกแห้งที่ความเข้มข้น 20 มก./แผ่น หรือสารสกัดเมทานอลจากดอกสด ความเข้มข้น 1.5 มก./มล. หรือสารสกัดเมทานอลจากใบสดความเข้มข้น 15 มก./มล. ก็พบว่าให้ผล เช่นเดียวกัน แต่เมื่อใช้สาร สกัดเมทานอลจากรากสดดาวเรือง ความเข้มข้น 0.8 มก./มล. กลับให้ผล การทดสอบที่ไม่แน่นอน นอกจากนี้ ยังได้มีการทดสอบสารสกัดเมทานอลจากพืชอีก 24 ชนิดในการ ต้านเชื้อแบคทีเรีย และได้พบว่า สารสกัดจาก ดอกดาวเรืองมีฤทธิ์ต้าน Staphylococcus aureus จริง และจากการทดสอบน้าสกัดและสารสกัดจากเอทา นอล (95%) พบว่า น้าสกัดจากใบและสาร สกัดเอทานอล (95%) จากดอกดาวเรือง ความเข้มข้น 1:1 มีฤทธิ์ใน การต้านเชื้อ Staphylococcus aureus แต่ผลการทดสอบสารสกัดทิงเจอร์จากดอกแห้งดาวเรือง ความเข้มข้น 30 มคก./แผ่น พบว่า ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphylococcus aureus 8 จากการทดสอบความเป็นพิษของดาวเรือง เมื่อฉีดสารสกัดเมทานอลจากดอกหรือรากสดดาวเรือง เข้าทางช่องท้องหนูถีบจักร พบว่า LD50 มากกว่า 2 ก./กก. และเมื่อใช้สารสกัดเอทานอล (50%) จากทั้งต้น ของดาวเรืองแทน พบว่า LD50 มากกว่า 1 ก./กก.
  • 21. 9 จากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ของดาวเรือง ได้มีการทดลองใช้ผงจากใบและดอกดาวเรือง โดย ใช้ภายนอกในการรักษาหูดที่ฝ่าเท้าของผู้ใหญ่จานวน 31 ราย โดยทาการทดลองแบบสุ่มเปรียบเทียบ กับ ยาหลอก จากผลการศึกษาพบว่าส่วนของพืชดังกล่าวมีพิษต่อเซลล์และเมื่อได้ทาการทดสอบ น้ามันหอมระเหย จากใบสดดาวเรืองกับเอมบริโอของไก่ (ไม่ทราบปริมาณความเข้มข้น) พบว่ามีพิษต่อ เซลล์ของสัตว์ทดลอง และ จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์พบว่ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น และไม่ พบฤทธิ์ต้านการแพ้หรือลดการ อักเสบ ทั้งนี้ก่อนมีการส่งเสริมให้ใช้ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อที่จะ ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาแผลได้ ประโยชน์ของดาวเรือง 1. ดอกสามารถนามาใช้ประกอบอาหารรับประทานได้ เช่น การนาดอกตูมมาลวกจิ้มกับ น้าพริก ใช้ แกล้มกับลาบ หรือจะใช้ดอกบานนาไปปรุงแบบยาใส่เนื้อ ทาน้ายาแบบรส หวานคล้ายกับน้าจิ้มไก่หรือน้าจิ้ม ทอดมัน เป็นต้น ส่วนทางภาคใต้นั้นจะนิยมนามาใช้เป็น ผักผสมในข้าวยา 2. ดอกดาวเรืองมีสารเบตาแคโรทีนจากธรรมชาติซึ่งคุณสมบัติของเบตาแคโรทีนนี้จะท า หน้าที่โปรวิ ตามินเอ เมื่อได้รับเข้าสู่ร่างกายแล้วจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอ นอกจากนี้ยังเป็น สารต่อต้านอนุมูลอิสระที่ช่วย ป้องกันการเกิดมะเร็งในตับและปอดของร่างกายอีกด้วย 3. ใช้น้าสกัดจากดอกดาวเรือง สามารถนามาใช้เพื่อป้องกันและกาจัดไส้เดือนฝอยในดินได้ โดยขนาดที่ ใช้คือกลีบดอกสด 3 กรัมปั่นในน้า 1 ลิตร ใช้เป็นยาฉีดพ่น 4. ดอกสามารถนามาใช้ในงานพิธีต่าง ๆ ใช้ร้อยเป็นพวงมาลัยเพื่อบูชาพระและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตามความ เชื่อ หรือนามาใช้เป็นดอกไม้ปักแจกันก็ได้เช่นกัน 5. ดอกใช้สกัดทาเป็นสีย้อมผ้า โดยจะให้สีเหลืองทอง ซึ่งดอกดาวเรืองแห้ง 1.2 กิโลกรัม สามารถนามา ย้อมเส้นไหมได้ 1 กิโลกรัม โดยใช้วิธีการต้มเพื่อสกัดน้าสีนาน 1 ชั่วโมง แล้ว กรองเอาเฉพาะน้า ใช้ย้อมด้วย กรรมวิธีการย้อมร้อน แล้วนาเส้นไหมมาแช่ในสารละลาย 11 1% สารส้ม ก็จะได้เส้นไหมสีเหลืองทอง และดอก ดาวเรืองที่ได้จากการนึ่งและอบจะให้น้า สีที่เข้มข้นกว่าดอกสด 1 เท่า และมากกว่าดอกตากแห้ง 5 เท่า เมื่อใช้ ในอัตราส่วนเท่ากัน 6. ต้นและรากของดาวเรืองมีสารที่ช่วยป้องกันและกาจัดไส้เดือนฝอยในดินได้โดยใช้วิธีการ ไถกลบทั้ง ต้นและรากลงในแปลงปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่มีปัญหาไส้เดือนฝอยในดิน เช่น แปลงยาสูบ มะเขือเทศ เยอบี ร่า และสตรอว์เบอร์รี เป็นต้น 7. ต้นดาวเรืองสามารถสะสมสารหนูได้มากถึง 42% จึงมีประโยชน์ในด้านการนามาฟื้นฟูดิน ที่มีการ ปนเปื้อนสารหนูได้ดี 8. ปัจจุบันได้มีการปลูกดาวเรืองเพื่อนามาผลิตเป็นดอกดาวเรืองแห้ง เพื่อใช้เป็นส่วนผสมใน อาหาร หรือเป็นส่วนผสมในอาหารเสริมของไก่ไข่กันอย่างกว้างขวาง เพราะมีผลงานวิจัยที่ ระบุว่าอาหารไก่ที่ผสมดอก ดาวเรืองแห้งจะช่วยเพิ่มความเข้มสีของไข่แดงได้ 9. เนื่องจากดอกดาวเรืองมีความสวยงาม จึงนิยมปลูกเพื่อประดับเป็นจุดเด่นตามสวนหรือใช้ ปลูกเป็น กลุ่ม ๆ ตามริมถนนหรือทางเดิน
  • 22. 10. นอกจากจะใช้ปลูกเพื่อเป็นไม้ประดับแล้ว ยังสามารถนามาใช้ปลูกเป็นเกราะป้องกันแมลง ศัตรูพืช ให้แก่พืชอื่น ๆ ได้อีกด้วย เนื่องจากดาวเรืองมีสารที่มีกลิ่นเหม็นฉุนที่แมลงไม่ชอบ 3 มังคุด มังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia mangostana Linn. เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกัน ว่ามีถิ่นก าเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อ ราว พุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมี การ ปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของ ราชทูตจากศรี ลังกาที่เข้ามาขอพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต มังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูป วงรีแกม ขอบขนาน กว้าง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง หลังใบสีเขียว เข้มเป็น มัน ท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบ เลี้ยงสี เขียวอมเหลืองติดอยู่จนเป็นผล กลีบดอกสีแดง ฉ่าน้า ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม เปลือกนอกค่อนข้าง แข็ง แก่ เต็มที่มีสีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เนื้อในมีสีขาวฉ่าน้า อาจมีเมล็ดอยู่ ในเนื้อ ผลได้ขึ้นอยู่กับขนาดและอายุของผล จานวนกลีบของเนื้อจะเท่ากับจานวนกลีบดอกที่อยู่ด้านล่างของ เปลือก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร เมล็ดไม่สามารถใช้รับประทานได้ ส่วนของเนื้อผลที่กินได้ของมังคุดเป็นชั้นเอนโดคาร์ป ซึ่งพัฒนามาจากเปลือกหุ้มเมล็ดเรียกว่า aril มีสี ขาว มี กลิ่นหอม สารระเหยได้ส่วนใหญ่คือ hexyl acetate, hexenolและ α-copaene ส่วนล่างสุดของผลที่ เป็น แถบสีเข้มที่ติดอยู่เรียงเป็นวงพัฒนามาจากปลายยอดเกสรตัวเมีย (stigma)มีจานวนเท่ากับจานวนเมล็ด ภายใน ผล เมล็ดมังคุดเพาะยากและต้องได้รับความชื้นจนกว่าจะงอก เมล็ดมังคุดเกิดจากชั้นนิวเซลลาร์ ไม่ ได้มาจาก การปฏิสนธิเมล็ดจะงอกได้ทันทีเมื่อออกจากผลแต่จะตายทันทีที่แห้ง มังคุดมีพันธุ์พื้นเมืองเพียงพันธุ์ เดียว แต่ ถ้าปลูกต่างบริเวณกันอาจมีความผันแปรไปได้บ้าง ในประเทศไทยจะพบความแตกต่างได้ระหว่าง มังคุดในแถบ ภาคกลางหรือมังคุดเมืองนนท์ที่ผลเล็ก ขั้วยาว เปลือกบาง กับมังคุดปักษ์ใต้ที่ผลใหญ่กว่า ขั้วผล
  • 23. สั้น เปลือก หนาปัจจุบันมีการเพาะปลูกและขายบนเกาะบางเกาะในหมู่เกาะฮาวาย ต้นมังคุดต้องปลูกในสภาพ อากาศ อบอุ่น หากอุณหภูมิลดลงต่ากว่า 4 °C จะทาให้ต้นมังคุดตายได้ มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของผลไม้" อาจ เป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยู่ที่หัวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วน เนื้อ ในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้มีการนามังคุดมา ประกอบ อาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้ รับประทานในขณะที่ ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้านอนุมูล อิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิ ต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิดริ้วรอย และยังมีส่วน ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่ง ปลั่งสดใสอีกด้วย เนื้อมังคุดมีคุณค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะโพแทสเซียม โปรตีน สารเยื่อใย วิตามินซี ฟอสฟอรัส แคลเซียมและแมกนีเซียม จากการตรวจวิเคราะห์พบว่าในน้ามังคุด 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย โพแทสเซียมปริมาณสูงถึง 87.14 มิลลิกรัม แคลเซียม 34.53 มิลลิกรัม และแมกนีเซียม 111.22 มิลลิกรัม เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือแทนนิน แซนโทน (โดยเฉพาะแมงโกสติน) แทนนินมีฤทธิ์ฝาด สมาน ทาให้ แผลหายเร็ว มังคุดช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนองได้ดี ในทาง ยาสมุนไพร ใช้เปลือกมังคุดตากแห้งต้มกับน้าหรือย่างไฟ ฝนกับน้าปูนใส แก้ท้องเสีย เปลือกแห้งฝนกับน้าปูนใส ใช้รักษา อาการน้ากัดเท้า แผลเปื่อย เปลือกมังคุด มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่การหมักปุ๋ย ชาวโอรังอัสลีใน รัฐเประ มาเลเซียใช้เปลือกผลแห้งรักษาแผลเปิด ยางมังคุด มีประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมหลายประเภท เนื่องจากยางมังคุดใช้เป็นวัตถุดิบใน การสกัด สารกลุ่มแซนโทน ซึ่งแต่ละชนิดที่มีฤทธิ์ทางยาที่แตกต่างกัน รวมทั้งมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม พลาสติก นอกจากนั้นยางมังคุดยังเข้ามามีบทบาทในการใช้เป็นสารเจือปนในอาหาร เพราะมีฤทธิ์ในการยับยั้ง เชื้อ Staphylococcus Aureus ซึ่งเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดอาการอาหารเป็นพิษได้ 4 หอมหัวใหญ่
  • 24. หอมใหญ่ เป็นพืชหัว (bulb) ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดที่มีการระบาย น้า และอากาศดีเจริญได้ดีที่ค่าความเป็นกรด-เบสช่วง 6.0–6.8 อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 15–24 องศา เซลเซียส และมีความเค็มของดินปานกลาง เป็นพืชล้มลุก ตระกูลเดียวกับหอมแดง ต้นสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร ลาต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่ เมื่อแห้งจะมีสีน้าตาลอ่อน ภายใน เป็นกาบสีขาวซ้อนกัน ลักษณะของดอกมีสีขาว เป็นช่อ มีดอกย่อยเป็นจานวนมาก ก้านช่อดอกยาว แทงออก จากลาต้นใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต : ให้ผลผลิต 2 ครั้งใน 1 ปี คือ ช่วงเดือน มกราคม ถึง เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์ สรรพคุณ หอมใหญ่ช่วยลดการอุดตันไขมันในเส้นเลือด ลดคลอเลสเตอรอลในเลือด ช่วยเพิ่มไขมันชนิดดี (HDL: High-density lipoproteins) และช่วยทาหน้าที่ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน สารกามะถันใน หอมใหญ่ ช่วยยับยั้งการก่อตัวของเซลล์มะเร็ง เมื่อตาผสมกับเหล้าเล็กน้อยแล้วนามาพอก จะลดการอักเสบ อาการบวม ได้ 5 กล้วย กล้วย เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ มีอายุหลายปี ลาต้นตั้งตรง เมื่อโตเต็มที่อาจจะมีความสูงสองถึงเก้า เมตร ลาต้นที่มองเห็นเรียกว่า ลาต้นเทียม (pseudostem) ส่วนประกอบของลาต้น ได้แก่ หยวก กล้วย หรือ กาบใบ ลาต้นที่แท้จริงของกล้วยจะเกิดเป็นเหง้าใต้ดิน (corm) ใบมีสีเขียวขนาดใหญ่เป็นใบเดี่ยว ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ท้องใบสีนวล เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ (inflorescence)อยู่ที่ปลายยอด ลักษณะห้อยหัวลง สีแดงคล้า เรียกว่า ปลีกล้วย (banana flower)ผลของ กล้วยรวมกันเรียกว่า เครือ (Bunch) ส่วนผลกล้วยที่ เรียกว่า หวี (hand) แต่ละผลเรียกว่า ผลกล้วย (finger) กล้วยหนึ่งเครือหนึ่งอาจจะมีจานวนหวีตั้งแต่ 5 หวี ไปจนถึง 15 หวีเลย แต่ละหวีมีจานวนผลตั้งแต่ 5-20 ผล ขนาดของผลเมื่อโตแล้วจะมีขนาดประมาณ 5-15 เซนติเมตร กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ผลของกล้วยเมื่อสุกจะมี