SlideShare a Scribd company logo
คุณภาพอากาศภายในอาคาร
                 ใ
   (Indoor Air Quality)



                 ผศ.ดร. นภดนัย อาชวาคม
หัวขอการบรรยาย
•   คุณภาพอากาศภายในอาคารคืออะไร?
•   ความสําคัญของคณภาพอากาศภายในอาคาร
                    ุ
•   มลพิษทางอากาศภายในอาคาร
•   พารามเตอรตางๆ ทเปนปจจยตอคุณภาพอากาศ
          ิ           ี่ ป ป ั            ศ
•   อุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศ
•   การตรวจวัดแบคทีเรียและเชือรา ้
•   การควบคุมคุณภาพอากาศภายในอาคาร และการปรับปรุุงคุุณภาพอากาศ
              ุ ุ
•   การระบายอากาศและปรับอากาศเพื่อคุณภาพอากาศที่ดี
•   การตดเชอทางอากาศ อปกรณที่ใชในการกรองอากาศ
    การติดเชื้อทางอากาศ อุปกรณทใชในการกรองอากาศ
                                                                 2
•   การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศในสวนของฝุนและเชือรา
                                                     ้
คุณภาพอากาศภายในอาคารคืออะไร??
                           ใ           ไ
คือ สภาพของอากาศในบริเวณหนึ่งๆ ภายในอาคารหรือที่พักอาศัย โดยทีสภาพ
                                                                 ่
    อากาศทีดีมีเงือนไขของการพิจารณาดังนี้
              ่ ่
• ความสุขสบายของคนในการอยูบริเวณนั้นๆ นั่นคืออุณหภูมิของอากาศ
                                  
    ความชื้นสัมพัทธ และความเร็วของลมของอากาศบริเวณนั้น ๆ ที่ยอมรับได
• การหายใจของคนเปนไปไดอยางสะดวกสบาย ซึ่งขึ้นอยูกบปริมาณความเขมขน
                                                      ั
    ของออกซเจนและคารบอนไดออกไซด ท บรเวณคนอยู ั้
    ของออกซิเจนและคารบอนไดออกไซด ที่ ณ บริเวณคนอยนน ๆ
• ความเขมขนของกาซ ไอ อนุภาคของสิ่งสกปรก และสารที่มีกมมันตภาพรังสี
                                                        ั
    เหลานมปรมาณไมมาก ไมกอใหเกดผลรายตอสุขภาพและรางกายของคน
    เหลานี้มีปริมาณไมมาก ไมกอใหเกิดผลรายตอสขภาพและรางกายของคน
                               


                                                                    3
ความสําคัญของคุณภาพอากาศภายในอาคาร
คนสวนใหญอยูในอาคารรอยละ 90
      ของเวลาในแตละวน
      ของเวลาในแตล วัน




                                       4
ความสําคัญของคุณภาพอากาศภายในอาคาร(ตอ)
รอยละ 30 ของอาคารทั่วโลกมีปญหา
    คุณภาพอากาศภายในอาคาร
                     ใ




                                          5
ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร
                                  ใ
• ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Pollutant)
                               ใ
  หมายถึง ภาวะที่อากาศในอาคารมีสิ่งเจือปนอยูในปริมาณและระยะเวลาที่นาน
                                            ู
  พอที่ทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยขอมนุษย หรือตอสิงแวดลอม บริเวณ
                                                         ่
  นั้น ๆ มลพิษนั้นมาจากสิ่งตาง ๆ ดังนี้




                                                                           6
มลพิษทางอากาศภายในอาคาร
                ใ




                          7
8
จาก boneheatingandcooling.com/aq.aspx   VOC = Volatile organic compounds
คาพารามิเตอรที่เปนปจจัยตอคุณภาพ
              อากาศ
คาพารามิเตอรและคามาตรฐานคุณภาพอากาศ
ปจจัยคุณภาพอากาศ        คามาตรฐานที่   มาตรฐานอางอิง
                         กําหนด
อุณหภูมิ                 23-26 °C        ASHRAE 55-1992
ความชื้นสัมพัทธ         30-60%          ASHRAE 55-1992
กาซคารบอนไดออกไซด     1,000 ppm       ASHRAE 62.1-2007
กาซคารบอนมอนอกไซด     9 ppm           สวล. 2538
อัตราแลกเปลี่ยนอากาศ     > 2 ACH         วสท. 2547
อนุภาคขนาดเล็ก (PM2.5)   0.025 mg/m3     สวล. 2553
เชืื้อแบคทีีเรีีย        < 100 CFU/m3    WHO 1988
เชื้อรา                  < 50 CFU/m3     WHO 1988
เชืื้อรา Aspergillus     < 2 CFU/m3      Alberti et al. 2001
                                                               10
คารบอนไดออกไซด (CO2 )
                     ไ    ไ
• เปนกาซไมมีสี ไมมีกลิ่น อยูในธรรมชาติที่ความเขมขนประมาณ 340
  ppm
• แหลงกําเนิดกาซที่สําคัญคือ การหายใจของมนุษย ไอเสียจาก
  เครองจกร เครองยนต และ การหมกดองตางๆ
      ื่ ั       ื่                   ั       
• เปนกาซที่ใชหาคาการระบายอากาศ เนื่องจาก ถาอากาศระบายได
  นอย กาซคารบอนไดออกไซดจะมีปริมาณสะสมเพิ่มมากกวา
  มาตรฐาน
• ถาไดรับปริมาณมาก เชนเกิน 1000 ppm เปนเวลานาน จะรูสึกปวด
  ศีรษะ เหนือยลา
             ่
                                                                      11
คารบอนมอนอกไซด (CO)
                          ไ

• เปนกาซไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส อยูในธรรมชาติที่ความเขมขน
  ประมาณ 0 1 ppm ปรกติพบในที่อยอาศัยประมาณ 0 5 - 5 ppm
            0.1        ปรกตพบในทอยู าศยประมาณ 0.5
• แหลงกําเนิดกาซที่สําคัญคือ ไอเสียจากเครื่องจักร เครื่องยนต เตาเผา
  เตาอบ
• ถาไดรับปริมาณมาก เชนเกิน 50 ppm เปนเวลานาน จะรสึกปวด
  ถาไดรบปรมาณมาก เชนเกน                     เปนเวลานาน จะรู กปวด
  ศีรษะ คลื่นไส อาเจียน มึนงง เหนื่อยลา


                                                                     12
ฝุนละออง

• ฝุนละออง (Particulate Matter) จะทําใหเปนโรคหอบหืด โรคหัวใจ
• ความหมายของ PM (กําหนดโดย EPA) มีี PM10 คืือ ฝนหยาบมีี
                              โ                     ฝุ
  ขนาด 2.5-10 ไมครอน, PM2.5 คือ ฝุนละเอียดขนาดเล็กกวา 2.5
  ไมครอน




                                                                  13
อปกรณตรวจวัดคณภาพอากาศ
 ุ            ุ
อุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศ

• เพื่อการตรวจสอบและรักษาคุณภาพอากาศภายในอาคาร สําหรับ
  สภาพแวดลอมทดตอสุขภาพและความสบาย เราจําเปนตองใชอปกรณวัด
  สภาพแวดลอมที่ดีตอสขภาพและความสบาย เราจาเปนตองใชอุปกรณวด
  และคํานวณพารามิเตอรตางๆ
• อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณการแลกเปลี่ยนอากาศ ปริมาณ
  คารบอนไดออกไซด ปริมาณคารบอนมอนอกไซด และ ฝุนละอองใน
  อากาศ
• อุปกรณที่ใชควรวััดไ แมนยํํา ใ งานไดงาย ทีี่แนะนํํามีีดังนีี้คือ
                        ได          ใช ไ
    – มิเตอรวดคุณภาพอากาศ
              ั
    – มิเตอรวดปริมาณฝุน
                ั                                                        15
1. มิเตอรวัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Meter)

 • คุณสมบัติ
       – สามารถวััด อุณหภูมิ ความชืื้น ป ิมาณ
                                       ปริ
         คารบอนไดออกไซด ปริมาณ
         คารบอนมอนอกไซด ความเร็วลม
       – สามารถคํานวณ เปอรเซ็นตอากาศภายนอก
         สามารถคานวณ เปอรเซนตอากาศภายนอก
         จุดน้ําคาง* (dew point)



*คาของอุณหภูมิของอากาศ ที่เมื่อเย็นลงอากาศจะมีไอน้ําอิ่มตัวและเริ่มกลั่นตัวเปนน้ําคาง   16
2. มิเตอรวัดปริมาณฝุน (Dust Meter)

• ฝุนละออง (Particulate Mater) จะทําใหเปนโรคหอบหืด โรคหัวใจ
• ความหมายของ PM (กําหนดโดย EPA) มี PM10 คือ ฝุนหยาบมีขนาด
                                                     ุ
  2.5-10 ไมครอน, PM2.5 คือ ฝุนละเอียดขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน
• สิ่งปนเปอนในอากาศเปนสิ่งทีคุกคามสุขภาพ การสูดอากาศที่มีสิ่งเจือปน
                               ่
  ทําใหเกิดการปวย
• สิ่งปนเปอนในอากาศที่หายใจเขา เปนอนุภาคที่มขนาดเล็กกวา 10
                                                ี
  ไมครอน ประกอบดวย ฝุนละออง ไ ียเครืื่องจักร ควันบุหรีี่ ไ
  ไ                                ไอเสี                   ไอสารตางๆ
• คุณสมบัติ
    – วัดปริมาณฝุน ควัน ละออง ไอระเหยขนาดตางๆ


                                                                         17
การตรวจวัดแบคทีเรียและเชื้อรา
วิธการตรวจวัด
          ี
การเก็บตัวอยางแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมในอากาศ
               • เครื่อง Bio Impactor แบบชั้นเดียว (Single stage
               impactor) ของ SKC, Inc., Model Standard Biostage

               • การเก็บตัวอยางใชวิธีดดอากาศภายเขาภายในตลับ
                                        ู
               เก็บตัวอยางซึ่งภายในมีจานเพาะเชือวางอยู
                                                ้

               • เมื่อเก็บตัวอยางเรียบรอยแลว นําจานเพาะเชื้อออกจาก
               เครือง ปดฝาโดย seal ดวย parafilm และนําสง
                   ่
               หองปฏิบติการ
                          ั
                                                                    19
วิธการตรวจวัด (ตอ)
              ี
• การตรวจวัดแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมในอากาศ

       เก็บตัวอยางดวยวิธีเดียวกัน แตใชอาหารเลี้ยงเชือตางชนิดกัน
                                                        ้

                           แบคทีเรีย ใช Tryptic Soy Agar (TSA)
                          เพาะเชือทีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-48
                                   ้ ่
                           ชั่วโมง
                          เชื้อรา       ใช Malt Extract Agar (MEA)
                          เพาะเชือทีอุณหภมิ 35-37 องศาเซลเซียส นาน 3 – 5 วัน
                                    ้ ่      ู
                                                                        20
วิธการตรวจวัด (ตอ)
                  ี
  ลักษณะโคโลนีของแบคทีเรียและเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเชื้อ
แบคทีเรีย บน Tryptic Soy Agar (TSA)       เชื้อรา บน Malt Extract Agar (MEA)




                                                                                     21
     นับจํานวนที่เวลา 24 และ 48 ชั่วโมง         นับจํานวนที่เวลา 48 และ 72 ชั่วโมง
วิธการตรวจวัด (ตอ)
                ี
การตรวจวิเคราะหปริมาณเชื้อรา Aspergillus
– เขี่ยเสนใยของเชื้อราแตละโคโลนีจาก MEA plate ภายหลังการบมเปนเวลา
  72 ชั่วโมงมาทํา slide culture บนกระจกสไลดที่หยดสียอมชนิด
  Lactophenol-cotton blue
– สองดูภายใตกลองจุลทรรศนดวยกําลังขยาย 10 และ 40 เทา โดยสังเกต
  ลักษณะของโครงสรางตางๆ บริเวณปลายเสนใยภายใตกลองจุลทรรศน
– เชื้อรา Aspergillus จะมีลักษณะโครงสรางตางๆ แบบจําเพาะเจาะจง นั่นคือ
  มีการสรางสปอร (Conidiospore หรือ conidia) ที่ไมมีสิ่งหุมที่บริเวณปลาย
  เสนใยที่มีลักษณะเปนกระเปาะกลมทําหนาที่ชูสปอร (Conidiophore) ซึ่งที่
  ปลายของเสนใยจะมเซลลทเรยกวา
  ปลายของเสนใยจะมีเซลลที่เรียกวา Sterigma        ทาหนาทสราง
                                                    ทําหนาที่สราง conidia
  หลายๆ อันที่เรียงตัวกันเปนแบบลูกโซ ดังแสดงในรูป                           22
วิธการตรวจวัด (ตอ)
             ี
ลักษณะโครงสรางจําเพาะของเชื้อรา Aspergillus




                                          ลักษณะ Conidia และ conidiophore
                                          ลกษณะ
  สีของสปอรเมื่อมองดวยตาเปลา   เมื่อดูจากกลองจุลทรรศนกาลังขยาย 10 และ 4023 า
                                                           ํ                  เท
วิธการตรวจวัด (ตอ)
                  ี
• การตรวจวัดแบคทีเรียและเชื้อราในทอสงอากาศ
   เก็บตัวอยางจุลินทรียโดยวิธีการปายพื้นผิว (Surface swab samples)
   – เลือกเก็บตัวอยางในพื้นที่เปาหมาย โดยกาหนดขนาดพนทเทากบ 2 x 2 ตร ซม
     เลอกเกบตวอยางในพนทเปาหมาย โดยกําหนดขนาดพื้นที่เทากับ                ตร.ซม.
   – นํากานไมพันสําลีสาหรับเก็บตัวอยางที่ผานการฆาเชื้อจุมในหลอดแกวบรรจุ PBS ใหชุมพอหมาดๆ
                        ํ                                    
     ปายพื้นผิวบริเวณทีตองการศึกษา/เก็บตัวอยาง ดวยวิธีการหมุนกานไมพันสําลีไปบนพื้นผิวในกรอบที่
                               ่                                  ุ
     กําหนด โดยใชไมพนสําลี 1 อันตอ 1 ตัวอยาง
                             ั
   – นํากานไมพันสําลีทปายเชื้อมาแกวงในหลอดบรรจุ PBS หลอดเดิม แลวใหใสกานไมพนสําลีไวในหลอด
                          ี่                                                        ั
     PBS (หัักกานไมทยาวเกิินปากขวดออก) ปดฝ
                 ไ ี่           ป               ฝาขวดใหแนน
                                                       ใ
   – เขียนฉลากระบุหมายเลขตัวอยาง จดบันทึกวันที่ เวลา สถานที่/พื้นที่ และขนาดพื้นที่ที่เก็บตัวอยาง
   – บรรจุหลอดแกวเกบตวอยางในกลองเยนบรรจุไอซแพค แลวนาสงหองปฏบตการโดยเรวเพอการเพาะบม
                     ็ ั  ใ  ็                   ซ          ํ   ป ิ ั ิ โ ็ ื่                
     และวิเคราะหปริมาณเชื้อจุลนทรียตอไป
                                  ิ                                                            24
วิธการตรวจวัด (ตอ)
              ี
                                 นํากานไมพันสําลีที่จะปายเชื้อมาแกวงในหลอดบรรจุ PBS ใหชุมพอหมาด

อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยาง
เชื้อจุลินทรียในทอสงอากาศ



                                                  การเก็บตัวอยางจุลินทรียโดยวิธีการปายพื้นผิว




                                                                                                   25
วิธการตรวจวัด (ตอ)
                 ี
 การตรวจวัดแบคทีเรียและเชื้อราในทอสงอากาศ (ตอ)
  วิเคราะหปริมาณจุลินทรียโดยวิธี serial dilution และการ pour plate
– ทําการเจือจางเชื้อดวยฟอสเฟตบัฟเฟอร โดยใหมีคาอยูในชวง 10-1– 10-6
– ดูดน้ําตัวอยางที่เจือจางแลวตัวอยางละ 1 มล. ใสลงในจานเพาะเชือที่สะอาดและผานการฆาเชื้อแลว
                                                                 ้
– เติมอาหารเลี้ยงเชื้อ PCA (สําหรับการวิเคราะหปริมาณแบคทีเรีย) หรือ SDA (สําหรับการวิเคราะห
  ปริมาณเชือรา) ลงในจานเพาะเชื้อแตละใบดวยเทคนิคปลอดเชื้อ (Sterile technique)
              ้
– หมุนจานเพาะเชื้อไปมาใหน้ําตัวอยางและอาหารเลี้ยงเชื้อผสมจนเขากันดี
– ตั้งทิ้งไวบนพื้นราบจนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็งตัว แลวนําจานอาหารเลี้ยงเชื้อ PCA ไปบมที่อุณหภูมิ 35o
  ซ เปนเวลา 24-48 ชั่วโมง และสําหรับ SDA บมที่อุณหภูมิหองหรือ 25 oซ เปนเวลา 3-5 วัน
– การอานผลใหนับจํานวนโคโลนีที่เจริญบน PCA และ SDA จากนั้นรายงานผลเปนจํานวนโคโลนีตอ
  การอานผลใหนบจานวนโคโลนทเจรญบน                             จากนนรายงานผลเปนจานวนโคโลนตอ
  ตารางหนวยพื้นทีผวทีเก็บตัวอยาง (cfu/cm2)
                      ่ ิ ่                                                                       26
การทํา serial dilution เพื่อเจือจางเชื้อ




                                                                         การทํา pour plate
                         ภาวะมลพษทางอากาศภายในอาคาร
                         ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร




ตรวจนับจานเพาะเชื้อที่มีจํานวนโคโลนีในชวง 30-300 colonies ภายหลังการบมเชื้อ                27
การควบคุมคุณภาพอากาศภายในอาคาร
การควบคุมคุณภาพอากาศ

1. เดินสํารวจ และ สังเกตสภาวะอากาศ เชน กลิ่น ควัน ฝุน
   ละออง เชื้อราตามฝาผนัง
             เชอราตามฝาผนง
2. ตรวจวัดดวยเครื่องมือตรวจคุุณภาพอากาศ ดวย
   เครื่องมือ




                                                          29
แนวทางการแกปญหาคุณภาพอากาศ
• หาสาเหตุ และ แกที่ตนเหตุ เชน กําจัดตนเหตุ ดวยการทํา
                      
  ความสะอาดหอง เฟอรนเจอร
  ความสะอาดหอง เฟอรนิเจอร
• การใชระบบระบายอากาศ ระบบกรองอากาศ ระบบฆาเชื้อ
  โรคในอากาศ
• ปลกตนไมลดมลพิษ
  ปลูกตนไมลดมลพษ



                                                            30
แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ
1. ทําความสะอาดอยูเสมอ
• ทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศ และเครื่องกรองอากาศ สม่ําเสมอ
• ทําความสะอาดหอง พื้นหอง เพดานหองรวมทั้ง อปกรณ เครื่องมือ
  ทาความส อาดหอง พนหอง เพดานหองรวมทง อุปกรณ เครองมอ
เครื่องใชภายในหอง ใหสะอาด และไมเปนที่สะสมของฝุนละออง

ขอดี พื้นที่ภายในอาคารสะอาดอยูเสมอ ไมมีแหลงสะสมของเชื้อโรค และฝุน
ละออง นอกจากนีี้ยังทําใ สภาพแวดลอมนาป ิบัติงานดวย
                      ให                ปฏิ         
ขอเสีย มีภาระงานทําความสะอาดเพิ่มขึ้น
                                                                   31
แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ
2. จัดใหมีการระบายอากาศที่เพียงพอ
• หองที่ไมไดเปดเครื่องปรับอากาศใหเปดหนาตางรับอากาศภายนอก
• หองที่เปดเครื่องปรับอากาศใหเปดพัดลมระบายอากาศ

ขอด มอตราการระบายอากาศ และมอากาศหมุนเวยนทเหมาะสม
ขอดี มีอัตราการระบายอากาศ และมีอากาศหมนเวียนที่เหมาะสม
ขอเสีย สําหรับหองที่ติดถนน การนําอากาศภายนอกเขามาในหองอาจจะทํา
ให
ใ  มลพิิษ ฝนละอองจากภายนอกเขามาในหองได (ถาไ มีระบบกรอง
            ฝุ                        ใ     ไ        ไม
อากาศ) นอกจากนี้ ยังสิ้นเปลืองคาไฟฟามากขึ้น
                                                                   32
แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ

3. ติดตั้งเครื่องกรองอากาศ หรือเครื่องฟอกอากาศ
• ดักฝุนละออง มลพิษ แบคทีเรีย เชื้อรา และสิ่งปนเปอนในอากาศอื่นๆ ที่มี
                                                   
ผลโดยตรงตอสุขภาพ
   โ

ขอดี อากาศภายในหองสะอาด เพราะเชื้อโรคและฝุนละอองไดรับการดัก
กรองไวดวยเครื่อง
ขอเสีย คาใชจายทั้งการติดตั้ง การดูแลรักษา และคาไฟฟา ที่เพิ่มขึ้น

                                                                         33
แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ
4. ใชตนไมลดมลภาวะ
• ชวยปรับปรงคณภาพอากาศภายในหองใหดีขึ้นดวยการฟอกอากาศ ดด
   ชวยปรบปรุงคุณภาพอากาศภายในหองใหดขนดวยการฟอกอากาศ ดูด
สารพิษและกาซเสียจากมนุษยเชนกาซคารบอนไดออกไซด ดับกลิ่น เพิ่ม
ออกซเจน นอกจากนี้ยังสรางความสดชื่นใหกับผ ฏิบัติการและผ ชบรการ
ออกซิเจน นอกจากนยงสรางความสดชนใหกบผูปฏบตการและผูใชบริการ
ไดอีกดวย
ขอดีี ชวยลดมลพิษสวนหนึึ่งใ
                             ในอากาศ และทําใ หองมีความชุมชื้ืน แลดูสด
                                           ให    ี
ชื่นสบายตา นอกจากนี้ยังประหยัดคาไฟฟา
ขอเสีย เพิ่มภาระงานการดูแลตนไม ทั้งการรดน้ํา การพรวนดิน ใสปุย และ
ตองสบเปลยนตนไมอยู
ตองสับเปลียนตนไมอยเสมอ
             ่
                                                                     34
ระบบระบายอากาศและระบบปรับอากาศ
ปญหาจากการระบายอากาศที่ไมดี
• ติดเชื้อที่ผานมาทางอากาศ เชนวัณ
  โรค เปนตน
        เปนตน
• หายใจไมสะดวก อึดอัด ปวดศีรษะ
  มึน ไอจาม
• เจ็บปวยเปนประจํา
  เจบปวยเปนประจา                         http://en.wikipedia.org/wiki/File:Tuberculosis-x-ray-1.jpg



• หองมีความชื้นสูง มีเชื้อราขึ้นตามฝา
                   ู
  ผนัง พื้นหอง
• มีกลิ่นอับ กลนเหมน กลิ่นอาหาร
  มกลนอบ กลิ่นเหม็น กลนอาหาร
                                                                                          36
การระบายอากาศ
• การระบายอากาศ คือ การจัดการเคลื่อนยายอากาศดวยปริมาณที่
  กาหนดใหไหลไปในทศทางและดวยความเรวทตองการ
  กําหนดใหไหลไปในทิศทางและดวยความเร็วที่ตองการ
     การระบายแบบธรรมชาติ             การระบายแบบวิธกล
                                                   ี




                                                             37
ประโยชนของการระบายอากาศ
                โ 
1. ควบคุมระดับสิ่งปนเปอนในอากาศ เชน เชื้อโรค ฝุนละออง ไอสารเคมี
   กาซ ควัน
   กาซ ควน ฯลฯ ในหองปฏบตงานใหอยูในระดบทปลอดภย ซงสง
                  ในหองปฏิบัติงานใหอย นระดับที่ปลอดภัย ซึ่งสิ่ง
   ปนเปอนเหลานี้เมื่อไดรับเขาสูรางกายก็จะมีการสะสมในอวัยวะตางๆ
         
   จนถงระดบหนงททาใหคนเจบปวยหรอไมสบายได
   จนถึงระดับหนึ่งที่ทําใหคนเจ็บปวยหรือไมสบายได โดยเฉพาะ
   บุคลากร ผูปวย ญาติ และผูมาติดตอโรงพยาบาล
2. ควบคุมอุณหภูมิและความชืื้นใ อยูในระดบทีี่รูสึกสบายได เพราะ
                                 ให         ั          ไ
   ความรอน และความชื้น ถาไมเหมาะสมจะทําใหปวย หงุดหงิด อึดอัด
   และไมสามารถทํํางานได แลวยัังเปนสาเหตุของอุบัติเหตุ
       ไ                 ไ  ป

                                                                    38
การคํานวณการระบายอากาศ

• อัตราการแลกเปลี่ยนอากาศตอชั่วโมง หรือ Air changes per hr
  (ACH) คือ คาปริมาณการถายเทอากาศ คดเปนจานวนเทาของ
           คอ คาปรมาณการถายเทอากาศ คิดเปนจํานวนเทาของ
  ปริมาตรหองภายในเวลาหนึ่งชั่วโมง
• อัตราการระบายอากาศ (ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง) คือ คาปริมาณการ
                       ู
  ถายเทอากาศ คิดเปนลกบาศกเมตรตอชั่วโมง คาอัตราการระบาย
  อากาศ มีความสัมพันธโดยตรงกับคาอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ
  ดงนคอ อัตราการระบายอากาศ (ลูกบาศกเมตรตอชวโมง) เทากบ
  ดังนี้คือ อตราการระบายอากาศ (ลกบาศกเมตรตอชั่วโมง) เทากับ
  อัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ (ตอชั่วโมง) คูณดวย ปริมาตรของหอง
  (ลูกบาศกเมตร)
                                                             39
แนวทางการแกปญหาการระบายอากาศ
• ตรวจการระบายอากาศ กําหนดอัตราระบายอากาศที่
  เหมาะสม ทดสอบหาคาการระบายอากาศ
              ทดสอบหาคาการระบายอากาศ
• ดําเนินการแกปญหา เชน ถามีปญหาที่การระบายอากาศ ควร
                   
  ติดตั้ง หรือ แกไขระบบระบายอากาศ เปดหนาตางระบาย
  ตดตงระบบกรองอากาศ
  ติดตั้งระบบกรองอากาศ



                                                      40
ระบบปรัับอากาศและระบายอากาศ
                               ป
                  หองปรับอากาศทั่วไป (แบบแยก) ขนาดเล็ก
                                                               เครื่องปรับอากาศ
   อากาศภายนอก
    35 C, 60%RH
        รั่วเขา-ออก
                               ความเร็วลมพุงออก 2.5-5.0 m/s
                                                         พดลม Air-Filter อากาศ
                                                         พัดลม Ai Filt
                    35 C              25 C, 30-60%RH                       ภายนอก
                         ความเร็วลมผานตัว 0.08-0.25 m/s                  รั่วเขา-ออก
                                                   อากาศผาน Air-Filter
                                                   8-12 ครั้งใน 1 ชม.
                                                   (8-12 Air Change/hour)

                             อากาศภายนอก ซงชนมไอนา 2 เทาของอากาศในหอง ไ 
                                            ึ่ ื้ ไ ้ํ
                                                   ี                     ใ  ไหลเขา
โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
                             ในบริเวณใด ก็จะทําใหความชื้นสัมพัทธสูงขึ้นในบริเวณนั้น   41
หองปรับอากาศทั่วไป ขนาดกลางและใหญ
    อากาศภายนอก
   35 C, 60%RH
   ไมใหร่วเขา
           ั
                                                                             อากาศภายนอก
                                        ความเร็็วลมพุงออก 2.5-5.0 m/s          ไม 
                                                                                ไ ใหรั่วเขา
                    35 C,60%RH                   25 C, 30-60%RH
                    ดูดเขา                            อากาศผานAir-Filter
                             ความเร็วลมผานตัว
 พัดลม                       0.08-0.25 m/s              8-12 ครั้งใน 1 ชม.
Air-Filter                                              (8-12 Air Change/hour)

                            ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซึ่งชื้นมีไอน้ํา
                            ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซงชนมไอนา 2
โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
                            เทาของอากาศในหอง ไหลเขา ใหไหลออกเทานั้น               42
หองปรับอากาศ สําหรัับหองผาตััดหรืือหองสะอาด
                       ั                                  
      อากาศภายนอก 4-5 Air change/h
         35 C, 60%RH                           Air-Filter Bed 2 (HEPA filter)




                           Laminar Flow( Unidirection Flow ) 0.45 m/s
                                           22 C,50%RH
               ดูดเขา
               ดดเขา      อากาศผานAir Filter 20 25 ครงใน ชม.
                           อากาศผานAir-Filter 20-25 ครั้งใน 1 ชม
                           (20-25 Air Change/hour)
 พัดลม                     ความดัน +12 Pa ทําใหอากาศรั่วออกไดเทานั้น
Air-Filter
Ai Filt
Bed 1
                           เกลดลมกลบทผนงดานลางทผนงทง ดาน
                           เกล็ดลมกลับที่ผนังดานลางที่ผนังทั้ง 2 ดาน
   ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซึ่งชื้นมีไอน้ํา 2 เทา และอาจจะสกปรกไหลเขา         43
                                                                    โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
การติดเชื้อทางอากาศ
T.B.
    Viruses
    Bacterias
          45
3 Feet
การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ
เชื้อโรค เชน ไวรัส (สุกใส หัดเยอรมัน ฯลฯ) แบคทีเรีย (วัณโรค ฯลฯ)
เชอรา
เชื้อรา (Aspergillus) สามารถติดตอไดทางอากาศ ซึ่งสามารถควบคม
                        สามารถตดตอไดทางอากาศ ซงสามารถควบคุม
การติดเชื้อไดดังนี้คือ
1. ปองกันเชื้อเขาหรือออกจากหอง
                 • รอยรั่วตามที่ตางๆ เชน กรอบ
                                    ๆ
                 ประตู กรอบหนาตาง ผนัง ฝา
                 เพดาน
                 • สรางความดันแตกตางระหวาง
                 ภายในกบภายนอกหอง
                     ใ ั             
                                                                    46
การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ
2. การกําจัดเชื้อออกจากอากาศ
    • การใชระบบกรองอากาศ
        การใชระบบกรองอากาศ
    • การดูดอากาศออก
3. การเจือจางเชื้อในอากาศ
    • อากาศเขาตามรอยรั่วตามที่ตางๆ เชนกรอบประตู กรอบ
        อากาศเขาตามรอยรวตามทตางๆ เชนกรอบประต
        หนาตาง ผนัง ฝาเพดาน
    • ดูดอากาศสะอาดเขามาเจอจาง
                  ศ           ื

                                                         47
การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ
4. การควบคุมการไหลของอากาศ
                 ไ
    • ไหลในทิศทางเดียว
    • ไมผานจากคนปวยไปยังคนอืนๆ  ่
5. ปองกนการเจรญเตบโตของเชอ
5 ปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อ
                                            http://www.price-hvac.com/catalog/E_all/E_HTML/E_EG4.html
    • อุณหภูมิ ความชื้นที่เหมาะสม (ไมเกิน 60% RH)
    • หองสะอาด ไมสะสมฝุน ทั้งที่ อุปกรณสํานักงาน เครื่องมือ พื้น
       เพดาน ผนัง ทอลม พัดลม ฯลฯ
    • ไมมีพ้ืนผิวเปยกชื้น
6.  ชื้ ใ
6 ฆาเชอในอากาศ     ศ
                                                                                             48
    • ฆาดวยรังสีอัลตราไวโอเลต (UVGI lamp) Ultraviolet germicidal irradiation
แผงกรองอากาศ (Air Filter)
  แผงกรองอากาศ ปจจุบันนิยมใชมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2-
1999 ยอวา MERV (Mi i
                  (Minimum Efficiency Reporting V l ) ดํําเนนการ
                                Effi i      R ti Value)            ิ
โดย NAFA (National Air Filtration Association)
   แผงกรองอากาศชนิดพิเศษประสิทธิภาพสูง - HEPA filter (High
Efficiency Paticulate Air Filter) ที่มีคา MERV-17 ตองใชในหองผาตัดที่
สําคัญ
  HEPA filter ตองใชกรองอากาศที่ระบายทิ้งที่มีเชื้อโรคติดตอ หรอม
              ตองใชกรองอากาศทระบายทงทมเชอโรคตดตอ หรือมี
สารพิษ หรือสารที่กัมมันตรังสีเชนกัน
                                                                       49
แผงกรองอากาศ




               50
51
52
การบํารุงรักษาเครืองปรับอากาศในสวน
                         ่
  ทีี่เกีี่ยวเนืื่องกับฝนละอองและเชืื้อรา
                      ั ฝุ
การบารุงรกษาเครองปรบอากาศในสวนท
           การบํารงรักษาเครื่องปรับอากาศในสวนที่
           เกี่ยวเนื่องกับฝุนละอองและเชื้อรา
การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศทําใหดีตอสุขภาพอนามัยของผูปฏิบติงาน
                                                                ั
ภายในหองเนื่องจากหลายๆ สวนประกอบของเครื่องปรับอากาศเปนที่สะสม
ของฝุนผง และเชือโรคตางๆ นอกจากนี้ ยังทําใหเครื่องปรับอากาศมี
                 ้
ประสทธภาพการทางานทดอยู
ประสิทธิภาพการทํางานที่ดีอยเสมอ
1. ควรทําความสะอาดแผนกรองอากาศทุก ๆ 2 สัปดาห
2.
2 ควรทํําความสะอาดแผงทอทํําความเยนดวยแปรงนม ๆ และนํ้ํา
                                         ็  ป ิ่
      ผสมสบูเหลว อยางออนทุก 6 เดือน
3. ทําความสะอาดพัดลมสงลมเย็นดวยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุน
      ละอองทจบกนเปนแผนแขงและตดกนอยู ามซใบพดทุกๆ เดอน
      ละอองที่จับกันเปนแผนแข็งและติดกันอยตามซี่ใบพัดทกๆ 6 เดือน
                                                                54
ถอดลางแผนกรองฝุน
                  ุ
อยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง




                           55
ทําความสะอาดแผนกรองอากาศทุก ๆ 2 สัปดาห




                                           56
เครื่องฟอกอากาศ




ใหชางถอดลางอยางนอย
      เดอนละ ครง
      เดือนละ 1 ครั้ง
                                            57
แผนครีบปรับทิศทางลมเย็น




ถอดลางอยางนอย
 6 เดือนละ 1 ครั้ง
   เดอนล ครง




                                     58
แผนครีบปรับทิศทางลมเย็น




                           59

More Related Content

What's hot

การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
Wichai Likitponrak
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
Postharvest Technology Innovation Center
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2busarakorn
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
Kriangkasem
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
Thitaree Samphao
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 

What's hot (10)

การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2557
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 

Similar to คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
Indoor air pollution
Indoor air pollutionIndoor air pollution
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วมลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วsilpakorn
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
Surapol Imi
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqneakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 

Similar to คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1 (13)

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Indoor air pollution
Indoor air pollutionIndoor air pollution
Indoor air pollution
 
Dioxin
DioxinDioxin
Dioxin
 
E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012E s p r i n g 2012
E s p r i n g 2012
 
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้วมลพิษทางอากาศในทับแก้ว
มลพิษทางอากาศในทับแก้ว
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1

  • 1. คุณภาพอากาศภายในอาคาร ใ (Indoor Air Quality) ผศ.ดร. นภดนัย อาชวาคม
  • 2. หัวขอการบรรยาย • คุณภาพอากาศภายในอาคารคืออะไร? • ความสําคัญของคณภาพอากาศภายในอาคาร ุ • มลพิษทางอากาศภายในอาคาร • พารามเตอรตางๆ ทเปนปจจยตอคุณภาพอากาศ ิ   ี่ ป ป ั  ศ • อุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศ • การตรวจวัดแบคทีเรียและเชือรา ้ • การควบคุมคุณภาพอากาศภายในอาคาร และการปรับปรุุงคุุณภาพอากาศ ุ ุ • การระบายอากาศและปรับอากาศเพื่อคุณภาพอากาศที่ดี • การตดเชอทางอากาศ อปกรณที่ใชในการกรองอากาศ การติดเชื้อทางอากาศ อุปกรณทใชในการกรองอากาศ 2 • การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศในสวนของฝุนและเชือรา ้
  • 3. คุณภาพอากาศภายในอาคารคืออะไร?? ใ ไ คือ สภาพของอากาศในบริเวณหนึ่งๆ ภายในอาคารหรือที่พักอาศัย โดยทีสภาพ ่ อากาศทีดีมีเงือนไขของการพิจารณาดังนี้ ่ ่ • ความสุขสบายของคนในการอยูบริเวณนั้นๆ นั่นคืออุณหภูมิของอากาศ  ความชื้นสัมพัทธ และความเร็วของลมของอากาศบริเวณนั้น ๆ ที่ยอมรับได • การหายใจของคนเปนไปไดอยางสะดวกสบาย ซึ่งขึ้นอยูกบปริมาณความเขมขน ั ของออกซเจนและคารบอนไดออกไซด ท บรเวณคนอยู ั้ ของออกซิเจนและคารบอนไดออกไซด ที่ ณ บริเวณคนอยนน ๆ • ความเขมขนของกาซ ไอ อนุภาคของสิ่งสกปรก และสารที่มีกมมันตภาพรังสี ั เหลานมปรมาณไมมาก ไมกอใหเกดผลรายตอสุขภาพและรางกายของคน เหลานี้มีปริมาณไมมาก ไมกอใหเกิดผลรายตอสขภาพและรางกายของคน  3
  • 6. ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร ใ • ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Pollutant) ใ หมายถึง ภาวะที่อากาศในอาคารมีสิ่งเจือปนอยูในปริมาณและระยะเวลาที่นาน ู พอที่ทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยขอมนุษย หรือตอสิงแวดลอม บริเวณ ่ นั้น ๆ มลพิษนั้นมาจากสิ่งตาง ๆ ดังนี้ 6
  • 8. 8 จาก boneheatingandcooling.com/aq.aspx VOC = Volatile organic compounds
  • 10. คาพารามิเตอรและคามาตรฐานคุณภาพอากาศ ปจจัยคุณภาพอากาศ คามาตรฐานที่ มาตรฐานอางอิง กําหนด อุณหภูมิ 23-26 °C ASHRAE 55-1992 ความชื้นสัมพัทธ 30-60% ASHRAE 55-1992 กาซคารบอนไดออกไซด 1,000 ppm ASHRAE 62.1-2007 กาซคารบอนมอนอกไซด 9 ppm สวล. 2538 อัตราแลกเปลี่ยนอากาศ > 2 ACH วสท. 2547 อนุภาคขนาดเล็ก (PM2.5) 0.025 mg/m3 สวล. 2553 เชืื้อแบคทีีเรีีย < 100 CFU/m3 WHO 1988 เชื้อรา < 50 CFU/m3 WHO 1988 เชืื้อรา Aspergillus < 2 CFU/m3 Alberti et al. 2001 10
  • 11. คารบอนไดออกไซด (CO2 ) ไ ไ • เปนกาซไมมีสี ไมมีกลิ่น อยูในธรรมชาติที่ความเขมขนประมาณ 340 ppm • แหลงกําเนิดกาซที่สําคัญคือ การหายใจของมนุษย ไอเสียจาก เครองจกร เครองยนต และ การหมกดองตางๆ ื่ ั ื่ ั  • เปนกาซที่ใชหาคาการระบายอากาศ เนื่องจาก ถาอากาศระบายได นอย กาซคารบอนไดออกไซดจะมีปริมาณสะสมเพิ่มมากกวา มาตรฐาน • ถาไดรับปริมาณมาก เชนเกิน 1000 ppm เปนเวลานาน จะรูสึกปวด ศีรษะ เหนือยลา ่ 11
  • 12. คารบอนมอนอกไซด (CO) ไ • เปนกาซไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส อยูในธรรมชาติที่ความเขมขน ประมาณ 0 1 ppm ปรกติพบในที่อยอาศัยประมาณ 0 5 - 5 ppm 0.1 ปรกตพบในทอยู าศยประมาณ 0.5 • แหลงกําเนิดกาซที่สําคัญคือ ไอเสียจากเครื่องจักร เครื่องยนต เตาเผา เตาอบ • ถาไดรับปริมาณมาก เชนเกิน 50 ppm เปนเวลานาน จะรสึกปวด ถาไดรบปรมาณมาก เชนเกน เปนเวลานาน จะรู กปวด ศีรษะ คลื่นไส อาเจียน มึนงง เหนื่อยลา 12
  • 13. ฝุนละออง • ฝุนละออง (Particulate Matter) จะทําใหเปนโรคหอบหืด โรคหัวใจ • ความหมายของ PM (กําหนดโดย EPA) มีี PM10 คืือ ฝนหยาบมีี โ ฝุ ขนาด 2.5-10 ไมครอน, PM2.5 คือ ฝุนละเอียดขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน 13
  • 15. อุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศ • เพื่อการตรวจสอบและรักษาคุณภาพอากาศภายในอาคาร สําหรับ สภาพแวดลอมทดตอสุขภาพและความสบาย เราจําเปนตองใชอปกรณวัด สภาพแวดลอมที่ดีตอสขภาพและความสบาย เราจาเปนตองใชอุปกรณวด และคํานวณพารามิเตอรตางๆ • อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณการแลกเปลี่ยนอากาศ ปริมาณ คารบอนไดออกไซด ปริมาณคารบอนมอนอกไซด และ ฝุนละอองใน อากาศ • อุปกรณที่ใชควรวััดไ แมนยํํา ใ งานไดงาย ทีี่แนะนํํามีีดังนีี้คือ ได ใช ไ – มิเตอรวดคุณภาพอากาศ ั – มิเตอรวดปริมาณฝุน ั 15
  • 16. 1. มิเตอรวัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Meter) • คุณสมบัติ – สามารถวััด อุณหภูมิ ความชืื้น ป ิมาณ ปริ คารบอนไดออกไซด ปริมาณ คารบอนมอนอกไซด ความเร็วลม – สามารถคํานวณ เปอรเซ็นตอากาศภายนอก สามารถคานวณ เปอรเซนตอากาศภายนอก จุดน้ําคาง* (dew point) *คาของอุณหภูมิของอากาศ ที่เมื่อเย็นลงอากาศจะมีไอน้ําอิ่มตัวและเริ่มกลั่นตัวเปนน้ําคาง 16
  • 17. 2. มิเตอรวัดปริมาณฝุน (Dust Meter) • ฝุนละออง (Particulate Mater) จะทําใหเปนโรคหอบหืด โรคหัวใจ • ความหมายของ PM (กําหนดโดย EPA) มี PM10 คือ ฝุนหยาบมีขนาด ุ 2.5-10 ไมครอน, PM2.5 คือ ฝุนละเอียดขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน • สิ่งปนเปอนในอากาศเปนสิ่งทีคุกคามสุขภาพ การสูดอากาศที่มีสิ่งเจือปน ่ ทําใหเกิดการปวย • สิ่งปนเปอนในอากาศที่หายใจเขา เปนอนุภาคที่มขนาดเล็กกวา 10 ี ไมครอน ประกอบดวย ฝุนละออง ไ ียเครืื่องจักร ควันบุหรีี่ ไ ไ ไอเสี ไอสารตางๆ • คุณสมบัติ – วัดปริมาณฝุน ควัน ละออง ไอระเหยขนาดตางๆ 17
  • 19. วิธการตรวจวัด ี การเก็บตัวอยางแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมในอากาศ • เครื่อง Bio Impactor แบบชั้นเดียว (Single stage impactor) ของ SKC, Inc., Model Standard Biostage • การเก็บตัวอยางใชวิธีดดอากาศภายเขาภายในตลับ ู เก็บตัวอยางซึ่งภายในมีจานเพาะเชือวางอยู ้ • เมื่อเก็บตัวอยางเรียบรอยแลว นําจานเพาะเชื้อออกจาก เครือง ปดฝาโดย seal ดวย parafilm และนําสง ่ หองปฏิบติการ ั 19
  • 20. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี • การตรวจวัดแบคทีเรียรวมและเชื้อรารวมในอากาศ เก็บตัวอยางดวยวิธีเดียวกัน แตใชอาหารเลี้ยงเชือตางชนิดกัน ้ แบคทีเรีย ใช Tryptic Soy Agar (TSA) เพาะเชือทีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-48 ้ ่ ชั่วโมง เชื้อรา ใช Malt Extract Agar (MEA) เพาะเชือทีอุณหภมิ 35-37 องศาเซลเซียส นาน 3 – 5 วัน ้ ่ ู 20
  • 21. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี ลักษณะโคโลนีของแบคทีเรียและเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเชื้อ แบคทีเรีย บน Tryptic Soy Agar (TSA) เชื้อรา บน Malt Extract Agar (MEA) 21 นับจํานวนที่เวลา 24 และ 48 ชั่วโมง นับจํานวนที่เวลา 48 และ 72 ชั่วโมง
  • 22. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี การตรวจวิเคราะหปริมาณเชื้อรา Aspergillus – เขี่ยเสนใยของเชื้อราแตละโคโลนีจาก MEA plate ภายหลังการบมเปนเวลา 72 ชั่วโมงมาทํา slide culture บนกระจกสไลดที่หยดสียอมชนิด Lactophenol-cotton blue – สองดูภายใตกลองจุลทรรศนดวยกําลังขยาย 10 และ 40 เทา โดยสังเกต ลักษณะของโครงสรางตางๆ บริเวณปลายเสนใยภายใตกลองจุลทรรศน – เชื้อรา Aspergillus จะมีลักษณะโครงสรางตางๆ แบบจําเพาะเจาะจง นั่นคือ มีการสรางสปอร (Conidiospore หรือ conidia) ที่ไมมีสิ่งหุมที่บริเวณปลาย เสนใยที่มีลักษณะเปนกระเปาะกลมทําหนาที่ชูสปอร (Conidiophore) ซึ่งที่ ปลายของเสนใยจะมเซลลทเรยกวา ปลายของเสนใยจะมีเซลลที่เรียกวา Sterigma ทาหนาทสราง ทําหนาที่สราง conidia หลายๆ อันที่เรียงตัวกันเปนแบบลูกโซ ดังแสดงในรูป 22
  • 23. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี ลักษณะโครงสรางจําเพาะของเชื้อรา Aspergillus ลักษณะ Conidia และ conidiophore ลกษณะ สีของสปอรเมื่อมองดวยตาเปลา เมื่อดูจากกลองจุลทรรศนกาลังขยาย 10 และ 4023 า ํ เท
  • 24. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี • การตรวจวัดแบคทีเรียและเชื้อราในทอสงอากาศ เก็บตัวอยางจุลินทรียโดยวิธีการปายพื้นผิว (Surface swab samples) – เลือกเก็บตัวอยางในพื้นที่เปาหมาย โดยกาหนดขนาดพนทเทากบ 2 x 2 ตร ซม เลอกเกบตวอยางในพนทเปาหมาย โดยกําหนดขนาดพื้นที่เทากับ ตร.ซม. – นํากานไมพันสําลีสาหรับเก็บตัวอยางที่ผานการฆาเชื้อจุมในหลอดแกวบรรจุ PBS ใหชุมพอหมาดๆ ํ  ปายพื้นผิวบริเวณทีตองการศึกษา/เก็บตัวอยาง ดวยวิธีการหมุนกานไมพันสําลีไปบนพื้นผิวในกรอบที่ ่ ุ กําหนด โดยใชไมพนสําลี 1 อันตอ 1 ตัวอยาง ั – นํากานไมพันสําลีทปายเชื้อมาแกวงในหลอดบรรจุ PBS หลอดเดิม แลวใหใสกานไมพนสําลีไวในหลอด ี่  ั PBS (หัักกานไมทยาวเกิินปากขวดออก) ปดฝ  ไ ี่ ป ฝาขวดใหแนน ใ – เขียนฉลากระบุหมายเลขตัวอยาง จดบันทึกวันที่ เวลา สถานที่/พื้นที่ และขนาดพื้นที่ที่เก็บตัวอยาง – บรรจุหลอดแกวเกบตวอยางในกลองเยนบรรจุไอซแพค แลวนาสงหองปฏบตการโดยเรวเพอการเพาะบม  ็ ั  ใ  ็ ซ  ํ   ป ิ ั ิ โ ็ ื่  และวิเคราะหปริมาณเชื้อจุลนทรียตอไป ิ  24
  • 25. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี นํากานไมพันสําลีที่จะปายเชื้อมาแกวงในหลอดบรรจุ PBS ใหชุมพอหมาด อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยาง เชื้อจุลินทรียในทอสงอากาศ การเก็บตัวอยางจุลินทรียโดยวิธีการปายพื้นผิว 25
  • 26. วิธการตรวจวัด (ตอ) ี การตรวจวัดแบคทีเรียและเชื้อราในทอสงอากาศ (ตอ) วิเคราะหปริมาณจุลินทรียโดยวิธี serial dilution และการ pour plate – ทําการเจือจางเชื้อดวยฟอสเฟตบัฟเฟอร โดยใหมีคาอยูในชวง 10-1– 10-6 – ดูดน้ําตัวอยางที่เจือจางแลวตัวอยางละ 1 มล. ใสลงในจานเพาะเชือที่สะอาดและผานการฆาเชื้อแลว ้ – เติมอาหารเลี้ยงเชื้อ PCA (สําหรับการวิเคราะหปริมาณแบคทีเรีย) หรือ SDA (สําหรับการวิเคราะห ปริมาณเชือรา) ลงในจานเพาะเชื้อแตละใบดวยเทคนิคปลอดเชื้อ (Sterile technique) ้ – หมุนจานเพาะเชื้อไปมาใหน้ําตัวอยางและอาหารเลี้ยงเชื้อผสมจนเขากันดี – ตั้งทิ้งไวบนพื้นราบจนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็งตัว แลวนําจานอาหารเลี้ยงเชื้อ PCA ไปบมที่อุณหภูมิ 35o ซ เปนเวลา 24-48 ชั่วโมง และสําหรับ SDA บมที่อุณหภูมิหองหรือ 25 oซ เปนเวลา 3-5 วัน – การอานผลใหนับจํานวนโคโลนีที่เจริญบน PCA และ SDA จากนั้นรายงานผลเปนจํานวนโคโลนีตอ การอานผลใหนบจานวนโคโลนทเจรญบน จากนนรายงานผลเปนจานวนโคโลนตอ ตารางหนวยพื้นทีผวทีเก็บตัวอยาง (cfu/cm2) ่ ิ ่ 26
  • 27. การทํา serial dilution เพื่อเจือจางเชื้อ การทํา pour plate ภาวะมลพษทางอากาศภายในอาคาร ภาวะมลพิษทางอากาศภายในอาคาร ตรวจนับจานเพาะเชื้อที่มีจํานวนโคโลนีในชวง 30-300 colonies ภายหลังการบมเชื้อ 27
  • 29. การควบคุมคุณภาพอากาศ 1. เดินสํารวจ และ สังเกตสภาวะอากาศ เชน กลิ่น ควัน ฝุน ละออง เชื้อราตามฝาผนัง เชอราตามฝาผนง 2. ตรวจวัดดวยเครื่องมือตรวจคุุณภาพอากาศ ดวย เครื่องมือ 29
  • 30. แนวทางการแกปญหาคุณภาพอากาศ • หาสาเหตุ และ แกที่ตนเหตุ เชน กําจัดตนเหตุ ดวยการทํา  ความสะอาดหอง เฟอรนเจอร ความสะอาดหอง เฟอรนิเจอร • การใชระบบระบายอากาศ ระบบกรองอากาศ ระบบฆาเชื้อ โรคในอากาศ • ปลกตนไมลดมลพิษ ปลูกตนไมลดมลพษ 30
  • 31. แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ 1. ทําความสะอาดอยูเสมอ • ทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศ และเครื่องกรองอากาศ สม่ําเสมอ • ทําความสะอาดหอง พื้นหอง เพดานหองรวมทั้ง อปกรณ เครื่องมือ ทาความส อาดหอง พนหอง เพดานหองรวมทง อุปกรณ เครองมอ เครื่องใชภายในหอง ใหสะอาด และไมเปนที่สะสมของฝุนละออง ขอดี พื้นที่ภายในอาคารสะอาดอยูเสมอ ไมมีแหลงสะสมของเชื้อโรค และฝุน ละออง นอกจากนีี้ยังทําใ สภาพแวดลอมนาป ิบัติงานดวย ให ปฏิ  ขอเสีย มีภาระงานทําความสะอาดเพิ่มขึ้น 31
  • 32. แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ 2. จัดใหมีการระบายอากาศที่เพียงพอ • หองที่ไมไดเปดเครื่องปรับอากาศใหเปดหนาตางรับอากาศภายนอก • หองที่เปดเครื่องปรับอากาศใหเปดพัดลมระบายอากาศ ขอด มอตราการระบายอากาศ และมอากาศหมุนเวยนทเหมาะสม ขอดี มีอัตราการระบายอากาศ และมีอากาศหมนเวียนที่เหมาะสม ขอเสีย สําหรับหองที่ติดถนน การนําอากาศภายนอกเขามาในหองอาจจะทํา ให ใ  มลพิิษ ฝนละอองจากภายนอกเขามาในหองได (ถาไ มีระบบกรอง ฝุ ใ ไ ไม อากาศ) นอกจากนี้ ยังสิ้นเปลืองคาไฟฟามากขึ้น 32
  • 33. แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ 3. ติดตั้งเครื่องกรองอากาศ หรือเครื่องฟอกอากาศ • ดักฝุนละออง มลพิษ แบคทีเรีย เชื้อรา และสิ่งปนเปอนในอากาศอื่นๆ ที่มี  ผลโดยตรงตอสุขภาพ โ ขอดี อากาศภายในหองสะอาด เพราะเชื้อโรคและฝุนละอองไดรับการดัก กรองไวดวยเครื่อง ขอเสีย คาใชจายทั้งการติดตั้ง การดูแลรักษา และคาไฟฟา ที่เพิ่มขึ้น 33
  • 34. แนวทางการปรับปรุงคุณภาพอากาศ 4. ใชตนไมลดมลภาวะ • ชวยปรับปรงคณภาพอากาศภายในหองใหดีขึ้นดวยการฟอกอากาศ ดด ชวยปรบปรุงคุณภาพอากาศภายในหองใหดขนดวยการฟอกอากาศ ดูด สารพิษและกาซเสียจากมนุษยเชนกาซคารบอนไดออกไซด ดับกลิ่น เพิ่ม ออกซเจน นอกจากนี้ยังสรางความสดชื่นใหกับผ ฏิบัติการและผ ชบรการ ออกซิเจน นอกจากนยงสรางความสดชนใหกบผูปฏบตการและผูใชบริการ ไดอีกดวย ขอดีี ชวยลดมลพิษสวนหนึึ่งใ ในอากาศ และทําใ หองมีความชุมชื้ืน แลดูสด ให ี ชื่นสบายตา นอกจากนี้ยังประหยัดคาไฟฟา ขอเสีย เพิ่มภาระงานการดูแลตนไม ทั้งการรดน้ํา การพรวนดิน ใสปุย และ ตองสบเปลยนตนไมอยู ตองสับเปลียนตนไมอยเสมอ ่ 34
  • 36. ปญหาจากการระบายอากาศที่ไมดี • ติดเชื้อที่ผานมาทางอากาศ เชนวัณ โรค เปนตน เปนตน • หายใจไมสะดวก อึดอัด ปวดศีรษะ มึน ไอจาม • เจ็บปวยเปนประจํา เจบปวยเปนประจา http://en.wikipedia.org/wiki/File:Tuberculosis-x-ray-1.jpg • หองมีความชื้นสูง มีเชื้อราขึ้นตามฝา ู ผนัง พื้นหอง • มีกลิ่นอับ กลนเหมน กลิ่นอาหาร มกลนอบ กลิ่นเหม็น กลนอาหาร 36
  • 37. การระบายอากาศ • การระบายอากาศ คือ การจัดการเคลื่อนยายอากาศดวยปริมาณที่ กาหนดใหไหลไปในทศทางและดวยความเรวทตองการ กําหนดใหไหลไปในทิศทางและดวยความเร็วที่ตองการ การระบายแบบธรรมชาติ การระบายแบบวิธกล ี 37
  • 38. ประโยชนของการระบายอากาศ โ  1. ควบคุมระดับสิ่งปนเปอนในอากาศ เชน เชื้อโรค ฝุนละออง ไอสารเคมี กาซ ควัน กาซ ควน ฯลฯ ในหองปฏบตงานใหอยูในระดบทปลอดภย ซงสง ในหองปฏิบัติงานใหอย นระดับที่ปลอดภัย ซึ่งสิ่ง ปนเปอนเหลานี้เมื่อไดรับเขาสูรางกายก็จะมีการสะสมในอวัยวะตางๆ  จนถงระดบหนงททาใหคนเจบปวยหรอไมสบายได จนถึงระดับหนึ่งที่ทําใหคนเจ็บปวยหรือไมสบายได โดยเฉพาะ บุคลากร ผูปวย ญาติ และผูมาติดตอโรงพยาบาล 2. ควบคุมอุณหภูมิและความชืื้นใ อยูในระดบทีี่รูสึกสบายได เพราะ ให ั ไ ความรอน และความชื้น ถาไมเหมาะสมจะทําใหปวย หงุดหงิด อึดอัด และไมสามารถทํํางานได แลวยัังเปนสาเหตุของอุบัติเหตุ ไ ไ  ป 38
  • 39. การคํานวณการระบายอากาศ • อัตราการแลกเปลี่ยนอากาศตอชั่วโมง หรือ Air changes per hr (ACH) คือ คาปริมาณการถายเทอากาศ คดเปนจานวนเทาของ คอ คาปรมาณการถายเทอากาศ คิดเปนจํานวนเทาของ ปริมาตรหองภายในเวลาหนึ่งชั่วโมง • อัตราการระบายอากาศ (ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง) คือ คาปริมาณการ ู ถายเทอากาศ คิดเปนลกบาศกเมตรตอชั่วโมง คาอัตราการระบาย อากาศ มีความสัมพันธโดยตรงกับคาอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ ดงนคอ อัตราการระบายอากาศ (ลูกบาศกเมตรตอชวโมง) เทากบ ดังนี้คือ อตราการระบายอากาศ (ลกบาศกเมตรตอชั่วโมง) เทากับ อัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ (ตอชั่วโมง) คูณดวย ปริมาตรของหอง (ลูกบาศกเมตร) 39
  • 40. แนวทางการแกปญหาการระบายอากาศ • ตรวจการระบายอากาศ กําหนดอัตราระบายอากาศที่ เหมาะสม ทดสอบหาคาการระบายอากาศ ทดสอบหาคาการระบายอากาศ • ดําเนินการแกปญหา เชน ถามีปญหาที่การระบายอากาศ ควร  ติดตั้ง หรือ แกไขระบบระบายอากาศ เปดหนาตางระบาย ตดตงระบบกรองอากาศ ติดตั้งระบบกรองอากาศ 40
  • 41. ระบบปรัับอากาศและระบายอากาศ ป หองปรับอากาศทั่วไป (แบบแยก) ขนาดเล็ก เครื่องปรับอากาศ อากาศภายนอก 35 C, 60%RH รั่วเขา-ออก ความเร็วลมพุงออก 2.5-5.0 m/s พดลม Air-Filter อากาศ พัดลม Ai Filt 35 C 25 C, 30-60%RH ภายนอก ความเร็วลมผานตัว 0.08-0.25 m/s รั่วเขา-ออก อากาศผาน Air-Filter 8-12 ครั้งใน 1 ชม. (8-12 Air Change/hour) อากาศภายนอก ซงชนมไอนา 2 เทาของอากาศในหอง ไ  ึ่ ื้ ไ ้ํ ี  ใ  ไหลเขา โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน ในบริเวณใด ก็จะทําใหความชื้นสัมพัทธสูงขึ้นในบริเวณนั้น 41
  • 42. หองปรับอากาศทั่วไป ขนาดกลางและใหญ อากาศภายนอก 35 C, 60%RH ไมใหร่วเขา ั อากาศภายนอก ความเร็็วลมพุงออก 2.5-5.0 m/s ไม  ไ ใหรั่วเขา 35 C,60%RH 25 C, 30-60%RH ดูดเขา อากาศผานAir-Filter ความเร็วลมผานตัว พัดลม 0.08-0.25 m/s 8-12 ครั้งใน 1 ชม. Air-Filter (8-12 Air Change/hour) ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซึ่งชื้นมีไอน้ํา ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซงชนมไอนา 2 โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน เทาของอากาศในหอง ไหลเขา ใหไหลออกเทานั้น 42
  • 43. หองปรับอากาศ สําหรัับหองผาตััดหรืือหองสะอาด ั  อากาศภายนอก 4-5 Air change/h 35 C, 60%RH Air-Filter Bed 2 (HEPA filter) Laminar Flow( Unidirection Flow ) 0.45 m/s 22 C,50%RH ดูดเขา ดดเขา อากาศผานAir Filter 20 25 ครงใน ชม. อากาศผานAir-Filter 20-25 ครั้งใน 1 ชม (20-25 Air Change/hour) พัดลม ความดัน +12 Pa ทําใหอากาศรั่วออกไดเทานั้น Air-Filter Ai Filt Bed 1 เกลดลมกลบทผนงดานลางทผนงทง ดาน เกล็ดลมกลับที่ผนังดานลางที่ผนังทั้ง 2 ดาน ตองออกแบบไมใหอากาศภายนอก ซึ่งชื้นมีไอน้ํา 2 เทา และอาจจะสกปรกไหลเขา 43 โดย รศ. ฤชากร จิรกาลวสาน
  • 45. T.B. Viruses Bacterias 45 3 Feet
  • 46. การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ เชื้อโรค เชน ไวรัส (สุกใส หัดเยอรมัน ฯลฯ) แบคทีเรีย (วัณโรค ฯลฯ) เชอรา เชื้อรา (Aspergillus) สามารถติดตอไดทางอากาศ ซึ่งสามารถควบคม สามารถตดตอไดทางอากาศ ซงสามารถควบคุม การติดเชื้อไดดังนี้คือ 1. ปองกันเชื้อเขาหรือออกจากหอง • รอยรั่วตามที่ตางๆ เชน กรอบ ๆ ประตู กรอบหนาตาง ผนัง ฝา เพดาน • สรางความดันแตกตางระหวาง ภายในกบภายนอกหอง ใ ั  46
  • 47. การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ 2. การกําจัดเชื้อออกจากอากาศ • การใชระบบกรองอากาศ การใชระบบกรองอากาศ • การดูดอากาศออก 3. การเจือจางเชื้อในอากาศ • อากาศเขาตามรอยรั่วตามที่ตางๆ เชนกรอบประตู กรอบ อากาศเขาตามรอยรวตามทตางๆ เชนกรอบประต หนาตาง ผนัง ฝาเพดาน • ดูดอากาศสะอาดเขามาเจอจาง ศ  ื 47
  • 48. การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศ 4. การควบคุมการไหลของอากาศ ไ • ไหลในทิศทางเดียว • ไมผานจากคนปวยไปยังคนอืนๆ ่ 5. ปองกนการเจรญเตบโตของเชอ 5 ปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อ http://www.price-hvac.com/catalog/E_all/E_HTML/E_EG4.html • อุณหภูมิ ความชื้นที่เหมาะสม (ไมเกิน 60% RH) • หองสะอาด ไมสะสมฝุน ทั้งที่ อุปกรณสํานักงาน เครื่องมือ พื้น เพดาน ผนัง ทอลม พัดลม ฯลฯ • ไมมีพ้ืนผิวเปยกชื้น 6.  ชื้ ใ 6 ฆาเชอในอากาศ ศ 48 • ฆาดวยรังสีอัลตราไวโอเลต (UVGI lamp) Ultraviolet germicidal irradiation
  • 49. แผงกรองอากาศ (Air Filter) แผงกรองอากาศ ปจจุบันนิยมใชมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2- 1999 ยอวา MERV (Mi i   (Minimum Efficiency Reporting V l ) ดํําเนนการ Effi i R ti Value) ิ โดย NAFA (National Air Filtration Association) แผงกรองอากาศชนิดพิเศษประสิทธิภาพสูง - HEPA filter (High Efficiency Paticulate Air Filter) ที่มีคา MERV-17 ตองใชในหองผาตัดที่ สําคัญ HEPA filter ตองใชกรองอากาศที่ระบายทิ้งที่มีเชื้อโรคติดตอ หรอม ตองใชกรองอากาศทระบายทงทมเชอโรคตดตอ หรือมี สารพิษ หรือสารที่กัมมันตรังสีเชนกัน 49
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. การบํารุงรักษาเครืองปรับอากาศในสวน ่ ทีี่เกีี่ยวเนืื่องกับฝนละอองและเชืื้อรา ั ฝุ
  • 54. การบารุงรกษาเครองปรบอากาศในสวนท การบํารงรักษาเครื่องปรับอากาศในสวนที่ เกี่ยวเนื่องกับฝุนละอองและเชื้อรา การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศทําใหดีตอสุขภาพอนามัยของผูปฏิบติงาน ั ภายในหองเนื่องจากหลายๆ สวนประกอบของเครื่องปรับอากาศเปนที่สะสม ของฝุนผง และเชือโรคตางๆ นอกจากนี้ ยังทําใหเครื่องปรับอากาศมี ้ ประสทธภาพการทางานทดอยู ประสิทธิภาพการทํางานที่ดีอยเสมอ 1. ควรทําความสะอาดแผนกรองอากาศทุก ๆ 2 สัปดาห 2. 2 ควรทํําความสะอาดแผงทอทํําความเยนดวยแปรงนม ๆ และนํ้ํา  ็  ป ิ่ ผสมสบูเหลว อยางออนทุก 6 เดือน 3. ทําความสะอาดพัดลมสงลมเย็นดวยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุน ละอองทจบกนเปนแผนแขงและตดกนอยู ามซใบพดทุกๆ เดอน ละอองที่จับกันเปนแผนแข็งและติดกันอยตามซี่ใบพัดทกๆ 6 เดือน 54
  • 55. ถอดลางแผนกรองฝุน ุ อยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง 55