SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word press
เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

จัดทาโดย
นางสาวธิดารัตน์ โพธิ์งาม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

เสนอ
นายณัฐพล บัวพันธ์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์น้ ีเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

หัวข้อโครงงาน: การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word press เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงาน
: โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา
ผูเ้ สนอโครงงาน : เด็กชาย พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
เด็กชาย สมพงษ์ แก้วมณี เลขที่9 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
เด็กหญิง ช่อลัดดา เพศเสนา เลขที่14 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
เด็กหญิง สุนิสา ใจผ่อง เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
เด็กหญิง สุพรรณี สี พรมมา เลขที่33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2
ครู ที่ปรึ กษาโครงงาน : นางอรุ ณี ชัยพิชิต
ปี การศึกษา : 2555

บทคัดย่อ
โครงงานการพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ อง นี้ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นโดยมีวตถุประสงค์
ั
เพื่อนาเอาความรู ้ความเข้าใจไปใช้ในการเรี ยน ทั้งนี้ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาความรู ้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่ อง ซอฟต์แวร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาสังที่สงงานคอมพิวเตอร์เป็ นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสังเหล่านี้ได้จดเตรี ยมไว้ใน
ั
่ ั่
่
หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสังแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งที่มนุษย์จดทาขึ้น และ
ั
่
คอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น โดยผูจดทาโครงงานสามารถพัฒนารู ปแบบของ
้ั
เว็บบล็อกจาก WordPress ได้ดวยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้นทั้งนี้ ทาให้
้
่
สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไปได้เป็ นอย่างดี
้
่

บทที่ 1
บทนา

แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
ปั จจุบนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิงใหญ่ต่อ
ั
่
ทุกวงการทัวโลก รวมทั้งวงการศึกษาไทยด้วย และผลพวงที่ติดตามมาในแง่เทคนิควิธีการเกี่ยวกับ
่
กระบวนการเรี ยนรู ้คือแนวโน้มในการเรี ยนรู ้แบบโต้ตอบสองทาง (Interactive) ที่กาลังก้าวเข้ามาแทนที่กระบวนการ
เรี ยนรู ้แบบเดิม ที่ผรับได้แต่ “รับเอา” โดยไม่อาจ “เลือก” แต่อย่างใด จาก
ู้
แนวคิดดังกล่าว ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกต่างหันมาให้ความสนใจในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ให้เกิด
่
ประโยชน์สูงสุดแก่ผเู ้ รี ยนในทุกระดับ มีการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์และสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ผูเ้ รี ยนรุ่ นใหม่จะเป็ นผูเ้ รี ยนที่มีความคิดรักการเรี ยนรู ้ มีหลักในการศึกษา
ค้นคว้าอย่างเป็ นระบบมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ มีความรู ้ทกษะที่จาเป็ นในการแสวงหา
ั
ความรู ้ดวยตนเองมากขึ้น จึงเป็ นที่ยอมรับว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กลายเป็ นปั จจัยที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการจัด
้
การศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิง ด้านการ
่
จัดการเรี ยนการสอนนั้น ได้มีขอกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ว่า รัฐต้องส่งเสริ มและ
้
สนับสนุนให้มีการผลิตสื่ อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งให้มีการพัฒนาบุคลากรด้านการผลิตและผูใช้ให้มีความรู ้
้
ความสามารถ มีทกษะตลอดจนผูเ้ รี ยนให้มีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนาเพื่อให้มีความรู ้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยี
ั
เพื่อการศึกษา ในการแสวงหาความรู ้ดวยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวต
้
ิ
ดังนั้นเพื่อให้เป็ นบทเรี ยนที่เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ ขณะเดียวกันผูเ้ รี ยนจะได้รับการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้แบบทีมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
เรี ยนรู ้ และยังสามารถเป็ นแนวทางในการสร้างบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในเรื่ องอื่นๆ
ต่อไป

วัตถุประสงค์
1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วยWord pressเรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ได้
2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
3 เพื่อศึกษาให้เข้าใจกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

ขอบเขตของโครงงาน

1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word pressเรื่ อง ซอฟต์แวร์นาเสนอ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word pressเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
3 ได้รู้เกี่ยวกับเรื่ องของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

1 ความหมายของซอฟต์แวร์

การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทางาน เช่น การซื้อของโดยใช้บตรเครดิต
ั
ผูขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่ องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ขอมูลของบริ ษทผูออกบัตร การ
้
้
ั ้
ตรวจสอบจะกระทากับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรื อเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คาตอบว่าจะยอมรับหรื อ
ปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดาเนินการเหล่านี้เป็ นไปโดยอัตโนมัติตามคาสังซอฟต์แวร์
่
ทานองเดียวกันเมื่อซื้อสิ นค้าในห้างสรรพสิ นค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่ องกราดตรวจอ่านรหัสแท่งบนสิ นค้าทาให้บน
จอภาพปรากฏชื่อสิ นค้า รหัสสิ นค้า และราคา ในการดาเนินการนี้ตองใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่ทาให้
้
ระบบคอมพิวเตอร์ทางานได้
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสังที่สงงานคอมพิวเตอร์เป็ นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสังเหล่านี้ได้จดเตรี ยมไว้ใน
ั
่ ั่
่
หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสังแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งที่มนุษย์จดทาขึ้น และ
ั
่
คอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็ นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์
(application software)

2 ซอฟต์แวร์ระบบ
คือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้ นอักขระ
การแสดงผลบนจอภาพ การนาข้อมูลออกไปพิมพ์ยงเครื่ องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็ นแฟ้ ม การเรี ยกค้นข้อมูล การสื่ อสาร
ั
่
ข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยูในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จกกันดี คือ
ั
ระบบปฏิบติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลีนุกซ์ เป็ นต้น
ั
ั
คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้หากปราศจากระบบปฏิบติการ ซึ่งทาหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กบคอมพิวเตอร์ เรา
ั
สามารถสังงานผ่านระบบปฏิบติการให้คอมพิวเตอร์คานวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ขอความหรื อผลลัพธ์ออกมาทาง
ั
้
่
เครื่ องพิมพ์ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยงทาหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเครื่ อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่
ั
ว่าประเภทใดล้วนแต่ตองทางานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น
้
เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะไม่ทางาน ถ้าไม่มีระบบปฏิบติการ การเริ่ มใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกครั้งจึงต้องบรรจุ (load)
ั
ระบบปฏิบติการเข้าไว้ในหน่วยความจาของเครื่ องคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะให้เครื่ องเริ่ มทางานอย่างอื่น
ั

2.1 ระบบปฏิบติการกับการปฏิบติงานของคอมพิวเตอร์
ั
ั

ระบบปฏิบติการทาหน้าที่ประสานงานหรื อกากับดูแลการทางานของคอมพิวเตอร์ ในการกาหนดว่าจะเก็บโปรแกรมหรื อ
ั
ั
ข้อมูลเก็บไว้ในส่วนใดของหน่วยความจา ดูแลการติดต่อระหว่างส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กบโปรแกรมใช้งานหรื อผูใช้
้
คอมพิวเตอร์ ควบคุมการส่งสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ข้ ึนไปปรากฏบนจอภาพ ควบคุมการพิมพ์ของเครื่ องพิมพ์
ตัวอย่างเช่น ควบคุมการแปลสัญญาณจากแป้ นพิมพ์ให้เครื่ องรับรู ้ ควบคุมการบันทึกหรื อการอ่านข้อมูลของเครื่ องขับแผ่น
บันทึก
นอกจากนี้ ในปั จจุบนการทางานในลักษณะกลุ่ม และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาทในการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
ั
กว้างขวาง ทาให้ระบบปฏิบติการที่พฒนาขึ้นมาในระยะหลังๆ จาเป็ นต้องมีความสามารถในการทางานและให้บริ การบน
ั
ั
เครื อข่ายเพิ่มขึ้น โดยระบบปฏิบติการมีหน้าที่จดการงานในการติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ จัดสรรให้
ั
ั
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในเครื อข่ายสามารถใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ในเครื อข่ายร่ วมกัน เช่น การใช้งานเครื่ องพิมพ์ร่วมกัน และ
่
ควบคุมดูแลการใช้งานข้อมูลส่วนกลางซึ่งอยูในเครื่ องที่ทาหน้าที่เป็ นแม่ข่าย โดยสามารถกาหนดสิ ทธิในการเข้าใช้ขอมูล
้
่
ของผูใช้ที่อยูในกลุ่ม มีระบบป้ องกันอันตรายที่จะเกิดกับข้อมูล
้
2.2 ประเภทของระบบปฏิบติการ
ั
่
เนื่องจากระบบปฏิบติการเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานได้ แต่ดวยเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยูใน
ั
้
ปั จจุบนมีสถาปั ตยกรรมที่แตกต่างกัน เช่น เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เราใช้งานทัวไปจะมีคุณสมบัติและการทางานที่
ั
่
แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ นเครื่ องให้บริ การที่ตองคอยให้บริ การและดูแล
้
เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เป็ นบริ วารจานวนมาก ระบบปฏิบติการที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จึงต้องมีความซับซ้อนกว่า
ั
ระบบปฏิบติการที่ใช้ในเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ และเราสามารถแบ่งประเภทของระบบปฏิบติการตามลักษณะการทางาน
ั
ั
ได้เป็ น 3 ประเภทดังนี้
(1) ประเภทใช้งานเดียว (single-tasking) ระบบปฏิบติการประเภทนี้จะกาหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงาน
ั
เท่านั้น ใช้ในเครื่ องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบติการดอส
ั

(2) ประเภทใช้หลายงาน (multitasking) ระบบปฏิบติการสามารถควบคุมการทางานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน
ั
ผูใช้สามารถทางานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน โดยระบบปฏิบติการจัดสรรทั้งเวลาและเนื้อที่ที่ตอง
้
ั
้
ใช้ในการประมวลผลคาสังของซอฟต์แวร์แต่ละชนิด เช่น แบ่งปั นเวลาในการประมวลผลของซีพียู และการแบ่งเนื้อที่ใน
่
หน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูลและคาสังของซอฟต์แวร์ที่ใช้งาน เช่น ระบบปฏิบติการวินโดวส์ 95 และ 98
ั
่
(3) ประเภทใช้งานหลายคน (multiuser) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทาหน้าที่ประมวลผล ทา
ให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึง
ู้
ต้องใช้ระบบปฏิบติการที่มีความสามารถในการจัดการสูง เพื่อให้ผใช้ทุกคนสามารถทางานเสร็ จได้ในเวลา
ั
ู้
ระบบปฏิบติการในกลุ่มนี้ เช่น ระบบปฏิบติการวินโดวส์เอ็นที
ั
ั

2.3ตัวอย่างระบบปฏิบติการ
ั

เนื่องจากระบบปฏิบติการจะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมใช้งาน ดังนั้นระบบปฏิบติการจึงมีหลายชนิด ปั จจุบน
ั
ั
ั
ระบบปฏิบติการที่นิยมใช้งานกันแพร่ หลายมีดงนี้
ั
ั
(1) ระบบปฏิบติการดอส (Disk Operating System : DOS) บริ ษทไอบีเอ็มผลิตเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ข้ ึนมาและให้
ั
ั
ชื่อว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ได้มอบหมายให้บริ ษทไมโครซอฟต์เป็ นผูพฒนาระบบปฏิบติการโดยให้ชื่อว่า พีซีดอส ต่อมา
ั
้ ั
ั
เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์แบบนี้เป็ นที่แพร่ หลาย จึงมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ซ่ ึงมีการทางานแบบเดียวกับ
ู้
ไมโครคอมพิวเตอร์ของบริ ษทไอบีเอ็ม ไมโครคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะใช้ระบบปฏิบติการของบริ ษทไมโครซอฟท์เช่นกันแต่
ั
ั
ั
ใช้ชื่อว่าเอ็มเอสดอส (Microsoft Disk Operating System : MS-DOS) ซึ่งมีการทางานคล้ายพีซีดอส แต่ปัจจุบนไม่ได้
ั
รับความนิยมแล้ว
(2) ระบบปฏิบติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็ นระบบปฏิบติการประเภทใช้หลายคน และหลายงาน ได้มีผพฒนาระบบปฏิบติการ
ั
ั
ู้ ั
ั
ั
ยูนิกซ์ให้สามารถใช้กบเครื่ องชนิดต่างๆ หลายระบบโดยตั้งชื่อใหม่ เช่น ซีนิกซ์ (Xenix) วีนิกซ์ (Venix) ไมโครนิกซ์
(Micronix) เอไอเอ็กซ์ (AIX) อัลทริ กซ์ (Altrix) เป็ นต้น ปั จจุบนมีความพยายามจะกาหนดให้ระบบปฏิบติการที่มีชื่อต่าง ๆ
ั
ั
เหล่านี้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน โปรแกรมที่พฒนาภายใต้ระบบยูนิกซ์น้ ี มีขอดีตรงที่ไม่ตองขึ้นกับเครื่ องแบบใดแบบหนึ่ง
ั
้
้
โดยเฉพาะ
(3) ระบบปฏิบติการไมโครซอฟต์วนโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบติการที่พฒนาโดยบริ ษทไมโครซอฟต์
ั
ิ
ั
ั
ั
เป็ นระบบปฏิบติการที่มีลกษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรกที่กล่าวมา เนื่องจากมีส่วนติดต่อกับผูใช้ (user
ั
ั
้
interface) เป็ นแบบที่เรี ยกว่าระบบติดต่อผูใช้แบบกราฟิ ก (Graphic User Interface : GUI) หรื อที่เรี ยกว่าจียไอ คือมี
้
ู

การแสดงผลเป็ นรู ปภาพ และใช้สญลักษณ์ในรู ปรายการเลือก (menu) หรื อสัญรู ป (icon) ในการสังงานคอมพิวเตอร์แทน
ั
่
การพิมพ์คาสังทีละบรรทัด ทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสนทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น
ั
่

ระบบปฏิบติการวินโดวส์น้ ีเป็ นระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ทวไป ทั้งนี้นอกจาก
ั
ั
ั่
จะเป็ นเพราะความง่ายในการใช้งานที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังเป็ นเพราะหลังจากที่บริ ษทไมโครซอฟต์ได้ผลิต
ั
่
ระบบปฏิบติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งานบนระบบปฏิบติการนี้ข้ ึนหลายประเภท ไม่วา
ั
ั
ั
จะเป็ นซอฟต์แวร์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน หรื อซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล ซึ่งช่วยอานวยความ
สะดวกในการทางานของผูใช้ในทุกๆ ด้าน ทาให้เกิดการใช้งานที่แพร่ หลาย นอกจากนี้ยงได้มีการพัฒนาระบบปฏิบติการ
้
ั
ั
รุ่ นใหม่ๆ ที่สนับสนุนการใช้งานกับเทคโนโลยีใหม่ที่พฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วนโดวส์ 3.0 (Windows 3.0) ซึ่งเป็ นรุ่ น
ั
ิ
แรกที่ทางานบนเครื่ องเดียว พัฒนาเป็ นรุ่ นหรื อเวอร์ชน (version) ที่สามารถทางานเป็ นกลุ่มหรื อเครื อข่ายภายในองค์กรที่
ั่
ใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ และพัฒนาต่อมาเป็ นวินโดวส์ 95(Windows 95) วินโดวส์ 98 (Windows 98) วินโดวส์ เอ็มอี
(Windows ME) และพัฒนาเป็ นระบบปฏิบติการเครื อข่ายที่สามารถจัดการด้านการติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ อง
ั
คอมพิวเตอร์บนเครื อข่าย จัดการด้านการใช้งานอุปกรณ์ร่วมกัน และดูแลจัดสรรและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เช่น
วินโดวส์ เอ็นที (Windows NT) วินโดวส์ 2000(Windows 2000) และวินโดวส์ เอ็กซ์พี (Windows XP) หรื อแม้แต่
ระบบปฏิบติการสาหรับคอมพิวเตอร์พกพาอย่างวินโดวส์ ซีอี (Windows CE)
ั

(4) ระบบปฏิบติการลีนุกซ์ (Linux) เป็ นระบบปฏิบติการยูนิกซ์ระบบหนึ่งเช่นเดียวกับซีนิกซ์หรื อวีนิกซ์ ได้รับการพัฒนา
ั
ั
โดยนักศึกษาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยเฮลซินกิประเทศฟิ นแลนด์ชื่อลีนุซ ทอร์วาลด์ (Linus
Torvalds) เขาเริ่ มพัฒนาระบบปฏิบติการดังกล่าวในปี
ั

พ.ศ. 2523 ด้วยเขาต้องการพัฒนาระบบปฏิบติยนิกซ์ที่มี
ั ู

ความสามารถมากกว่าไมนิกซ์ซ่ ึงเขาใช้งานอยู่ จึงเริ่ มต้นพัฒนาระบบปฏิบติการนี้เอง โดยไม่ได้ลอกเลียนแบบจากระบบ
ั
ยูนิกซ์อื่นเลย และในปี พ.ศ. 2534 ระบบปฏิบติการลีนุกซ์เวอร์ชน 0.010 ก็ได้รับการเผยแพร่ โดยมีการแจกให้ใช้งานฟรี
ั
ั่
รวมทั้งรหัสต้นแบบ (source code) ก็เป็ นที่เปิ ดเผย จึงเป็ นที่นิยมและมีผนาไปพัฒนาลีนุกซ์ของตนเองขึ้นใช้งานมากมาย
ู้
รวมทั้งมีผพฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ข้ ึนใช้งานบนลีนุกซ์อีกด้วย
ู้ ั
ด้วยเหตุที่มีผนารหัสต้นแบบของระบบปฏิบติการระบบนี้มาพัฒนาเป็ นของตนเองมากมายและเนื่องจากในปั จจุบนแนวคิด
ู้
ั
ั
ของจียไอกาลังเป็ นที่นิยม จึงมีการพัฒนาระบบปฏิบติการลินุกซ์ให้สามารถทางานบนระบบเอกซ์วนโดวส์ (X Windows)
ู
ั
ิ
่
ซึ่งเป็ นระบบที่มีการติดต่อกับผูใช้แบบกราฟิ ก และถือได้วาลินุกซ์เป็ นยูนิกซ์ที่สมบูรณ์แบบ อีกทั้งเป็ นระบบปฏิบติการที่
้
ั
สามารถทางานได้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ประสิ ทธิภาพไม่สูงมาก เช่น เครื่ องในตระกูล 80386 ได้ และต้องการ
หน่วยความจาเพียง 2 เมกะไบต์ในการทางานบนสภาวะตัวอักษร (text mode) หรื อ 64 เมกะไบต์ในการทางานบนเอกซ์
วินโดวส์

ระบบปฏิบติการลินุกซ์ในสภาวะเอกซ์วนโดวส์
ั
ิ

3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์

ั
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กบงานที่ผใช้ตองการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์
ู้ ้
จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิ ก ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็ นต้น
ั
การทางานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จาเป็ นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเอ็มเอสดอสหรื อวินโดวส์ เป็ นต้น
ั
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่ หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก ขีดความสามารถของ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ นๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกันหลายๆ ด้าน เช่น เรี ยนรู ้และใช้งานได้
ั
ั
ง่าย สนับสนุนให้ใช้กบเครื่ องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วธีหรื อขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน
ิ
และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย
่
ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยูมากมาย อาจแบ่งได้เป็ นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์สาเร็ จ

3.1 ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง

เป็ นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้งานเฉพาะด้าน หรื อในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความต้องการ
ของผูใช้ โดยที่ผเู ้ ขียนคือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และ
้
ต้องศึกษาทาความเข้าใจเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์น้ นเป็ นอย่างดี เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน
ั
โปรแกรมช่วยจัดการบริ การลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้ในท้องตลาดทัวไป แต่จะซื้อหา
่
ได้จากผูผลิตหรื อตัวแทนจาหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทัวไป
้
่
โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้า และระบบหลักของงาน ภายใน
ซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทางานประมวลคาเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกาหนดการ
ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีท้ งรู ปแบบที่มีผใช้งานคนเดียว หรื อผูใช้งานได้พร้อมกันหลายคน
ั
ู้
้
่ ้
ในประเทศไทยมีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยูบาง ส่วนใหญ่จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่บริ ษทผูผลิตต่างประเทศได้
ั ้
ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่น้ ีได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดงนี้
ั
(1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่ อมราคาสะสม
บัญชีแยกประเภททัวไป และบัญชีเงินเดือน
่
(2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจาหน่าย ได้แก่ ระบบงานรับใบสังซื้อสิ นค้า ระบบงานบริ หารสิ นค้าคงคลังและระบบงาน
่
ประวัติการขาย
(3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกาหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกาลังการผลิต
การคานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความต้องการวัสดุ การ
ควบคุมการทางานภายในโรงงาน การกาหนดเงินทุนมาตรฐานสิ นค้าและการกาหนดขั้นตอนการผลิต
(4) ซอฟต์แวร์อื่นๆ ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริ หารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริ มทรัพย์ และการเช่าซื้อรถยนต์

3.2 ซอฟต์แวร์สาเร็ จ
เป็ นซอฟต์แวร์ที่มีบริ ษทผูผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทัวไป ผูใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทัวไปได้ ซอฟต์แวร์
ั ้
้
่
่
ั
ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผูใช้งานจะต้องเป็ นผูนาไปประยุกต์กบงานของตน ผูใช้อาจต้องมีการ
้
้
้
สร้างหรื อพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทัวไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป
่
ซอฟต์แวร์ใช้งานทัวไปซึ่งนิยมเรี ยกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็ จ แบ่งออกเป็ นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งานคือ
่
(1) ด้านการประมวลคา
(2) ด้านการวิเคราะห์ขอมูล หรื อตารางทางาน
้
(3) ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็ นระบบฐานข้อมูล
(4) ด้านกราฟิ ก และนาเสนอข้อมูล
(5) ด้านการติดต่อสื่ อสารทางไกล
(6) ด้านการพิมพ์ต้ งโต๊ะ
ั
(7) ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน
(8) ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
(9) ด้านการจาลอง เกม และการตัดสิ นใจ
ในบรรดาซอฟต์แวร์สาเร็ จที่มีหลายกลุ่มนี้ กลุ่มซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานมากและจาเป็ นต้องมีประจาหน่วยงาน มักจะเป็ น
รายการแรก คือ ด้านการประมวลคา ด้าน ตารางทางาน ด้านระบบฐานข้อมูล และด้านกราฟิ กซอฟต์แวร์สาเร็ จส่วนใหญ่
เป็ นซอฟต์แวร์ประยุกต์เชิงพาณิ ชย์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ยกเว้นเฉพาะกลุ่มแรก คือ โปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมี
การสร้างและพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถนามาใช้งานร่ วมกับภาษาไทย และยังมีการนาซอฟต์แวร์เดิมมาดัดแปลงและ
เพิ่มเติมส่วนที่ใช้งานเป็ นภาษาไทย

4 ซอฟต์แวร์ประมวลคา

ซอฟต์แวร์ประมวลคาเป็ นซอฟต์แวร์ในการนาตัวอักษรมาเรี ยงต่อเป็ นคา ประโยคหรื อย่อหน้า คล้ายการใช้เครื่ องพิมพ์ดีด
่
พิมพ์ขอความบนกระดาษ แต่ต่างกันที่ตวอักษรที่พิมพ์หรื อป้ อนเข้าทางแผงแป้ นอักขระจะเข้าไปเก็บอยูในหน่วยความจา
้
ั
ของคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้ง่าย ภายใต้ขอกาหนดของซอฟต์แวร์ผใช้สามารถกาหนดปรับแต่งรู ปแบบ
้
ู้
ได้ตามต้องการ เช่น การกาหนดเส้นกั้นหน้าและกั้นหลัง กั้นบนและกั้นล่าง เมื่อมีการแก้ไขจนเป็ นที่พอใจแล้ว สามารถสัง
่
พิมพ์เอกสารออกทางเครื่ องพิมพ์ได้หลายชุดตามที่ตองการ เอกสารที่พิมพ์จากเครื่ องพิมพ์ จะมีคุณภาพดีไม่มีรอยเปื้ อนจาก
้
การแก้ไขดัดแปลง
ั
นอกจากนี้ยงสามารถเก็บบันทึกเอกสารนั้นเป็ นแฟ้ มในสื่ อบันทึก เช่น แผ่นบันทึก เพื่อให้พกพาติดตัวไปใช้กบเครื่ องอื่น
ั
แฟ้ มเอกสารที่เก็บไว้แล้วนี้สามารถเรี ยกมาแสดงผลบนจอภาพเพื่อทาการดัดแปลงใหม่ได้อีกด้วย
ลักษณะการใช้งานซอฟต์แวร์ประมวลคาจะเป็ นการเตรี ยมเอกสารที่มองเห็นงานพิมพ์ไปปรากฎที่จอภาพ ถ้าพิมพ์ผิดและ
ต้องการแก้ไขเพิ่มเติมหรื อตัดทอนที่ตาแหน่งใด จะต้องเคลื่อนย้ายตัวชี้หรื อตัวกะพริ บบนจอภาพไปยังตาแหน่งนั้นเพื่อทา
การแก้ไข เนื่องจากสามารถแทรกหรื อลบตัวอักษรหรื อข้อความได้ตลอด และโปรแกรมจะคงรู ปแบบให้เป็ นไปตามที่
กาหนดไว้ จึงทาให้ไม่เสี ยเวลาและสิ้นเปลืองเหมือนการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่ องพิมพ์ดีด ซึ่งถ้ามีขอผิดพลาดจะต้องพิมพ์
้
ใหม่
ซอฟต์แวร์ประมวลคา มีคุณสมบัติเด่นกว่าการเตรี ยมเอกสารด้วยเครื่ องพิมพ์ดีดหลายประการ อาจจะสรุ ปได้ดงนี้
ั
(1) สามารถควบคุมสังจัดวางรู ปแบบเอกสารได้ใหม่ตามต้องการ โดยจะพิมพ์ผลลัพธ์ออกมาตามรู ปแบบที่กาหนด เช่น การ
่
กาหนดจานวนตัวอักษรในแต่ละบรรทัด การกาหนดตาแหน่งเริ่ มต้นและตาแหน่งบรรทัด เป็ นต้น
(2) ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็ นกลุ่ม คือสามารถสังทาการลบ เคลื่อนย้าย หรื อสาเนาข้อความเป็ นคา ประโยค
่
หรื อย่อหน้า จากตาแหน่งหนึ่งไปยังตาแหน่งอื่นของเอกสารได้ง่าย
(3) สามารถควบคุมการแสดงตัวอักษรของข้อความที่อาจเป็ นตัวเข้ม ตัวหนา ตัวเอียงและขีดเส้นใต้ที่ตาแหน่งต่างๆ ได้อย่าง
อิสระ การพิมพ์เอกสารออกทางเครื่ องพิมพ์จะได้แบบของตัวอักษรที่สวยงามตามต้องการ
(4) เอกสารที่จดเตรี ยมไว้สามารถทาการจัดเก็บลงในแผ่นบันทึกในรู ปของแฟ้ มข้อมูล และสามารถเรี ยกแฟ้ มนั้นจากแผ่น
ั
บันทึกกลับมาลงหน่วยความจาของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ทนที
ั
่
(5) มีคาสังในการเรี ยกค้นคาหรื อข้อความที่มีอยูในเอกสารได้อย่างรวดเร็ ว ช่วยให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้สะดวกและ
่
รวดเร็ วขึ้น นอกจากการเรี ยกค้นแล้ว ยังสามารถสังให้มีการแทนที่คาหรื อข้อความเดิมด้วยข้อความใหม่ได้ทนทีอย่าง
ั
่
อัตโนมัติ เช่นการเปลี่ยนข้อความจาก “คอมพิวเตอร์” เป็ น “ไมโครคอมพิวเตอร์” ในทุกๆ แห่งที่พบในเอกสารนั้น เป็ นต้น
่ ั
(6) มีคุณสมบัติให้สามารถทาการเชื่อมแฟ้ มข้อความที่อาจเป็ นจดหมายกับแฟ้ มข้อมูลที่เป็ นชื่อหรื อที่อยูบริ ษท เพื่อทาการ
พิมพ์เอกสารลักษณะแบบเดียวกันหลายๆ ชุดพร้อมกัน เช่น การส่งจดหมายเชิญประชุมถึงผูจดการบริ ษทต่างๆ จานวนมาก
้ั
ั
โดยเนื้อหาของข้อความในจดหมายทุกฉบับเหมือนกัน ต่างกันที่ชื่อบริ ษท ซอฟต์แวร์ประมวลคาจะพิมพ์จดหมายให้เอง
ั
ครบทุกฉบับด้วยการเปลี่ยนแปลงชื่อบริ ษทเท่านั้น
ั
ลักษณะพิเศษที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็ นเกณฑ์มาตรฐานทัวไปของซอฟต์แวร์ประมวลคา
่
ในปั จจุบนซอฟต์แวร์ได้มีการพัฒนาให้ทางานได้มากขึ้น ใช้งานได้สะดวกขึ้น ซอฟต์แวร์ประมวลคายุคใหม่ก็ได้มีการ
ั
พัฒนาเพิ่มคุณสมบัติอื่น ๆ อีกมาก คุณลักษณะที่เพิ่มขึ้นได้แก่
(1) การช่วยงานด้านการตรวจสอบตัวสะกด โดยเปรี ยบเทียบข้อมูลกับพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในรู ปของแฟ้ ม ถ้ามี
การสะกดผิดก็จะมีคาที่คาดว่าถูกต้องแสดงให้เลือกพิจารณานามาแทนที่
(2) การแสดงความหมายของคาต่างๆ ที่มีเก็บในพจนานุกรมเรี ยบร้อยแล้ว และการเลือกคาพ้องความหมายมาแทนที่คาเดิม
(3) การสร้างข้อมูลในรู ปแบบตารางได้ง่ายและสะดวก
่
(4) การนารู ปภาพมาผสมรวมกับข้อมูลที่มีแต่ตวอักษร โดยจะทางานอยูในภาวะกราฟิ ก พิมพ์ได้ท้ งตัวอักษรและรู ปภาพ เรา
ั
ั
สามารถเลือกชุดแบบตัวอักษรได้หลายแบบ
(5) การช่วยงานด้านการตรวจสอบรู ปแบบหรื อรู ปแบบของประโยค ซึ่งจะเป็ นการตรวจสอบไวยากรณ์ทางภาษา และ
่
วิเคราะห์ความน่าอ่านหรื อความสละสลวยของเอกสาร วิธีการของการตรวจสอบนี้จะใช้หลักวิชาทางปั ญญาประดิษฐ์วาด้วย
่
กฎและข้อเท็จจริ งของภาษาศาสตร์ ซึ่งรู ปแบบของประโยคที่โปรแกรมสามารถวิเคราะห์ได้ในปั จจุบน จะยังอยูในวงจากัด
ั
เฉพาะที่ใช้งานในวงการบริ หารธุรกิจเท่านั้น

5 ซอฟต์แวร์ตารางทางาน

การวิเคราะห์และคานวณตัวเลขของผูใช้ ด้วยการสร้างเป็ นรู ปแบบจาลองในลักษณะของสูตรคานวณและสมการทาง
้
คณิ ตศาสตร์ มักมีการขีดเขียน คานวณ และจดบันทึกลงในกระดาษ โดยมีเครื่ องคิดเลขเป็ นเครื่ องมือช่วยในการคานวณ การ
คานวณตามงานที่ออกแบบหรื อการค้นหาคาตอบของรู ปแบบจาลองสมการที่สร้างขึ้น นับเป็ นงานที่น่าเบื่อและต้องใช้ความ
อดทนมากพอสมควร เพราะผูใช้จะต้องทาการคานวณใหม่ ซ้ าแล้วซ้ าอีกหลายๆ ครั้ง ตามการแปรเปลี่ยนอย่างไม่หยุดนิ่ง
้
ขององค์ประกอบหรื อปั จจัยสาคัญของงาน โดยเฉพาะอย่างยิงหากงานนั้นเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของชีวตและทรัพย์สิน
ิ
่
ด้วยแล้ว การคานวณต่างๆ ก็ตองยิงระมัดระวังให้มีการตรวจทานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและแม่นยา
้ ่

6 .ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล
ั

่
ในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศยุคปั จจุบน ข้อมูลที่มีอยูจานวนมากจะต้องมีการจัดเก็บ และเรี ยกมาใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ั
การรวบรวมและเก็บข้อมูลไว้ดวยกันจะช่วยให้การเรี ยกค้นเพิ่มเติมหรื อเปลี่ยนแปลงทาได้ง่าย ซึ่งการรวบรวมข้อมูลเข้า
้
ด้วยกันนี้เรี ยกว่า ฐานข้อมูล ประโยชน์ของการใช้ฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถใช้ขอมูลร่ วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ าซ้อน
้
ของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็ นต้น
ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลช่วยให้ผใช้ดาเนินการจัดการข้อมูลได้ง่าย และมีให้เลือกใช้ได้หลายซอฟต์แวร์ โดยเน้นให้ผใช้
ั
ู้
ู้
สามารถสร้างแฟ้ มข้อมูล ช่วยในการจัดเก็บ การขอดู การเรี ยกค้น การเพิ่มเติม การลบ การจัดเรี ยง และการทารายงาน

ตัวอย่างซอฟ์ แวร์จดการฐานข้อมูล สามารถสร้างตารางเก็บข้อมูล
ั
แบบฟอร์มสาหรับป้ อน แสดงผล และแก้ไขข้อมูล และแบบสอบถามสาหรับสื บค้นข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลภายใต้การทางานของซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็ นเรื่ องทางเทคนิคภายในที่ยงยากซับซ้อน ผูใช้งาน
ั
ุ่
้
ฐานข้อมูลทัวไป ไม่จาเป็ นต้องเข้าใจ เพราะซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะดาเนินการให้เอง นอกจากนี้ซอฟต์แวร์จดการ
ั
ั
่
ฐานข้อมูลยังสามารถควบคุมความถูกต้องของข้อมูลในฐานข้อมูล ข้อมูลที่ปรากฏในฐานข้อมูลจะต้องเป็ นไปตามกฎเกณฑ์
ความถูกต้อง เช่น เมื่อกาหนดว่าพนักงานของบริ ษทแต่ละคนจะทางานได้เพียงแผนกเดียว พนักงานนั้นจะมีชื่อไปปรากฏ
ั
สังกัดแผนกอื่นมากกว่าหนึ่งไม่ได้ หรื ออายุของพนักงานจะมีค่ามากกว่า 100 ปี ไม่ได้ เป็ นต้น นอกจากนี้ความถูกต้องของ
ข้อมูลจะรวมถึงว่า ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องสอดคล้องหรื อไม่เกิดการขัดแย้งกัน เช่น วันเกิดของพนักงานที่แสดงไว้ในที่
ต่างๆ จะต้องบันทึกไว้ตรงกัน

ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะต้องมีคาสังซึ่งอาจเลือกได้จากเมนูรายการคาสัง เพื่อให้ผใช้งานสามารถกาหนดกฎเกณฑ์ใน
ั
ู้
่
่
การควบคุมการทางาน เมื่อมีการกาหนดกฎเกณฑ์ไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่ตรวจสอบและควบคุม
ั
ั ้
ความถูกต้องให้กบผูใช้ ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลมีมากมายหลายโปรแกรม ส่วนใหญ่เน้นการใช้งานที่ง่ายและใช้งานใน
ั
ระดับตั้งแต่ผใช้คนเดียว หรื อเชื่อมโยงเป็ นกลุ่ม ตลอดจนเชื่อมต่อฐานข้อมูลอื่น ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลที่รู้จกกันดี
ู้
ั
ั
ได้แก่ แอกเซส ออราเคิล อินฟอร์มิกซ์ มายเอสคิวแอล เป็ นต้น

7. ซอฟต์แวร์นาเสนอ

่
การนาข้อมูลตัวเลข โดยปกติจะอยูในรู ปของตาราง เป็ นแถวและสดมภ์ ซึ่งไม่ใช่วธีนาเสนอข้อมูลที่ดี เพราะการนาเสนอ
ิ
่
ข้อมูลในรู ปตารางไม่ดึงดูดความสนใจ และตีความข้อมูลตัวเลขได้ลาบากไม่สมบูรณ์ การแปลงข้อมูลตัวเลขให้อยูใน
รู ปภาพและแผนภูมิจะเป็ นวิธีที่ดีและมีประสิ ทธิภาพสูง เพราะการนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีน้ ีจะดึงดูดความสนใจสื่ อ
ความหมายได้กระจ่างชัด และเข้าใจง่าย
ในปั จจุบนนิยมนาข้อมูลมาเขียนเป็ นแผนภูมิหรื อนาข้อมูลมาวิเคราะห์คานวณตัวเลขทางสถิติ ได้ขอมูลตัวเลขชุดใหม่ แล้ว
ั
้
จึงค่อยนามาสร้างเป็ นแผนภูมิ ซึ่งแผนภูมิที่ได้น้ ีจะนาไปเสนอต่อผูบริ หารระดับสูงเพื่อใช้วางแผนและตัดสิ นใจ หรื ออาจใช้
้
เพื่อนาเสนอบุคคลทัวไป เพื่อการประชาสัมพันธ์ แผนภูมิทางธุรกิจเพื่อการนาเสนอมักมีการจัดทาขึ้นเป็ นพิเศษเพราะ
่
จะต้องให้เข้าใจง่าย ดึงดูดความสนใจผูพบเห็น
้
ปั จจุบนมีซอฟต์แวร์ดานกราฟิ กให้เลือกใช้มาก ซึ่งซอฟต์แวร์เหล่านี้มกจะเน้น การใช้งานที่ง่ายและสะดวก มีชนิดของ
ั
้
ั
แผนภูมิให้เลือกใช้หลายแบบตามความเหมาะสมของข้อมูล การปรับแต่งและจัดรู ปแบบแผนภูมิใหม่สามารถทาได้ง่ายด้วย
คาสังเพียง 1 หรื อ 2 คาสัง นอกจากนี้ยงสามารถโอนย้ายข้อมูลจากซอฟต์แวร์สาเร็ จอื่น เช่น จากระบบฐานข้อมูลและตาราง
ั
่
่
ทางาน มาแสดงแผนภูมิได้ดวย
้
แผนภูมิที่ได้จากซอฟต์แวร์สาเร็ จข้างต้นให้ผลของภาพชัดเจน และละเอียดดี ไม่แพ้ภาพของแผนกศิลป์ การสร้างปรับแต่ง
ภาพ ก็สามารถทาได้รวดเร็ ว นอกจากนี้ยงสามารถเก็บภาพที่ได้ใส่ไว้ในแผ่นบันทึกในรู ปของแฟ้ มข้อมูล และนาผลออกทาง
ั
เครื่ องพิมพ์ เครื่ องวาดรู ป หรื อออกเป็ นภาพสไลด์ก็ได้
ซอฟต์แวร์ดานกราฟิ กแบ่งได้หลายประเภทของการใช้งาน เช่น ทางธุรกิจ ทางการออกแบบ ซอฟต์แวร์กราฟิ กเชิงธุรกิจจะ
้
ช่วยในงานด้านวิเคราะห์และเสนอข้อมูลในรู ปของแผนภูมิ โดยสามารถปรับแต่งรู ปแผนภูมิให้สวยงามเพื่อนาเสนอและจูง
ใจผูชม
้
โดยทัวไปแล้วซอฟต์แวร์ดานนี้จะสามารถสร้างแผนภูมิหลักที่สาคัญต่อไปนี้ได้คือแผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งซ้อน แผนภูมิ
้
่
แท่งเหลื่อมทับ แผนภูมิวงกลม แผนภูมิวงกลมแยกส่วน กราฟเส้นตรง แผนภูมิกระจัดกระจาย แผนภูมิพ้ืนที่และแผนภูมิสูง
ต่า
ในการปรับแต่งรู ปแผนภูมิ สามารถกาหนดข้อความ หัวเรื่ อง ข้อความอธิบายแกนเลือกขนาดและชุดแบบอักษร เลือกสี หรื อ
แถบระบายของแท่งหรื อชิ้นส่วนแผนภูมิ และแทรกภาพสัญลักษณ์เข้ารวมในรู ปแผนภูมิ นอกจากนี้ในการรับข้อมูลเข้า
สามารถเลือกรับจากแผงแป้ นอักขระ จากแฟ้ มข้อมูล หรื อจากโปรแกรมสาเร็ จอื่น เช่น รับแฟ้ มตารางทางานมาปรับแต่ง
แผนภูมิให้ดีข้ ึนได้ เพิ่มความสะดวกในการใช้งานกราฟิ กเชิงธุรกิจอีกด้วย

8 ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ ก
ั

ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กเป็ นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่เหมือนกระดาน หรื อสมุดวาดเขียนที่ผใช้สามารถสร้างภาพเขียนได้
ั
ู้
่ ั
และมีอุปกรณ์ที่ช่วยในการวาดรู ปเช่น ปากกาช่วยวาดลายเส้น พูกนระบายสี และยางลบช่วยลบลายเส้นหรื อสี ที่ไม่ตองการ
้
ได้
นอกจากนี้สามารถนาแฟ้ มข้อมูลที่เป็ นรู ปภาพที่ถ่ายโดยใช้กล้องถ่ายรู ปดิจิตอลมาแก้ไข หรื อตกแต่งได้ โดยซอฟต์แวร์
จัดการด้านกราฟิ กมีเครื่ องมือที่สามารถปรับเปลี่ยนความเข้มของแสง ปรับเปลี่ยนความแตกต่างของสี วตถุในภาพ และ
ั
สามารถตัดแปะองค์ประกอบของภาพหลายๆ ภาพมาสร้างเป็ นภาพใหม่ได้เหมือนการสร้างศิลปะ นอกจากนี้ ยังสามารถ
เปลี่ยนลักษณะของภาพ ลักษณะของสี ให้มีพ้ืนสี แบบต่างๆ ได้ ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กที่เป็ นที่นิยมเช่น โฟโตชอป เพ
ั
นท์บรัช เพนท์ชอป
ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กบางโปรแกรม สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์นาเข้าสแกนเนอร์ เพื่อจัดการนาแปลงข้อมูลรู ปภาพ
ั
ให้เป็ นข้อมูลแบบดิจิตอล และจัดเก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูลเพื่อนามาแก้ไขต่อไป

9 ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่ อสาร
เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทสาคัญในการใช้ทางานและการใช้งานคอมพิวเตอร์ของมนุษย์มากขึ้น และมีบริ การ
หรื อการประยุกต์ทางานหลายๆ อย่างบนระบบอินเทอร์เน็ต ผูใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์จากซีกโลกหนึ่งสามารถเลือก ค้นหา
้
่
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในอีกซีกโลกหนึ่งได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้การติดต่อสื่ อสารไม่วาในรู ปของการส่งข้อความหรื อ
การติดต่อด้วยเสี ยงก็สามารถทาได้ ความสะดวกสบายเหล่านี้ลวนแต่ตองอาศัยซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ทาหน้าที่จดการทั้งสิ้น
้
้
ั
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในกลุ่มติดต่อสื่ อสารที่มีใช้งานเป็ นหลักในสังคมปั จจุบนคือซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บ (web browser)
ั
้
ซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บเป็ นซอฟต์แวร์ที่สามารถสื บค้น และแสดงสารสนเทศที่นาเสนอในรู ปของเว็บเพจ (web page) ได้
้
่
่
โดยที่สารสนเทศดังกล่าวอาจจะเป็ นสารสนเทศที่เก็บอยูในเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่บรรจุซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บหรื ออยูที่เครื่ อง
้
่
แม่ข่าย (web server) ที่ให้บริ การเผยแพร่ สารสนเทศบนเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต สารสนเทศเหล่านั้นอาจอยูในรู ปของ
ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อภาพเคลื่อนไหว โดยซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บมีหน้าที่ติดต่อกับระบบเก็บข้อมูลที่เครื่ องแม่ข่าย
้
่
่
รับคาสังจากเครื่ องที่ใช้งานอยูแล้วเรี ยกดึงข้อมูลที่อยูในเครื่ องแม่ข่ายมาแสดงผลบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน และ
่
นอกจากนี้ซอฟต์แวร์ชนิดนี้สามารถช่วยให้ผใช้ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่ องแม่ข่ายและลูกข่ายได้ ทั้งการส่งข้อมูลที่
ู้
ต้องการเผยแพร่ จากเครื่ องลูกข่ายไปยังเครื่ องแม่ข่ายที่เรยกว่าการบรรจุข้ ึน (upload) และการถ่ายโอนข้อมูลที่ผใช้ตองการ
ู้ ้
จากเครื่ องแม่ข่ายมาไว้ในเครื่ องลูกข่ายที่เรี ยกว่าการบรรจุลง (download) และในปั จจุบนผูใช้สามารถรับ-ส่งจดหมาย
ั ้
่
อิเล็กทรอนิกส์ผานทางซอฟต์แวร์ชนิดนี้ได้อีกด้วย

การค้นสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บนี้มีดวยกัน 2 แบบ ได้แก่ การสื บค้น (browse) ซึ่งเป็ นการเปิ ดดูเอกสารที่
้
้
่
่ ู้
นาเสนออยูบนเว็บไปเรื่ อยๆ โดยเอกสารเหล่านั้นมีการเชื่อมโยง (link) กันอยูผใช้สามารถค้นข้อมูลได้โดยการเลือกเปิ ดดู
เอกสารตามการเชื่อมโยงเหล่านั้นและอีกแบบหนึ่งเรี ยกว่าการค้นหา (search) เป็ นการค้นหาสารสนเทศเฉพาะหัวข้อที่
ต้องการ การค้นหาต้องใช้ระบบที่เรี ยกว่าโปรแกรมค้นหา (search engine) ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการ
ค้นหาเอกสารหรื อบทความที่เกี่ยวข้อกับเรื่ องที่ผใช้สนใจโดยใช้คาสาคัญ (keyword) ที่ผใช้ป้อนเข้าสู่ระบบ และระบบจะ
ู้
ู้
นาคาสาคัญไปเปรี ยบเทียบกับคาในเอกสารต่างๆ ที่เผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ต และแสดงผลการค้นหาแก่ผใช้
ู้

บทที่ 3
วิธีดาเนินงานโครงงาน
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นี้ ผู ้
จัดทาโครงงานมีวธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ิ
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา
3.1.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
3.1.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ http://www.wordpress.com
3.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น http://www.facebook.com http://www.ckw.ac.th/krunee

3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครู ที่ปรึ กษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่สนใจ คือเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และ
ต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป
3.2.3 ศึกษาการสร้างเว็บบล็อกที่สร้างจากเว็บไซต์ WordPress จากเอกสารที่ครู ประจาวิชากาหนด และจากเว็บไซต์ต่างๆ
ที่นาเสนอเทคนิค วิธีการสร้างเว็บบล็อก
3.2.4 จัดทาโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนาเสนอครู ที่ปรึ กษา
3.2.5 ปฏิบติการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต โดยการ
ั
สมัครสมาชิก และสร้างบทเรี ยนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่ างที่เสนอไว้แล้ว
3.2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะๆ โดยแจ้งให้ครู ที่ปรึ กษาโครงงานเข้าไปตรวจความก้าวหน้าของโครงงาน
ผ่านเว็บไซต์ http://www.ckw.ac.th/krunee ซึ่งครู ที่ปรึ กษาจะให้ขอเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้จดทาเนื้อหาและการนา
้
ั
เสนอที่น่าสนใจต่อไป ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุ ง แก้ไขให้เป็ นที่สนใจยิงขึ้น
่
3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนาเสนอในรู ปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูลไฟล์
3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก ที่ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 แล้วให้ครู ที่ปรึ กษา
ประเมินผลงาน และให้เพื่อนๆ ผูสนใจเข้าร่ วมประเมิน โดยการสร้างกล่อง Like Box เพื่อให้คลิก Like และคอมเมนท์ใน
้
หน้าเว็บบล็อก
3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อก ที่ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 เพื่อให้ผสนใจศึกษาหาความรู ้ต่อไป
ู้

บทที่ 4
ผลการดาเนินงานโครงงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress และค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับแท็บเล็ต เพื่อให้ผจดทา
ู้ ั
โครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่าง
่
ครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้
้
่
การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต นี้ ผูจดทาได้เริ่ มดาเนินงานตาม
้ั

4.1 ผลการพัฒนาเว็บบล็อก
ขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็ นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ http://www.wordpress.com
จากนั้นได้นาเสนอเผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บบล็อก
ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2
ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดี โดยทั้งครู ที่ปรึ กษา เพื่อนๆในห้องเรี ยน
ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบของการนาเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทา
ให้เกิดการเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ ว

บทที่ 5
สรุ ปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ

การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต นี้สามารถสรุ ปผลการ
ดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้

5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
5.1.1.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต
5.1.1.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับแท็บเล็ต
5.1.1.3 เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก WordPress ได้ดวยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ
้
การเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น
่
5.1.1.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป
้
่
5.2.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา
5.2.1.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
5.2.1.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ http://www.wordpress.com
5.2.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น http://www.facebook.com http://www.ckw.ac.th/krunee
5.2 สรุ ปผลการดาเนินงานโครงงาน
ขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็ นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ http://www.wordpress.com
จากนั้นได้นาเสนอเผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บบล็อก
ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2
ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดี โดยทั้งครู ที่ปรึ กษา เพื่อนๆในห้องเรี ยน
ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบของการนาเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทา
ให้เกิดการเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ ว
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ข้อเสนอแนะทัวไป
่
5.3.1.1 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ WordPress เป็ นเว็บบล็อกสาเร็ จรู ปที่ใช้ทาเว็บไซต์ได้ง่าย และรวดเร็ ว แต่ถาเรา
้
ใช้ประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม ก็จะส่งผลต่อการละเมิดลิขสิ ทธิ์และได้รับความรู ้ที่ไม่ถูกต้อง
เพราะฉะนั้นผูจดทาควรเผยแพร่ สิ่งที่ดี ๆ ให้บุคคลที่เข้ามาเยียมหรื อศึกษาได้ความรู ้และสิ่ งดี ๆ นาไปเผยแพร่ ต่อให้ผอื่นมา
้ั
่
ู้
่
ศึกษาความรู ้ ที่เป็ นประโยชน์ตอไป
5.3.1.2 ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้
5.3.1.3 ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนเพิ่มเติม
5.3.2 ปั ญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา
5.3.2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับการทาโครงงาน และบางครั้งอินเทอร์เน็ตมีปัญหา เข้าพร้อมกันก็จะทาให้ชา จึงทา
้
ให้การพัฒนาเว็บบล็อกเกิดความล่าช้าตามไปด้วย
5.3.2.2 เพื่อนนักเรี ยนบางคนเรี ยนรู ้การพัฒนาเว็บบล็อกค่อนข้างช้า ทาให้ตองเสี ยเวลาในการเรี ยนรู ้ เพราะครู ผสอนไม่
้
ู้
สามารถสอนเนื้อหาเพิ่มเติมได้
บรรณานุกรม

สื บค้นเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2555 แหล่งข้อมูลจาก

แหล่งข้อมูลจาก

http://it.benchama.ac.th/ebook/files/menu/ls5.htm

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)ณัฐพล บัวพันธ์
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กtayechoo
 
หนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกหนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกprawanya
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1น.หนู ว.แหวน
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1น.หนู ว.แหวน
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Aunchisa Phongchana
 

What's hot (13)

1
11
1
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
หนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กกหนังสือเล่มเล็กก
หนังสือเล่มเล็กก
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
Phongbun
PhongbunPhongbun
Phongbun
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 

Viewers also liked

Hossfeld qc man2015_context_monitoring_web
Hossfeld qc man2015_context_monitoring_webHossfeld qc man2015_context_monitoring_web
Hossfeld qc man2015_context_monitoring_webTobias Hoßfeld
 
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...Förderverein Technische Fakultät
 
Peut on se passer d'amazon en 2016
Peut on se passer d'amazon en 2016Peut on se passer d'amazon en 2016
Peut on se passer d'amazon en 2016IZIFLUX
 
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉Galaxy Software Services
 
CMG15 Session 525
CMG15 Session 525 CMG15 Session 525
CMG15 Session 525 Alex Gilgur
 
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...Förderverein Technische Fakultät
 
The Dynamic Strategic Board
The Dynamic Strategic BoardThe Dynamic Strategic Board
The Dynamic Strategic BoardJeff Hurt
 
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASH
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASHExtensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASH
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASHCyril Concolato
 
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODS
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODSINVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODS
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODSvivek021990
 
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason Hand
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason HandThe Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason Hand
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason HandSonatype
 
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire Vitry
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire VitryComment réussir ses web-conférences par Grégoire Vitry
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire VitryLACT
 
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspot
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspotTCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspot
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspotTCI Network
 
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep Dive
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep DiveJavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep Dive
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep DiveAndreas Grabner
 
Les plugins pour plateformes e-commerce
Les plugins pour plateformes e-commerceLes plugins pour plateformes e-commerce
Les plugins pour plateformes e-commerceLengow
 

Viewers also liked (18)

Hossfeld qc man2015_context_monitoring_web
Hossfeld qc man2015_context_monitoring_webHossfeld qc man2015_context_monitoring_web
Hossfeld qc man2015_context_monitoring_web
 
Stamkos neoklis cv
Stamkos neoklis cvStamkos neoklis cv
Stamkos neoklis cv
 
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...
Machine Learning for objective QoE assessment: Science, Myths and a look to t...
 
Peut on se passer d'amazon en 2016
Peut on se passer d'amazon en 2016Peut on se passer d'amazon en 2016
Peut on se passer d'amazon en 2016
 
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉
雲端04_會計服務未來式整合雲端新趨勢 張宏尉
 
CMG15 Session 525
CMG15 Session 525 CMG15 Session 525
CMG15 Session 525
 
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...
Wege, Umwege, Irrwege zur Kanalkapazität : Zur Geschichte der Entwicklung hoc...
 
The Dynamic Strategic Board
The Dynamic Strategic BoardThe Dynamic Strategic Board
The Dynamic Strategic Board
 
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASH
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASHExtensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASH
Extensions for Hybrid Delivery using MPEG-2 TS and DASH
 
Can you trust what you see? The magic of visual perception
Can you trust what you see? The magic of visual perceptionCan you trust what you see? The magic of visual perception
Can you trust what you see? The magic of visual perception
 
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODS
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODSINVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODS
INVESTIGATION OF MECHANICAL PROPERTIES OF NATURAL AND COMPOSITE WOODS
 
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason Hand
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason HandThe Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason Hand
The Unrealized Role of Monitoring & Alerting w/ Jason Hand
 
Environment Management
Environment ManagementEnvironment Management
Environment Management
 
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire Vitry
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire VitryComment réussir ses web-conférences par Grégoire Vitry
Comment réussir ses web-conférences par Grégoire Vitry
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspot
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspotTCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspot
TCI 2016 Eastern Netherlands as CE hotspot
 
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep Dive
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep DiveJavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep Dive
JavaOne 2015: Top Performance Patterns Deep Dive
 
Les plugins pour plateformes e-commerce
Les plugins pour plateformes e-commerceLes plugins pour plateformes e-commerce
Les plugins pour plateformes e-commerce
 

Similar to 1

ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Phans Chatch
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์tangonjr
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานWachiraya Thasnapanth
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศpuppypingpong
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่jamiezaa123
 

Similar to 1 (20)

ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
5
55
5
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 

1

  • 1. รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word press เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวธิดารัตน์ โพธิ์งาม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เสนอ นายณัฐพล บัวพันธ์ รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์น้ ีเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 หัวข้อโครงงาน: การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word press เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา
  • 2. ผูเ้ สนอโครงงาน : เด็กชาย พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 เด็กชาย สมพงษ์ แก้วมณี เลขที่9 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 เด็กหญิง ช่อลัดดา เพศเสนา เลขที่14 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 เด็กหญิง สุนิสา ใจผ่อง เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 เด็กหญิง สุพรรณี สี พรมมา เลขที่33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3/2 ครู ที่ปรึ กษาโครงงาน : นางอรุ ณี ชัยพิชิต ปี การศึกษา : 2555 บทคัดย่อ โครงงานการพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ อง นี้ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นโดยมีวตถุประสงค์ ั เพื่อนาเอาความรู ้ความเข้าใจไปใช้ในการเรี ยน ทั้งนี้ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาความรู ้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่ อง ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาสังที่สงงานคอมพิวเตอร์เป็ นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสังเหล่านี้ได้จดเตรี ยมไว้ใน ั ่ ั่ ่ หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสังแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งที่มนุษย์จดทาขึ้น และ ั ่ คอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น โดยผูจดทาโครงงานสามารถพัฒนารู ปแบบของ ้ั เว็บบล็อกจาก WordPress ได้ดวยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้นทั้งนี้ ทาให้ ้ ่ สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไปได้เป็ นอย่างดี ้ ่ บทที่ 1 บทนา แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ปั จจุบนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิงใหญ่ต่อ ั ่ ทุกวงการทัวโลก รวมทั้งวงการศึกษาไทยด้วย และผลพวงที่ติดตามมาในแง่เทคนิควิธีการเกี่ยวกับ ่
  • 3. กระบวนการเรี ยนรู ้คือแนวโน้มในการเรี ยนรู ้แบบโต้ตอบสองทาง (Interactive) ที่กาลังก้าวเข้ามาแทนที่กระบวนการ เรี ยนรู ้แบบเดิม ที่ผรับได้แต่ “รับเอา” โดยไม่อาจ “เลือก” แต่อย่างใด จาก ู้ แนวคิดดังกล่าว ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกต่างหันมาให้ความสนใจในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ให้เกิด ่ ประโยชน์สูงสุดแก่ผเู ้ รี ยนในทุกระดับ มีการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์และสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ผูเ้ รี ยนรุ่ นใหม่จะเป็ นผูเ้ รี ยนที่มีความคิดรักการเรี ยนรู ้ มีหลักในการศึกษา ค้นคว้าอย่างเป็ นระบบมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ มีความรู ้ทกษะที่จาเป็ นในการแสวงหา ั ความรู ้ดวยตนเองมากขึ้น จึงเป็ นที่ยอมรับว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กลายเป็ นปั จจัยที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการจัด ้ การศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิง ด้านการ ่ จัดการเรี ยนการสอนนั้น ได้มีขอกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ว่า รัฐต้องส่งเสริ มและ ้ สนับสนุนให้มีการผลิตสื่ อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งให้มีการพัฒนาบุคลากรด้านการผลิตและผูใช้ให้มีความรู ้ ้ ความสามารถ มีทกษะตลอดจนผูเ้ รี ยนให้มีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนาเพื่อให้มีความรู ้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยี ั เพื่อการศึกษา ในการแสวงหาความรู ้ดวยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวต ้ ิ ดังนั้นเพื่อให้เป็ นบทเรี ยนที่เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สาคัญ ขณะเดียวกันผูเ้ รี ยนจะได้รับการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้แบบทีมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ เรี ยนรู ้ และยังสามารถเป็ นแนวทางในการสร้างบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในเรื่ องอื่นๆ ต่อไป วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วยWord pressเรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ได้ 2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ 3 เพื่อศึกษาให้เข้าใจกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ขอบเขตของโครงงาน 1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word pressเรื่ อง ซอฟต์แวร์นาเสนอ
  • 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (Webb log) ด้วย Word pressเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ 2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ 3 ได้รู้เกี่ยวกับเรื่ องของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1 ความหมายของซอฟต์แวร์ การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทางาน เช่น การซื้อของโดยใช้บตรเครดิต ั ผูขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่ องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ขอมูลของบริ ษทผูออกบัตร การ ้ ้ ั ้ ตรวจสอบจะกระทากับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรื อเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คาตอบว่าจะยอมรับหรื อ ปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดาเนินการเหล่านี้เป็ นไปโดยอัตโนมัติตามคาสังซอฟต์แวร์ ่ ทานองเดียวกันเมื่อซื้อสิ นค้าในห้างสรรพสิ นค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่ องกราดตรวจอ่านรหัสแท่งบนสิ นค้าทาให้บน จอภาพปรากฏชื่อสิ นค้า รหัสสิ นค้า และราคา ในการดาเนินการนี้ตองใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่ทาให้ ้ ระบบคอมพิวเตอร์ทางานได้ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสังที่สงงานคอมพิวเตอร์เป็ นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสังเหล่านี้ได้จดเตรี ยมไว้ใน ั ่ ั่ ่ หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสังแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็ นสิ่ งที่มนุษย์จดทาขึ้น และ ั ่ คอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็ นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) 2 ซอฟต์แวร์ระบบ
  • 5. คือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้ นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนาข้อมูลออกไปพิมพ์ยงเครื่ องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็ นแฟ้ ม การเรี ยกค้นข้อมูล การสื่ อสาร ั ่ ข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยูในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จกกันดี คือ ั ระบบปฏิบติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลีนุกซ์ เป็ นต้น ั ั คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้หากปราศจากระบบปฏิบติการ ซึ่งทาหน้าที่ประสานงานระหว่างมนุษย์กบคอมพิวเตอร์ เรา ั สามารถสังงานผ่านระบบปฏิบติการให้คอมพิวเตอร์คานวณ ให้แสดงภาพ ให้พิมพ์ขอความหรื อผลลัพธ์ออกมาทาง ั ้ ่ เครื่ องพิมพ์ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยงทาหน้าที่ประสานงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ กับตัวเครื่ อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ ั ว่าประเภทใดล้วนแต่ตองทางานบนซอฟต์แวร์ระบบทั้งสิ้น ้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะไม่ทางาน ถ้าไม่มีระบบปฏิบติการ การเริ่ มใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกครั้งจึงต้องบรรจุ (load) ั ระบบปฏิบติการเข้าไว้ในหน่วยความจาของเครื่ องคอมพิวเตอร์ก่อนที่จะให้เครื่ องเริ่ มทางานอย่างอื่น ั 2.1 ระบบปฏิบติการกับการปฏิบติงานของคอมพิวเตอร์ ั ั ระบบปฏิบติการทาหน้าที่ประสานงานหรื อกากับดูแลการทางานของคอมพิวเตอร์ ในการกาหนดว่าจะเก็บโปรแกรมหรื อ ั ั ข้อมูลเก็บไว้ในส่วนใดของหน่วยความจา ดูแลการติดต่อระหว่างส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กบโปรแกรมใช้งานหรื อผูใช้ ้ คอมพิวเตอร์ ควบคุมการส่งสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ข้ ึนไปปรากฏบนจอภาพ ควบคุมการพิมพ์ของเครื่ องพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ควบคุมการแปลสัญญาณจากแป้ นพิมพ์ให้เครื่ องรับรู ้ ควบคุมการบันทึกหรื อการอ่านข้อมูลของเครื่ องขับแผ่น บันทึก นอกจากนี้ ในปั จจุบนการทางานในลักษณะกลุ่ม และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาทในการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง ั กว้างขวาง ทาให้ระบบปฏิบติการที่พฒนาขึ้นมาในระยะหลังๆ จาเป็ นต้องมีความสามารถในการทางานและให้บริ การบน ั ั เครื อข่ายเพิ่มขึ้น โดยระบบปฏิบติการมีหน้าที่จดการงานในการติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ จัดสรรให้ ั ั คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อในเครื อข่ายสามารถใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ในเครื อข่ายร่ วมกัน เช่น การใช้งานเครื่ องพิมพ์ร่วมกัน และ ่ ควบคุมดูแลการใช้งานข้อมูลส่วนกลางซึ่งอยูในเครื่ องที่ทาหน้าที่เป็ นแม่ข่าย โดยสามารถกาหนดสิ ทธิในการเข้าใช้ขอมูล ้ ่ ของผูใช้ที่อยูในกลุ่ม มีระบบป้ องกันอันตรายที่จะเกิดกับข้อมูล ้ 2.2 ประเภทของระบบปฏิบติการ ั
  • 6. ่ เนื่องจากระบบปฏิบติการเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานได้ แต่ดวยเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยูใน ั ้ ปั จจุบนมีสถาปั ตยกรรมที่แตกต่างกัน เช่น เครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เราใช้งานทัวไปจะมีคุณสมบัติและการทางานที่ ั ่ แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ นเครื่ องให้บริ การที่ตองคอยให้บริ การและดูแล ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เป็ นบริ วารจานวนมาก ระบบปฏิบติการที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จึงต้องมีความซับซ้อนกว่า ั ระบบปฏิบติการที่ใช้ในเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ และเราสามารถแบ่งประเภทของระบบปฏิบติการตามลักษณะการทางาน ั ั ได้เป็ น 3 ประเภทดังนี้ (1) ประเภทใช้งานเดียว (single-tasking) ระบบปฏิบติการประเภทนี้จะกาหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงาน ั เท่านั้น ใช้ในเครื่ องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบติการดอส ั (2) ประเภทใช้หลายงาน (multitasking) ระบบปฏิบติการสามารถควบคุมการทางานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ั ผูใช้สามารถทางานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน โดยระบบปฏิบติการจัดสรรทั้งเวลาและเนื้อที่ที่ตอง ้ ั ้ ใช้ในการประมวลผลคาสังของซอฟต์แวร์แต่ละชนิด เช่น แบ่งปั นเวลาในการประมวลผลของซีพียู และการแบ่งเนื้อที่ใน ่ หน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูลและคาสังของซอฟต์แวร์ที่ใช้งาน เช่น ระบบปฏิบติการวินโดวส์ 95 และ 98 ั ่ (3) ประเภทใช้งานหลายคน (multiuser) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทาหน้าที่ประมวลผล ทา ให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึง ู้ ต้องใช้ระบบปฏิบติการที่มีความสามารถในการจัดการสูง เพื่อให้ผใช้ทุกคนสามารถทางานเสร็ จได้ในเวลา ั ู้ ระบบปฏิบติการในกลุ่มนี้ เช่น ระบบปฏิบติการวินโดวส์เอ็นที ั ั 2.3ตัวอย่างระบบปฏิบติการ ั เนื่องจากระบบปฏิบติการจะต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างโปรแกรมใช้งาน ดังนั้นระบบปฏิบติการจึงมีหลายชนิด ปั จจุบน ั ั ั ระบบปฏิบติการที่นิยมใช้งานกันแพร่ หลายมีดงนี้ ั ั (1) ระบบปฏิบติการดอส (Disk Operating System : DOS) บริ ษทไอบีเอ็มผลิตเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ข้ ึนมาและให้ ั ั ชื่อว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ได้มอบหมายให้บริ ษทไมโครซอฟต์เป็ นผูพฒนาระบบปฏิบติการโดยให้ชื่อว่า พีซีดอส ต่อมา ั ้ ั ั เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์แบบนี้เป็ นที่แพร่ หลาย จึงมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ซ่ ึงมีการทางานแบบเดียวกับ ู้ ไมโครคอมพิวเตอร์ของบริ ษทไอบีเอ็ม ไมโครคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะใช้ระบบปฏิบติการของบริ ษทไมโครซอฟท์เช่นกันแต่ ั ั ั ใช้ชื่อว่าเอ็มเอสดอส (Microsoft Disk Operating System : MS-DOS) ซึ่งมีการทางานคล้ายพีซีดอส แต่ปัจจุบนไม่ได้ ั รับความนิยมแล้ว
  • 7. (2) ระบบปฏิบติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็ นระบบปฏิบติการประเภทใช้หลายคน และหลายงาน ได้มีผพฒนาระบบปฏิบติการ ั ั ู้ ั ั ั ยูนิกซ์ให้สามารถใช้กบเครื่ องชนิดต่างๆ หลายระบบโดยตั้งชื่อใหม่ เช่น ซีนิกซ์ (Xenix) วีนิกซ์ (Venix) ไมโครนิกซ์ (Micronix) เอไอเอ็กซ์ (AIX) อัลทริ กซ์ (Altrix) เป็ นต้น ปั จจุบนมีความพยายามจะกาหนดให้ระบบปฏิบติการที่มีชื่อต่าง ๆ ั ั เหล่านี้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน โปรแกรมที่พฒนาภายใต้ระบบยูนิกซ์น้ ี มีขอดีตรงที่ไม่ตองขึ้นกับเครื่ องแบบใดแบบหนึ่ง ั ้ ้ โดยเฉพาะ (3) ระบบปฏิบติการไมโครซอฟต์วนโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบติการที่พฒนาโดยบริ ษทไมโครซอฟต์ ั ิ ั ั ั เป็ นระบบปฏิบติการที่มีลกษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรกที่กล่าวมา เนื่องจากมีส่วนติดต่อกับผูใช้ (user ั ั ้ interface) เป็ นแบบที่เรี ยกว่าระบบติดต่อผูใช้แบบกราฟิ ก (Graphic User Interface : GUI) หรื อที่เรี ยกว่าจียไอ คือมี ้ ู การแสดงผลเป็ นรู ปภาพ และใช้สญลักษณ์ในรู ปรายการเลือก (menu) หรื อสัญรู ป (icon) ในการสังงานคอมพิวเตอร์แทน ั ่ การพิมพ์คาสังทีละบรรทัด ทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสนทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น ั ่ ระบบปฏิบติการวินโดวส์น้ ีเป็ นระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ทวไป ทั้งนี้นอกจาก ั ั ั่ จะเป็ นเพราะความง่ายในการใช้งานที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังเป็ นเพราะหลังจากที่บริ ษทไมโครซอฟต์ได้ผลิต ั ่ ระบบปฏิบติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งานบนระบบปฏิบติการนี้ข้ ึนหลายประเภท ไม่วา ั ั ั จะเป็ นซอฟต์แวร์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน หรื อซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล ซึ่งช่วยอานวยความ สะดวกในการทางานของผูใช้ในทุกๆ ด้าน ทาให้เกิดการใช้งานที่แพร่ หลาย นอกจากนี้ยงได้มีการพัฒนาระบบปฏิบติการ ้ ั ั รุ่ นใหม่ๆ ที่สนับสนุนการใช้งานกับเทคโนโลยีใหม่ที่พฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วนโดวส์ 3.0 (Windows 3.0) ซึ่งเป็ นรุ่ น ั ิ แรกที่ทางานบนเครื่ องเดียว พัฒนาเป็ นรุ่ นหรื อเวอร์ชน (version) ที่สามารถทางานเป็ นกลุ่มหรื อเครื อข่ายภายในองค์กรที่ ั่ ใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ และพัฒนาต่อมาเป็ นวินโดวส์ 95(Windows 95) วินโดวส์ 98 (Windows 98) วินโดวส์ เอ็มอี (Windows ME) และพัฒนาเป็ นระบบปฏิบติการเครื อข่ายที่สามารถจัดการด้านการติดต่อสื่ อสารระหว่างเครื่ อง ั คอมพิวเตอร์บนเครื อข่าย จัดการด้านการใช้งานอุปกรณ์ร่วมกัน และดูแลจัดสรรและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เช่น วินโดวส์ เอ็นที (Windows NT) วินโดวส์ 2000(Windows 2000) และวินโดวส์ เอ็กซ์พี (Windows XP) หรื อแม้แต่ ระบบปฏิบติการสาหรับคอมพิวเตอร์พกพาอย่างวินโดวส์ ซีอี (Windows CE) ั (4) ระบบปฏิบติการลีนุกซ์ (Linux) เป็ นระบบปฏิบติการยูนิกซ์ระบบหนึ่งเช่นเดียวกับซีนิกซ์หรื อวีนิกซ์ ได้รับการพัฒนา ั ั โดยนักศึกษาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยเฮลซินกิประเทศฟิ นแลนด์ชื่อลีนุซ ทอร์วาลด์ (Linus Torvalds) เขาเริ่ มพัฒนาระบบปฏิบติการดังกล่าวในปี ั พ.ศ. 2523 ด้วยเขาต้องการพัฒนาระบบปฏิบติยนิกซ์ที่มี ั ู ความสามารถมากกว่าไมนิกซ์ซ่ ึงเขาใช้งานอยู่ จึงเริ่ มต้นพัฒนาระบบปฏิบติการนี้เอง โดยไม่ได้ลอกเลียนแบบจากระบบ ั ยูนิกซ์อื่นเลย และในปี พ.ศ. 2534 ระบบปฏิบติการลีนุกซ์เวอร์ชน 0.010 ก็ได้รับการเผยแพร่ โดยมีการแจกให้ใช้งานฟรี ั ั่
  • 8. รวมทั้งรหัสต้นแบบ (source code) ก็เป็ นที่เปิ ดเผย จึงเป็ นที่นิยมและมีผนาไปพัฒนาลีนุกซ์ของตนเองขึ้นใช้งานมากมาย ู้ รวมทั้งมีผพฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ข้ ึนใช้งานบนลีนุกซ์อีกด้วย ู้ ั ด้วยเหตุที่มีผนารหัสต้นแบบของระบบปฏิบติการระบบนี้มาพัฒนาเป็ นของตนเองมากมายและเนื่องจากในปั จจุบนแนวคิด ู้ ั ั ของจียไอกาลังเป็ นที่นิยม จึงมีการพัฒนาระบบปฏิบติการลินุกซ์ให้สามารถทางานบนระบบเอกซ์วนโดวส์ (X Windows) ู ั ิ ่ ซึ่งเป็ นระบบที่มีการติดต่อกับผูใช้แบบกราฟิ ก และถือได้วาลินุกซ์เป็ นยูนิกซ์ที่สมบูรณ์แบบ อีกทั้งเป็ นระบบปฏิบติการที่ ้ ั สามารถทางานได้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ประสิ ทธิภาพไม่สูงมาก เช่น เครื่ องในตระกูล 80386 ได้ และต้องการ หน่วยความจาเพียง 2 เมกะไบต์ในการทางานบนสภาวะตัวอักษร (text mode) หรื อ 64 เมกะไบต์ในการทางานบนเอกซ์ วินโดวส์ ระบบปฏิบติการลินุกซ์ในสภาวะเอกซ์วนโดวส์ ั ิ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ั ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กบงานที่ผใช้ตองการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ ู้ ้ จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิ ก ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็ นต้น ั การทางานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จาเป็ นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเอ็มเอสดอสหรื อวินโดวส์ เป็ นต้น ั ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่ หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก ขีดความสามารถของ ซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ นๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่าย ต่างพยายามแข่งขันกันหลายๆ ด้าน เช่น เรี ยนรู ้และใช้งานได้ ั ั ง่าย สนับสนุนให้ใช้กบเครื่ องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วธีหรื อขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน ิ และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย ่ ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยูมากมาย อาจแบ่งได้เป็ นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์สาเร็ จ 3.1 ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง เป็ นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้งานเฉพาะด้าน หรื อในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความต้องการ ของผูใช้ โดยที่ผเู ้ ขียนคือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และ ้
  • 9. ต้องศึกษาทาความเข้าใจเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์น้ นเป็ นอย่างดี เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน ั โปรแกรมช่วยจัดการบริ การลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้ในท้องตลาดทัวไป แต่จะซื้อหา ่ ได้จากผูผลิตหรื อตัวแทนจาหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทัวไป ้ ่ โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้า และระบบหลักของงาน ภายใน ซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทางานประมวลคาเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกาหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีท้ งรู ปแบบที่มีผใช้งานคนเดียว หรื อผูใช้งานได้พร้อมกันหลายคน ั ู้ ้ ่ ้ ในประเทศไทยมีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยูบาง ส่วนใหญ่จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่บริ ษทผูผลิตต่างประเทศได้ ั ้ ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่น้ ีได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดงนี้ ั (1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่ อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททัวไป และบัญชีเงินเดือน ่ (2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจาหน่าย ได้แก่ ระบบงานรับใบสังซื้อสิ นค้า ระบบงานบริ หารสิ นค้าคงคลังและระบบงาน ่ ประวัติการขาย (3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกาหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกาลังการผลิต การคานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความต้องการวัสดุ การ ควบคุมการทางานภายในโรงงาน การกาหนดเงินทุนมาตรฐานสิ นค้าและการกาหนดขั้นตอนการผลิต (4) ซอฟต์แวร์อื่นๆ ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริ หารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริ มทรัพย์ และการเช่าซื้อรถยนต์ 3.2 ซอฟต์แวร์สาเร็ จ เป็ นซอฟต์แวร์ที่มีบริ ษทผูผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทัวไป ผูใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทัวไปได้ ซอฟต์แวร์ ั ้ ้ ่ ่ ั ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผูใช้งานจะต้องเป็ นผูนาไปประยุกต์กบงานของตน ผูใช้อาจต้องมีการ ้ ้ ้ สร้างหรื อพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทัวไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป ่ ซอฟต์แวร์ใช้งานทัวไปซึ่งนิยมเรี ยกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็ จ แบ่งออกเป็ นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งานคือ ่ (1) ด้านการประมวลคา (2) ด้านการวิเคราะห์ขอมูล หรื อตารางทางาน ้ (3) ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็ นระบบฐานข้อมูล (4) ด้านกราฟิ ก และนาเสนอข้อมูล
  • 10. (5) ด้านการติดต่อสื่ อสารทางไกล (6) ด้านการพิมพ์ต้ งโต๊ะ ั (7) ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน (8) ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม (9) ด้านการจาลอง เกม และการตัดสิ นใจ ในบรรดาซอฟต์แวร์สาเร็ จที่มีหลายกลุ่มนี้ กลุ่มซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานมากและจาเป็ นต้องมีประจาหน่วยงาน มักจะเป็ น รายการแรก คือ ด้านการประมวลคา ด้าน ตารางทางาน ด้านระบบฐานข้อมูล และด้านกราฟิ กซอฟต์แวร์สาเร็ จส่วนใหญ่ เป็ นซอฟต์แวร์ประยุกต์เชิงพาณิ ชย์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ยกเว้นเฉพาะกลุ่มแรก คือ โปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมี การสร้างและพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถนามาใช้งานร่ วมกับภาษาไทย และยังมีการนาซอฟต์แวร์เดิมมาดัดแปลงและ เพิ่มเติมส่วนที่ใช้งานเป็ นภาษาไทย 4 ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ประมวลคาเป็ นซอฟต์แวร์ในการนาตัวอักษรมาเรี ยงต่อเป็ นคา ประโยคหรื อย่อหน้า คล้ายการใช้เครื่ องพิมพ์ดีด ่ พิมพ์ขอความบนกระดาษ แต่ต่างกันที่ตวอักษรที่พิมพ์หรื อป้ อนเข้าทางแผงแป้ นอักขระจะเข้าไปเก็บอยูในหน่วยความจา ้ ั ของคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้ง่าย ภายใต้ขอกาหนดของซอฟต์แวร์ผใช้สามารถกาหนดปรับแต่งรู ปแบบ ้ ู้ ได้ตามต้องการ เช่น การกาหนดเส้นกั้นหน้าและกั้นหลัง กั้นบนและกั้นล่าง เมื่อมีการแก้ไขจนเป็ นที่พอใจแล้ว สามารถสัง ่ พิมพ์เอกสารออกทางเครื่ องพิมพ์ได้หลายชุดตามที่ตองการ เอกสารที่พิมพ์จากเครื่ องพิมพ์ จะมีคุณภาพดีไม่มีรอยเปื้ อนจาก ้ การแก้ไขดัดแปลง ั นอกจากนี้ยงสามารถเก็บบันทึกเอกสารนั้นเป็ นแฟ้ มในสื่ อบันทึก เช่น แผ่นบันทึก เพื่อให้พกพาติดตัวไปใช้กบเครื่ องอื่น ั แฟ้ มเอกสารที่เก็บไว้แล้วนี้สามารถเรี ยกมาแสดงผลบนจอภาพเพื่อทาการดัดแปลงใหม่ได้อีกด้วย ลักษณะการใช้งานซอฟต์แวร์ประมวลคาจะเป็ นการเตรี ยมเอกสารที่มองเห็นงานพิมพ์ไปปรากฎที่จอภาพ ถ้าพิมพ์ผิดและ ต้องการแก้ไขเพิ่มเติมหรื อตัดทอนที่ตาแหน่งใด จะต้องเคลื่อนย้ายตัวชี้หรื อตัวกะพริ บบนจอภาพไปยังตาแหน่งนั้นเพื่อทา การแก้ไข เนื่องจากสามารถแทรกหรื อลบตัวอักษรหรื อข้อความได้ตลอด และโปรแกรมจะคงรู ปแบบให้เป็ นไปตามที่ กาหนดไว้ จึงทาให้ไม่เสี ยเวลาและสิ้นเปลืองเหมือนการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่ องพิมพ์ดีด ซึ่งถ้ามีขอผิดพลาดจะต้องพิมพ์ ้ ใหม่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา มีคุณสมบัติเด่นกว่าการเตรี ยมเอกสารด้วยเครื่ องพิมพ์ดีดหลายประการ อาจจะสรุ ปได้ดงนี้ ั
  • 11. (1) สามารถควบคุมสังจัดวางรู ปแบบเอกสารได้ใหม่ตามต้องการ โดยจะพิมพ์ผลลัพธ์ออกมาตามรู ปแบบที่กาหนด เช่น การ ่ กาหนดจานวนตัวอักษรในแต่ละบรรทัด การกาหนดตาแหน่งเริ่ มต้นและตาแหน่งบรรทัด เป็ นต้น (2) ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็ นกลุ่ม คือสามารถสังทาการลบ เคลื่อนย้าย หรื อสาเนาข้อความเป็ นคา ประโยค ่ หรื อย่อหน้า จากตาแหน่งหนึ่งไปยังตาแหน่งอื่นของเอกสารได้ง่าย (3) สามารถควบคุมการแสดงตัวอักษรของข้อความที่อาจเป็ นตัวเข้ม ตัวหนา ตัวเอียงและขีดเส้นใต้ที่ตาแหน่งต่างๆ ได้อย่าง อิสระ การพิมพ์เอกสารออกทางเครื่ องพิมพ์จะได้แบบของตัวอักษรที่สวยงามตามต้องการ (4) เอกสารที่จดเตรี ยมไว้สามารถทาการจัดเก็บลงในแผ่นบันทึกในรู ปของแฟ้ มข้อมูล และสามารถเรี ยกแฟ้ มนั้นจากแผ่น ั บันทึกกลับมาลงหน่วยความจาของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ทนที ั ่ (5) มีคาสังในการเรี ยกค้นคาหรื อข้อความที่มีอยูในเอกสารได้อย่างรวดเร็ ว ช่วยให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้สะดวกและ ่ รวดเร็ วขึ้น นอกจากการเรี ยกค้นแล้ว ยังสามารถสังให้มีการแทนที่คาหรื อข้อความเดิมด้วยข้อความใหม่ได้ทนทีอย่าง ั ่ อัตโนมัติ เช่นการเปลี่ยนข้อความจาก “คอมพิวเตอร์” เป็ น “ไมโครคอมพิวเตอร์” ในทุกๆ แห่งที่พบในเอกสารนั้น เป็ นต้น ่ ั (6) มีคุณสมบัติให้สามารถทาการเชื่อมแฟ้ มข้อความที่อาจเป็ นจดหมายกับแฟ้ มข้อมูลที่เป็ นชื่อหรื อที่อยูบริ ษท เพื่อทาการ พิมพ์เอกสารลักษณะแบบเดียวกันหลายๆ ชุดพร้อมกัน เช่น การส่งจดหมายเชิญประชุมถึงผูจดการบริ ษทต่างๆ จานวนมาก ้ั ั โดยเนื้อหาของข้อความในจดหมายทุกฉบับเหมือนกัน ต่างกันที่ชื่อบริ ษท ซอฟต์แวร์ประมวลคาจะพิมพ์จดหมายให้เอง ั ครบทุกฉบับด้วยการเปลี่ยนแปลงชื่อบริ ษทเท่านั้น ั ลักษณะพิเศษที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็ นเกณฑ์มาตรฐานทัวไปของซอฟต์แวร์ประมวลคา ่ ในปั จจุบนซอฟต์แวร์ได้มีการพัฒนาให้ทางานได้มากขึ้น ใช้งานได้สะดวกขึ้น ซอฟต์แวร์ประมวลคายุคใหม่ก็ได้มีการ ั พัฒนาเพิ่มคุณสมบัติอื่น ๆ อีกมาก คุณลักษณะที่เพิ่มขึ้นได้แก่ (1) การช่วยงานด้านการตรวจสอบตัวสะกด โดยเปรี ยบเทียบข้อมูลกับพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในรู ปของแฟ้ ม ถ้ามี การสะกดผิดก็จะมีคาที่คาดว่าถูกต้องแสดงให้เลือกพิจารณานามาแทนที่ (2) การแสดงความหมายของคาต่างๆ ที่มีเก็บในพจนานุกรมเรี ยบร้อยแล้ว และการเลือกคาพ้องความหมายมาแทนที่คาเดิม (3) การสร้างข้อมูลในรู ปแบบตารางได้ง่ายและสะดวก ่ (4) การนารู ปภาพมาผสมรวมกับข้อมูลที่มีแต่ตวอักษร โดยจะทางานอยูในภาวะกราฟิ ก พิมพ์ได้ท้ งตัวอักษรและรู ปภาพ เรา ั ั สามารถเลือกชุดแบบตัวอักษรได้หลายแบบ (5) การช่วยงานด้านการตรวจสอบรู ปแบบหรื อรู ปแบบของประโยค ซึ่งจะเป็ นการตรวจสอบไวยากรณ์ทางภาษา และ ่ วิเคราะห์ความน่าอ่านหรื อความสละสลวยของเอกสาร วิธีการของการตรวจสอบนี้จะใช้หลักวิชาทางปั ญญาประดิษฐ์วาด้วย
  • 12. ่ กฎและข้อเท็จจริ งของภาษาศาสตร์ ซึ่งรู ปแบบของประโยคที่โปรแกรมสามารถวิเคราะห์ได้ในปั จจุบน จะยังอยูในวงจากัด ั เฉพาะที่ใช้งานในวงการบริ หารธุรกิจเท่านั้น 5 ซอฟต์แวร์ตารางทางาน การวิเคราะห์และคานวณตัวเลขของผูใช้ ด้วยการสร้างเป็ นรู ปแบบจาลองในลักษณะของสูตรคานวณและสมการทาง ้ คณิ ตศาสตร์ มักมีการขีดเขียน คานวณ และจดบันทึกลงในกระดาษ โดยมีเครื่ องคิดเลขเป็ นเครื่ องมือช่วยในการคานวณ การ คานวณตามงานที่ออกแบบหรื อการค้นหาคาตอบของรู ปแบบจาลองสมการที่สร้างขึ้น นับเป็ นงานที่น่าเบื่อและต้องใช้ความ อดทนมากพอสมควร เพราะผูใช้จะต้องทาการคานวณใหม่ ซ้ าแล้วซ้ าอีกหลายๆ ครั้ง ตามการแปรเปลี่ยนอย่างไม่หยุดนิ่ง ้ ขององค์ประกอบหรื อปั จจัยสาคัญของงาน โดยเฉพาะอย่างยิงหากงานนั้นเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของชีวตและทรัพย์สิน ิ ่ ด้วยแล้ว การคานวณต่างๆ ก็ตองยิงระมัดระวังให้มีการตรวจทานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและแม่นยา ้ ่ 6 .ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล ั ่ ในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศยุคปั จจุบน ข้อมูลที่มีอยูจานวนมากจะต้องมีการจัดเก็บ และเรี ยกมาใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ั การรวบรวมและเก็บข้อมูลไว้ดวยกันจะช่วยให้การเรี ยกค้นเพิ่มเติมหรื อเปลี่ยนแปลงทาได้ง่าย ซึ่งการรวบรวมข้อมูลเข้า ้ ด้วยกันนี้เรี ยกว่า ฐานข้อมูล ประโยชน์ของการใช้ฐานข้อมูลจะช่วยให้สามารถใช้ขอมูลร่ วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซ้ าซ้อน ้ ของข้อมูลที่จะเกิดขึ้น ช่วยขจัดความขัดแย้งของข้อมูลและสามารถกาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย เป็ นต้น ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลช่วยให้ผใช้ดาเนินการจัดการข้อมูลได้ง่าย และมีให้เลือกใช้ได้หลายซอฟต์แวร์ โดยเน้นให้ผใช้ ั ู้ ู้ สามารถสร้างแฟ้ มข้อมูล ช่วยในการจัดเก็บ การขอดู การเรี ยกค้น การเพิ่มเติม การลบ การจัดเรี ยง และการทารายงาน ตัวอย่างซอฟ์ แวร์จดการฐานข้อมูล สามารถสร้างตารางเก็บข้อมูล ั แบบฟอร์มสาหรับป้ อน แสดงผล และแก้ไขข้อมูล และแบบสอบถามสาหรับสื บค้นข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลภายใต้การทางานของซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูล เป็ นเรื่ องทางเทคนิคภายในที่ยงยากซับซ้อน ผูใช้งาน ั ุ่ ้ ฐานข้อมูลทัวไป ไม่จาเป็ นต้องเข้าใจ เพราะซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะดาเนินการให้เอง นอกจากนี้ซอฟต์แวร์จดการ ั ั ่ ฐานข้อมูลยังสามารถควบคุมความถูกต้องของข้อมูลในฐานข้อมูล ข้อมูลที่ปรากฏในฐานข้อมูลจะต้องเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ความถูกต้อง เช่น เมื่อกาหนดว่าพนักงานของบริ ษทแต่ละคนจะทางานได้เพียงแผนกเดียว พนักงานนั้นจะมีชื่อไปปรากฏ ั
  • 13. สังกัดแผนกอื่นมากกว่าหนึ่งไม่ได้ หรื ออายุของพนักงานจะมีค่ามากกว่า 100 ปี ไม่ได้ เป็ นต้น นอกจากนี้ความถูกต้องของ ข้อมูลจะรวมถึงว่า ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องสอดคล้องหรื อไม่เกิดการขัดแย้งกัน เช่น วันเกิดของพนักงานที่แสดงไว้ในที่ ต่างๆ จะต้องบันทึกไว้ตรงกัน ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะต้องมีคาสังซึ่งอาจเลือกได้จากเมนูรายการคาสัง เพื่อให้ผใช้งานสามารถกาหนดกฎเกณฑ์ใน ั ู้ ่ ่ การควบคุมการทางาน เมื่อมีการกาหนดกฎเกณฑ์ไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่ตรวจสอบและควบคุม ั ั ้ ความถูกต้องให้กบผูใช้ ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลมีมากมายหลายโปรแกรม ส่วนใหญ่เน้นการใช้งานที่ง่ายและใช้งานใน ั ระดับตั้งแต่ผใช้คนเดียว หรื อเชื่อมโยงเป็ นกลุ่ม ตลอดจนเชื่อมต่อฐานข้อมูลอื่น ซอฟต์แวร์จดการฐานข้อมูลที่รู้จกกันดี ู้ ั ั ได้แก่ แอกเซส ออราเคิล อินฟอร์มิกซ์ มายเอสคิวแอล เป็ นต้น 7. ซอฟต์แวร์นาเสนอ ่ การนาข้อมูลตัวเลข โดยปกติจะอยูในรู ปของตาราง เป็ นแถวและสดมภ์ ซึ่งไม่ใช่วธีนาเสนอข้อมูลที่ดี เพราะการนาเสนอ ิ ่ ข้อมูลในรู ปตารางไม่ดึงดูดความสนใจ และตีความข้อมูลตัวเลขได้ลาบากไม่สมบูรณ์ การแปลงข้อมูลตัวเลขให้อยูใน รู ปภาพและแผนภูมิจะเป็ นวิธีที่ดีและมีประสิ ทธิภาพสูง เพราะการนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีน้ ีจะดึงดูดความสนใจสื่ อ ความหมายได้กระจ่างชัด และเข้าใจง่าย ในปั จจุบนนิยมนาข้อมูลมาเขียนเป็ นแผนภูมิหรื อนาข้อมูลมาวิเคราะห์คานวณตัวเลขทางสถิติ ได้ขอมูลตัวเลขชุดใหม่ แล้ว ั ้ จึงค่อยนามาสร้างเป็ นแผนภูมิ ซึ่งแผนภูมิที่ได้น้ ีจะนาไปเสนอต่อผูบริ หารระดับสูงเพื่อใช้วางแผนและตัดสิ นใจ หรื ออาจใช้ ้ เพื่อนาเสนอบุคคลทัวไป เพื่อการประชาสัมพันธ์ แผนภูมิทางธุรกิจเพื่อการนาเสนอมักมีการจัดทาขึ้นเป็ นพิเศษเพราะ ่ จะต้องให้เข้าใจง่าย ดึงดูดความสนใจผูพบเห็น ้ ปั จจุบนมีซอฟต์แวร์ดานกราฟิ กให้เลือกใช้มาก ซึ่งซอฟต์แวร์เหล่านี้มกจะเน้น การใช้งานที่ง่ายและสะดวก มีชนิดของ ั ้ ั แผนภูมิให้เลือกใช้หลายแบบตามความเหมาะสมของข้อมูล การปรับแต่งและจัดรู ปแบบแผนภูมิใหม่สามารถทาได้ง่ายด้วย คาสังเพียง 1 หรื อ 2 คาสัง นอกจากนี้ยงสามารถโอนย้ายข้อมูลจากซอฟต์แวร์สาเร็ จอื่น เช่น จากระบบฐานข้อมูลและตาราง ั ่ ่ ทางาน มาแสดงแผนภูมิได้ดวย ้ แผนภูมิที่ได้จากซอฟต์แวร์สาเร็ จข้างต้นให้ผลของภาพชัดเจน และละเอียดดี ไม่แพ้ภาพของแผนกศิลป์ การสร้างปรับแต่ง ภาพ ก็สามารถทาได้รวดเร็ ว นอกจากนี้ยงสามารถเก็บภาพที่ได้ใส่ไว้ในแผ่นบันทึกในรู ปของแฟ้ มข้อมูล และนาผลออกทาง ั เครื่ องพิมพ์ เครื่ องวาดรู ป หรื อออกเป็ นภาพสไลด์ก็ได้
  • 14. ซอฟต์แวร์ดานกราฟิ กแบ่งได้หลายประเภทของการใช้งาน เช่น ทางธุรกิจ ทางการออกแบบ ซอฟต์แวร์กราฟิ กเชิงธุรกิจจะ ้ ช่วยในงานด้านวิเคราะห์และเสนอข้อมูลในรู ปของแผนภูมิ โดยสามารถปรับแต่งรู ปแผนภูมิให้สวยงามเพื่อนาเสนอและจูง ใจผูชม ้ โดยทัวไปแล้วซอฟต์แวร์ดานนี้จะสามารถสร้างแผนภูมิหลักที่สาคัญต่อไปนี้ได้คือแผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งซ้อน แผนภูมิ ้ ่ แท่งเหลื่อมทับ แผนภูมิวงกลม แผนภูมิวงกลมแยกส่วน กราฟเส้นตรง แผนภูมิกระจัดกระจาย แผนภูมิพ้ืนที่และแผนภูมิสูง ต่า ในการปรับแต่งรู ปแผนภูมิ สามารถกาหนดข้อความ หัวเรื่ อง ข้อความอธิบายแกนเลือกขนาดและชุดแบบอักษร เลือกสี หรื อ แถบระบายของแท่งหรื อชิ้นส่วนแผนภูมิ และแทรกภาพสัญลักษณ์เข้ารวมในรู ปแผนภูมิ นอกจากนี้ในการรับข้อมูลเข้า สามารถเลือกรับจากแผงแป้ นอักขระ จากแฟ้ มข้อมูล หรื อจากโปรแกรมสาเร็ จอื่น เช่น รับแฟ้ มตารางทางานมาปรับแต่ง แผนภูมิให้ดีข้ ึนได้ เพิ่มความสะดวกในการใช้งานกราฟิ กเชิงธุรกิจอีกด้วย 8 ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ ก ั ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กเป็ นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่เหมือนกระดาน หรื อสมุดวาดเขียนที่ผใช้สามารถสร้างภาพเขียนได้ ั ู้ ่ ั และมีอุปกรณ์ที่ช่วยในการวาดรู ปเช่น ปากกาช่วยวาดลายเส้น พูกนระบายสี และยางลบช่วยลบลายเส้นหรื อสี ที่ไม่ตองการ ้ ได้ นอกจากนี้สามารถนาแฟ้ มข้อมูลที่เป็ นรู ปภาพที่ถ่ายโดยใช้กล้องถ่ายรู ปดิจิตอลมาแก้ไข หรื อตกแต่งได้ โดยซอฟต์แวร์ จัดการด้านกราฟิ กมีเครื่ องมือที่สามารถปรับเปลี่ยนความเข้มของแสง ปรับเปลี่ยนความแตกต่างของสี วตถุในภาพ และ ั สามารถตัดแปะองค์ประกอบของภาพหลายๆ ภาพมาสร้างเป็ นภาพใหม่ได้เหมือนการสร้างศิลปะ นอกจากนี้ ยังสามารถ เปลี่ยนลักษณะของภาพ ลักษณะของสี ให้มีพ้ืนสี แบบต่างๆ ได้ ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กที่เป็ นที่นิยมเช่น โฟโตชอป เพ ั นท์บรัช เพนท์ชอป ซอฟต์แวร์จดการด้านกราฟิ กบางโปรแกรม สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์นาเข้าสแกนเนอร์ เพื่อจัดการนาแปลงข้อมูลรู ปภาพ ั ให้เป็ นข้อมูลแบบดิจิตอล และจัดเก็บข้อมูลในรู ปของแฟ้ มข้อมูลเพื่อนามาแก้ไขต่อไป 9 ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่ อสาร
  • 15. เมื่อระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทสาคัญในการใช้ทางานและการใช้งานคอมพิวเตอร์ของมนุษย์มากขึ้น และมีบริ การ หรื อการประยุกต์ทางานหลายๆ อย่างบนระบบอินเทอร์เน็ต ผูใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์จากซีกโลกหนึ่งสามารถเลือก ค้นหา ้ ่ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในอีกซีกโลกหนึ่งได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้การติดต่อสื่ อสารไม่วาในรู ปของการส่งข้อความหรื อ การติดต่อด้วยเสี ยงก็สามารถทาได้ ความสะดวกสบายเหล่านี้ลวนแต่ตองอาศัยซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ทาหน้าที่จดการทั้งสิ้น ้ ้ ั ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในกลุ่มติดต่อสื่ อสารที่มีใช้งานเป็ นหลักในสังคมปั จจุบนคือซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บ (web browser) ั ้ ซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บเป็ นซอฟต์แวร์ที่สามารถสื บค้น และแสดงสารสนเทศที่นาเสนอในรู ปของเว็บเพจ (web page) ได้ ้ ่ ่ โดยที่สารสนเทศดังกล่าวอาจจะเป็ นสารสนเทศที่เก็บอยูในเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่บรรจุซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บหรื ออยูที่เครื่ อง ้ ่ แม่ข่าย (web server) ที่ให้บริ การเผยแพร่ สารสนเทศบนเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต สารสนเทศเหล่านั้นอาจอยูในรู ปของ ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อภาพเคลื่อนไหว โดยซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บมีหน้าที่ติดต่อกับระบบเก็บข้อมูลที่เครื่ องแม่ข่าย ้ ่ ่ รับคาสังจากเครื่ องที่ใช้งานอยูแล้วเรี ยกดึงข้อมูลที่อยูในเครื่ องแม่ข่ายมาแสดงผลบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน และ ่ นอกจากนี้ซอฟต์แวร์ชนิดนี้สามารถช่วยให้ผใช้ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่ องแม่ข่ายและลูกข่ายได้ ทั้งการส่งข้อมูลที่ ู้ ต้องการเผยแพร่ จากเครื่ องลูกข่ายไปยังเครื่ องแม่ข่ายที่เรยกว่าการบรรจุข้ ึน (upload) และการถ่ายโอนข้อมูลที่ผใช้ตองการ ู้ ้ จากเครื่ องแม่ข่ายมาไว้ในเครื่ องลูกข่ายที่เรี ยกว่าการบรรจุลง (download) และในปั จจุบนผูใช้สามารถรับ-ส่งจดหมาย ั ้ ่ อิเล็กทรอนิกส์ผานทางซอฟต์แวร์ชนิดนี้ได้อีกด้วย การค้นสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์คนผ่านเว็บนี้มีดวยกัน 2 แบบ ได้แก่ การสื บค้น (browse) ซึ่งเป็ นการเปิ ดดูเอกสารที่ ้ ้ ่ ่ ู้ นาเสนออยูบนเว็บไปเรื่ อยๆ โดยเอกสารเหล่านั้นมีการเชื่อมโยง (link) กันอยูผใช้สามารถค้นข้อมูลได้โดยการเลือกเปิ ดดู เอกสารตามการเชื่อมโยงเหล่านั้นและอีกแบบหนึ่งเรี ยกว่าการค้นหา (search) เป็ นการค้นหาสารสนเทศเฉพาะหัวข้อที่ ต้องการ การค้นหาต้องใช้ระบบที่เรี ยกว่าโปรแกรมค้นหา (search engine) ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการ ค้นหาเอกสารหรื อบทความที่เกี่ยวข้อกับเรื่ องที่ผใช้สนใจโดยใช้คาสาคัญ (keyword) ที่ผใช้ป้อนเข้าสู่ระบบ และระบบจะ ู้ ู้ นาคาสาคัญไปเปรี ยบเทียบกับคาในเอกสารต่างๆ ที่เผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ต และแสดงผลการค้นหาแก่ผใช้ ู้ บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นี้ ผู ้ จัดทาโครงงานมีวธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ิ 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา 3.1.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 16. 3.1.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ http://www.wordpress.com 3.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น http://www.facebook.com http://www.ckw.ac.th/krunee 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครู ที่ปรึ กษาโครงงาน 3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่สนใจ คือเรื่ องซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และ ต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป 3.2.3 ศึกษาการสร้างเว็บบล็อกที่สร้างจากเว็บไซต์ WordPress จากเอกสารที่ครู ประจาวิชากาหนด และจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่นาเสนอเทคนิค วิธีการสร้างเว็บบล็อก 3.2.4 จัดทาโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนาเสนอครู ที่ปรึ กษา 3.2.5 ปฏิบติการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต โดยการ ั สมัครสมาชิก และสร้างบทเรี ยนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่ างที่เสนอไว้แล้ว 3.2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็ นระยะๆ โดยแจ้งให้ครู ที่ปรึ กษาโครงงานเข้าไปตรวจความก้าวหน้าของโครงงาน ผ่านเว็บไซต์ http://www.ckw.ac.th/krunee ซึ่งครู ที่ปรึ กษาจะให้ขอเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้จดทาเนื้อหาและการนา ้ ั เสนอที่น่าสนใจต่อไป ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุ ง แก้ไขให้เป็ นที่สนใจยิงขึ้น ่ 3.2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนาเสนอในรู ปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูลไฟล์ 3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก ที่ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 แล้วให้ครู ที่ปรึ กษา ประเมินผลงาน และให้เพื่อนๆ ผูสนใจเข้าร่ วมประเมิน โดยการสร้างกล่อง Like Box เพื่อให้คลิก Like และคอมเมนท์ใน ้ หน้าเว็บบล็อก 3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อก ที่ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 เพื่อให้ผสนใจศึกษาหาความรู ้ต่อไป ู้ บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน
  • 17. การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ อง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress และค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับแท็บเล็ต เพื่อให้ผจดทา ู้ ั โครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่าง ่ ครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้ ้ ่ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต นี้ ผูจดทาได้เริ่ มดาเนินงานตาม ้ั 4.1 ผลการพัฒนาเว็บบล็อก ขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็ นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ http://www.wordpress.com จากนั้นได้นาเสนอเผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บบล็อก ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดี โดยทั้งครู ที่ปรึ กษา เพื่อนๆในห้องเรี ยน ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบของการนาเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทา ให้เกิดการเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ ว บทที่ 5 สรุ ปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต นี้สามารถสรุ ปผลการ ดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 5.1.1.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย WordPress เรื่ องแท็บเล็ต 5.1.1.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับแท็บเล็ต 5.1.1.3 เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก WordPress ได้ดวยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ ้ การเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น ่
  • 18. 5.1.1.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ้ ่ 5.2.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา 5.2.1.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต 5.2.1.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ http://www.wordpress.com 5.2.1.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น http://www.facebook.com http://www.ckw.ac.th/krunee 5.2 สรุ ปผลการดาเนินงานโครงงาน ขั้นตอนการดาเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว แล้วได้สมัครเป็ นสมาชิกเว็บบล็อกที่ชื่อ http://www.wordpress.com จากนั้นได้นาเสนอเผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บบล็อก ชื่อ ด.ช.พัฒนพงษ์ วรรณรัตน์ เลขที่5 ม.3/2 ทั้งนี้เว็บบล็อกดังกล่าว สามารถจัดการและเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดี โดยทั้งครู ที่ปรึ กษา เพื่อนๆในห้องเรี ยน ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนรู ้ โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบของการนาเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทา ให้เกิดการเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ในโลกออนไลน์อย่างหลากหลายและรวดเร็ ว 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอแนะทัวไป ่ 5.3.1.1 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ WordPress เป็ นเว็บบล็อกสาเร็ จรู ปที่ใช้ทาเว็บไซต์ได้ง่าย และรวดเร็ ว แต่ถาเรา ้ ใช้ประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม ก็จะส่งผลต่อการละเมิดลิขสิ ทธิ์และได้รับความรู ้ที่ไม่ถูกต้อง เพราะฉะนั้นผูจดทาควรเผยแพร่ สิ่งที่ดี ๆ ให้บุคคลที่เข้ามาเยียมหรื อศึกษาได้ความรู ้และสิ่ งดี ๆ นาไปเผยแพร่ ต่อให้ผอื่นมา ้ั ่ ู้ ่ ศึกษาความรู ้ ที่เป็ นประโยชน์ตอไป 5.3.1.2 ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ 5.3.1.3 ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนเพิ่มเติม 5.3.2 ปั ญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนา 5.3.2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับการทาโครงงาน และบางครั้งอินเทอร์เน็ตมีปัญหา เข้าพร้อมกันก็จะทาให้ชา จึงทา ้ ให้การพัฒนาเว็บบล็อกเกิดความล่าช้าตามไปด้วย 5.3.2.2 เพื่อนนักเรี ยนบางคนเรี ยนรู ้การพัฒนาเว็บบล็อกค่อนข้างช้า ทาให้ตองเสี ยเวลาในการเรี ยนรู ้ เพราะครู ผสอนไม่ ้ ู้ สามารถสอนเนื้อหาเพิ่มเติมได้
  • 19. บรรณานุกรม สื บค้นเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2555 แหล่งข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลจาก http://it.benchama.ac.th/ebook/files/menu/ls5.htm