SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
โฉมหน้าใหม่ของเมียนมาร์


                     โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
                      ekkachais@hotmail.com
              ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
                        สถาบันพระปกเกล้า

           A Publication by www.elifesara.com          1
โฉมหน้าใหม่ของเมียร์มาร์




    A Publication by www.elifesara.com
ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
   (the Republic of the Union of Myanmar)
เมืองหลวง          กรุงเนปีดอ (Napyidaw) - เมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่า
เมืองหลวงเดิม      ย่างกุ้ง (ร่างกุ้ง)
ภาษาราชการ         ภาษาพม่า/เมียนมาร์
อัตราแลกเปลี่ยน    จ๊าด (Kyat)
การปกครอง:         ระบบประธานาธิบดี
- ประธานาธิบดี:    เต็ง เส่ง                                    ธนบัตรเงินจ๊าดของพม่า

ประชากร:           53,999,804 (2555)
GDP per Capita     855 (ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี)
ประเทศเพื่อนบ้าน   บังคลาเทศ, จีน, อินเดีย, ลาว, ไทย
                           A Publication by www.elifesara.com
ลักษณะทางภูมิศาสตร์

  ทิศเหนือและตะวันออกเฉียง
  เหนือ ติดกับ จีน
  ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับ
  ลาวและไทย
  ทิศตะวันตก ติดกับอินเดีย
  และ บังกลาเทศ
  ทิศใต้ ติดกับทะเลอันดามัน
  และอ่าวเบงกอล




  A Publication by www.elifesara.com
การแบ่งเขตการปกครอง
  ๗ รัฐ (states) ๗ เขต (divisions)
๑. รัฐชิน (Chin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองฮะคา
๒. รัฐกะฉิ่น (Kachin) มีเมืองหลวงชือ เมืองมิตจีนา
                                    ่
๓. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองปะอาน
๔. รัฐกะยา (Kayah) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองหลอยก่อ
๕. รัฐมอญ (Mon) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมะละแหม่ง
๖. รัฐยะไข่ (Rakhine) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองซิตตเว
๗. รัฐฉานหรือไทใหญ่ (Shan) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองตองยี
                       A Publication by www.elifesara.com   5
การแบ่งเขตการปกครอง
        7 รัฐ (states) 7 เขต (divisions)
๑. เขตอิรวดี (Ayeyarwady) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะสิม
๒. เขตพะโค (Bago) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะโค
๓. เขตมาเกว (Magway) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมาเกว
๔. เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมัณฑะเลย์
๕. เขตสะกาย (Sagaing) มีเมืองเอกชื่อ เมืองสะกาย
๖. เขตตะนาวศรี (Tanintharyi) มีเมืองเอกชื่อ เมืองทวาย
๗. เขตย่างกุ้ง (Yangon) มีเมืองเอกชื่อ เมืองย่างกุ้ง
                    A Publication by www.elifesara.com     6
7
การพัฒนาประเทศพม่า
พม่าไม่ได้ล้าหลังอย่างที่ทกคนพูด ที่ว่าเศรษฐกิจพม่าล้าหลังกว่า
                          ุ
ประเทศไทยอยู่เกือบ ๕๐ ปี
ผลของการปิดประเทศ ได้ส่งผลให้การพัฒนาประเทศของพม่าต้อง
หยุดชะงักลง
พม่าไม่ได้ล้าหลังเรามากเช่นที่ย่างกุ้ง เราจะพบเห็นโครงสร้าง
สาธารณูปโภคที่ดี ถนนหนทางที่ใช้ได้ รวมไปถึงศูนย์การค้า
สมัยใหม่เริ่มผุดขึ้นมา มีสินค้า Brand names จากประเทศต่างๆ
วางขายอยู่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นจากญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร์ ไทย

                    A Publication by www.elifesara.com           8
ความท้าทาย
พม่าได้วางรากฐานสาคัญที่เป็นหัวใจในการเปิดประเทศสู่โลก
ภายนอก คือ การประกาศยกเลิกอัตราแลกเปลี่ยนแบบหลายอัตรา
เคยประกาศค่าเงินจ๊าดไว้ที่ 6 จ๊าด/ดอลลาร์ และเริ่มใช้อัตรา
แลกเปลียนแบบลอยตัว โดยมีทางการประกาศกรอบอัตรา
        ่
แลกเปลี่ยนในแต่ละวัน
หลังจากยกเลิกระบบดังกล่าวแล้ว พม่าได้ประกาศอัตราแลกเปลี่ยน
ใหม่ไว้ประมาณ 800 จ๊าด/ดอลลาร์ (ใกล้เคียงกับราคาในตลาด
มืด)


                  A Publication by www.elifesara.com     9
การเปิดประเทศ

เศรษฐกิจพม่ากาลังโต เริ่มคึกคักมากขึน รายได้กาลังเพิ่ม ทาให้
                                      ้
กาลังซื้อของพม่า เข้าสู่จุดที่เหมาะสม
มีการลงทุนในกิจการต่างๆ รวมถึงการก่อสร้างตึกต่างๆ เพิ่มขึ้น
อย่างเห็นได้ชัด
พม่ามีทรัพยากรมาก อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญไม่แพ้ไทย
เป็นตัวเชือมโยงระหว่าง จีน อินเดีย ไทย เป็นทางออกสู่ทะเลอันดา
          ่
มันให้กับจีนตะวันตกเหตุ


                    A Publication by www.elifesara.com          10
ปัญหาที่ท้าทายของพม่า
ADB ได้รายงานปัญหาที่ท้าทายพม่าดังนี้
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบการเงินของพม่าด้อยในด้านการระดมเงินทุน การเข้าถึงเงินทุน
โครงสร้างพื้นฐาน การบริการทางด้านสังคมที่ยังไม่เพียงพอ
ด้านการสื่อสารโทร คมนาคม และการขนส่งซึ่งอยู่ในสภาพที่ยังด้อย
แม้จะเป็นประเทศที่มีแหล่งพลังงานขนาดใหญ่ พม่าเป็นหนึ่งในประเทศ
ที่มีอัตราต่าสุดของอัตราการบริโภคพลังงานในอาเซียน ในพื้นที่
ห่างไกลไฟฟ้ายังสามารถจัดหาให้ได้ไม่เกินวันละสองชั่วโมง

                     A Publication by www.elifesara.com
ปัญหาที่ท้าทายของพม่า (ต่อ)
ด้านการศึกษา การกีดกันทางการศึกษาและระบบการศึกษาที่ด้อย
พม่ามีการสูญเสียคนสองรุ่นที่ได้รับการศึกษา - ผู้ที่มีอายุระหว่าง 25 –
55 ปีที่ได้รับการอบรมและการให้ความรู้ที่สั้นไม่มีประสิทธิภาพ
ช่องว่างรายได้ในเมือง / ชนบท ความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน
การครองชีพในย่างกุ้งและเขตเมืองอื่นๆ อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าของ
ย่างกุ้งอยู่ที่ 67% คิดเป็น 4 เท่าของพื้นที่ชนบท ความยากจนในพื้นที่
ชนบทมีระดับเป็น 2 เท่าจากในเขตเมือง ในขณะที่ 3 ใน 4 ของเด็กชนบท
ไม่ได้เรียนมากกว่าโรงเรียนระดับประถม เมื่อเปรียบเทียบกับเป็น 37%
ในพื้นที่เมือง (จาก Bangkok Post)
                        A Publication by www.elifesara.com
ด้านโอกาสของพม่า
มีศักยภาพสูงที่จะเป็น “แหล่งอาหาร" และ "แหล่งพลังงาน"
(โดยเฉพาะน้ามันดิบและก๊าซ) สาหรับเอเชีย
มีศักยภาพทางด้านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่สาหรับการลงทุน
โดยตรงจากอาเซียนและโซ่อุปาทานทั่วโลก
มีการพัฒนาหลายโครงการที่สาคัญ เช่น โครงการทวาย, เขื่อน
อิรวดีทางตอนเหนือของพม่าและการก่อสร้างแนวท่อส่งน้ามันดิบ
ในรัฐยะไข่ (Rakhine) ของพม่าไปสู่จีน
สารองเงินตราต่างประเทศขนาดใหญ่
                                     (จาก Bangkok Post)
โอกาสและอุปสรรคของพม่า
มีศักยภาพสูงที่จะเป็น "กระเช้าอาหาร" และ "แหล่งพลังงาน" (โดยเฉพาะ
น้ามันดิบและก๊าซ) สาหรับเอเชีย
มีศักยภาพทางด้านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่สาหรับการลงทุนโดยตรงจาก
อาเซียนและโซ่อุปทานทั่วโลก
มีการพัฒนาที่สาคัญอยู่ทางตอนใต้ รวมทั้งอุตสาหกรรมที่ซับซ้อน
โครงการทวาย เขื่อนอิรวดีทางตอนเหนือ และการก่อสร้างแนวท่อส่ง
น้ามันดิบในรัฐยะไข่ (Rakhine) ของพม่าไปสู่จีน
สารองเงินตราต่างประเทศขนาดใหญ่
มีหลายเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ มีความแตกต่างกันด้านธรรมเนียมประเพณี
ศาสนา วัฒนธรรม ส่วนใหญ่นับถือพุทธ ๘๕ % มีการตั้งกระทรวงศาสนา
เพื่อส่งเสริมพุทธศาสนา มีการศึกษาพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง
                     A Publication by www.elifesara.com
พัฒนาการ
ทางการเมืองในพม่า
     A Publication by www.elifesara.com   15
การเมืองการปกครองของพม่า
อังกฤษขยายอานาจโดยสยาม(ร.๓)เข้าร่วมสงคราม
กับพม่าปี ๒๓๖๗ จบลงในปี ๒๓๖๙ โดยอังกฤษเป็นฝ่ายชนะ
พม่าจาต้องทาสนธิสญญายันดาโบ ทาให้สูญเสียดินแดน อัสสัม
                   ั
มณีปุระ ยะไข่ และตะนาวศรี อังกฤษตักตวงทรัพยากรต่าง ๆ
ของพม่า ป้อนสู่สิงคโปร์
พม่ามีความแค้นเคืองมาก กษัตริย์องค์ต่อมาได้ยกเลิก
สนธิสัญญาฯ และโจมตีผลประโยชน์ของอังกฤษ ทังต่อบุคคล
                                            ้
และเรือ ทาให้เกิดสงครามกับพม่าครั้งที่สอง ชัยชนะเป็น
ของอังกฤษอีก
                 A Publication by www.elifesara.com   16
การเมืองการปกครองของพม่า
อังกฤษได้ผนวกหงสาวดีและพื้นที่ใกล้เคียงเข้าไว้โดยเรียก
ดินแดนนี้ว่าพม่าตอนใต้ ก่อให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่ในพม่า
ด้วยการเข้ายึดอานาจโดยพระเจ้ามินดงครองราชย์ พ.ศ.
๒๓๙๖ จากพระเจ้าปะกัน (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๘๙) ซึ่งเป็น
พระเชษฐาต่างพระชนนี
พระเจ้ามินดงพัฒนาประเทศเพื่อต่อต้านการรุกรานของ
อังกฤษ ได้สถาปนากรุงมัณฑะเลย์ ที่ยากต่อการรุกรานจาก
ภายนอก ตั้งขึ้นเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ แต่ก็ยังไม่เพียง
พอที่จะหยุดยั้งการรุกรานจากอังกฤษได้
                   A Publication by www.elifesara.com    17
การเมืองการปกครอง
พระเจ้าธีบอ มีบารมีไม่พอเกิดความวุ่นวายทั่วไปในบริเวณชายแดน จึงตัดสินใจ
ยกเลิกสนธิสัญญากับอังกฤษ ที่บิดาทาไว้ และประกาศสงครามกับอังกฤษ
เป็นครั้งที่สามในปี ๒๔๒๘ ผลของสงครามทาให้อังกฤษเข้าครอบครอง
ดินแดนพม่าส่วนที่เหลือเอาไว้ได้
พม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ. ๒๔๒๙ (ก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒)
ญี่ปุ่นมีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ติดต่อกับพวกยะขิ่นซึ่งเป็นกลุ่ม
นักศึกษาหนุ่มที่มีหัวรุนแรง มีอองซาน นักชาตินิยม และเป็นผู้นาของนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยย่างกุ้งเป็นหัวหน้า
ยะขิ่นเข้าใจว่าญี่ปุ่นสนับสนุนการประกาศอิสรภาพของพม่าจากอังกฤษ แต่เมื่อ
ญี่ปุ่นยึดพม่าได้กลับหน่วงเหนี่ยวมิให้พม่าเป็นเอกราช ได้ส่งอองซานและพวก
๓๐ คน ไปญี่ปุ่นเพื่อรับคาแนะนาในการเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษ
                       A Publication by www.elifesara.com               18
อองซานกลับพม่าก่อตั้งพรรคAFPFL :Anti-Fascist Peoples Freedom
League เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ
เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามอองซานเจรจากับอังกฤษ ขออิสรภาพปกครอง
ตนเองภายใต้เครือจักรภพ และมีขาหลวงใหญ่อังกฤษประจาพม่าช่วย
                                   ้
ให้คาปรึกษา
แต่อองซานต้องการเอกราชอย่างสมบูรณ์ อังกฤษจึงสนันสนุนพรรค
การเมืองอื่น ๆ ขึ้นแข่งกับพรรค AFPFL แต่ไม่สาเร็จ จึงยอมให้พรรค
AFPFL ขึ้นบริหารประเทศโดยมีอองซานเป็นหัวหน้า
อังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่พม่าแต่ยังรักษาสิทธิทางการทหารไว้ ๔
มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๑ อังกฤษจึงได้มอบเอกราชให้แก่พม่าอย่าง
สมบูรณ์
                    A Publication by www.elifesara.com        19
หลังจากพม่าได้รับเอกราชการเมือง
ภายในประเทศมีการสับสน
ตลอดเวลา นายกรัฐมนตรีอูนุถูก
บีบให้ลาออก เมื่อพ.ศ. ๒๕๐๑
ผู้นาพม่าคนต่อมาคือนายพลเนวิน
ได้ทาการปราบจลาจลและพวก
นิยมซ้ายจัดอย่างเด็ดขาด ได้จัดไห้
มีการเลือกตั้งทั่วประเทศใน พ.ศ.
๒๕๐๓ ทาให้ได้กลับมาเป็นผู้จัดตั้ง
รัฐบาลใหม่ เพราะได้รับเสียงข้าง
มากในสภา
         A Publication by www.elifesara.com   20
ออง ซาน ซูจ?
                                ี
ลูกนายพล อองซานทีต่อสู้กับญี่ปุ่น และอังกฤษที่เข้ามายึดครองพม่า
                       ่
ปี ๒๕๐๓ ดอว์ขิ่นจีมารดา ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งทูตพม่า
ประจาอินเดีย ซูจีเข้าศึกษาที่นิวเดลี และปริญญาตรี ที่ ม.ออกซฟอร์ด
จบการศึกษา มารดาหมดวาระทูตฯ แยกเดินทางไปนิวยอร์ก ทางาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา สานักงานเลขาธิการ องค์การสหประชาชาติ
ปี ๒๕๑๐ แต่งงานกับ ศ.ดร.ไมเคิล อริส อาจารย์สอนที่
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด อังกฤษ(รัฐธรรมนูญล่าสุดของพม่า
กาหนดให้ชาวพม่าที่แต่งงานกับคนต่างชาติไม่มีสิทธิ์ลงสมัครรับ
เลือกตั้ง)

                     A Publication by www.elifesara.com         21
ย้ายไปอยู่กับสามีทภูฏาน เป็นนักวิจัยในกระทรวง
                  ี่
ต่างประเทศของรัฐบาลฯ สามีทางานการแปล
สอนราชวงศ์แห่งภูฏาน
ต่อมากลับมาที่ลอนดอนเริ่มงานเขียน และวิจัย
และแยกทางกับสามีระยะหนึ่ง เพื่อแสวงหา
ความก้าวหน้าทางวิชาการ
ได้รับทุนทาวิจัยจาก ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศึกษา มหาวิทยาลัยเกียวโต ทาวิจัยเกี่ยวกับ
บทบาทของนายพลอองซาน
พ.ศ. ๒๕๓๐ ซูจีและไมเคิลย้ายครอบครัวกลับมา
อยู่ที่ออกซฟอร์ด ได้ศึกษาต่อในอังกฤษ
 A Publication by www.elifesara.com          22
ปี ๒๕๓๑ วัย ๔๓ ปี เดินทางกลับ
บ้านเพื่อพยาบาลมารดาที่ป่วยหนัก
และเสียชีวิตเมื่อ ๒๗ ธ.ค. ๒๕๓๑
   เศรษฐกิจตกต่าประชาชนเรียกร้องประชาธิปไตย
   นักศึกษาประท้วงทาลายร้านค้าจนเหตุการณ์รุนแรงขึ้น
   เป็นครั้งแรก
   นายพลเนวินลาออก ซูจีเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง
   เรียกร้องให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อ
   เตรียมการเลือกตั้งทั่วไป ได้ร่วมจัดตั้งพรรคสันนิบาต
                                                         23
   แห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย
จุด​เปลี่ยน​ในพม่า
พม่า​เป็นประ​เทศที่มีทรัพยากร​เป็นจานวนมาก
​เป็นที่สน​ใจของประ​เทศตะวันตกที​แสวงหา​โอกาส​เข้ามาพม่า ​เพื่อดา​เนินธุรกิจ ​
                                     ่
 จากสถาน​การณ์​การ​เมือง​ในพม่า​เปลี่ยน​ไป​เมื่อปี ๒๐๐๗ ​ผู้นาคน​เดิม คือ นาย
 พลตันฉ่วย ป่วยจน​ไม่สามารถบริหารประ​เทศ​ได้ ​เป็น​โอกาส​ให้ประธานาธิบดี​
 เต็ง​ส่ง ขึ้นมา​เป็น​ผู้บริหารประ​เทศคน​ใหม่​แทน ​
     เ
 การ​เปลี่ยน​แปลง​ผู้บริหารระดับสูงสุดของพม่า ​เป็นสา​เหตุสาคัญที่​ทา​ให้ ประ​
 เทศตะวันตก ​ได้ยก​เลิกมาตร​การคว่าบาตรทาง​เศรษฐกิจที่มีต่อพม่ามาอย่าง
 ยาวนาน
 ประธานาธิบดีเต็ง เส่ง ปฏิรูปการเมือง ด้วยการปลดปล่อยนักโทษการเมือง
 ผ่อนคลายการควบคุมสื่อมวลชน เปิดทางให้นางอองซาน ซูจี เข้าสภา
 สหรัฐกับอียูให้รางวัลแก่พม่าด้วยการผ่อนคลายมาตรการลงโทษต่างๆ และ
 กาลังเตรียมให้ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาแก่พม่า
                         A Publication by www.elifesara.com
การปฏิรูปของพม่า
23 ก.ค. 40   พม่าเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียน

7 พ.ย. 48    พม่าย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้งไปทีเ่ มืองเนปีดอ

21 ต.ค. 53   พม่าเปลียนธงชาติ-สัญลักษณ์, ชื่อประเทศ และเพลงชาติใหม่
                     ่

13 พ.ย. 53   ​การปล่อยตัวนางอองซาน ซูจี นัก​เคลื่อน​ไหวทาง​การ​เมืองคนสาคัญ

3 ธ.ค. 53    ประธานาธิบดีเต็งเส่ง แห่งพม่าลงนามรับรองกฎหมายอนุญาตให้ประชาชน
             ชุมนุมประท้วงอย่างสันติได้เป็นครั้งแรกของประเทศ

1 เม.ย. 55   พม่าปรับเปลียนระบบอัตราแลกเปลียนเงินจ๊าด (KYAT) จากระบบเดิมทีเ่ ป็น
                         ่                 ่
             อัตราแลกเปลี่ยนสองระบบ (DUAL EXCHANGE RATE SYSTEMS)

2556         ทางการพม่าจะอนุญาตให้เปิดหนังสือพิมพ์รายวันได้ในช่วงต้นปีหน้า

                            A Publication by www.elifesara.com
นโยบายของ พล.อ.เต็ง เส่ง หลังเข้ารับตาแหน่ง
• ช่วงปีแรกของรัฐบาลได้เน้นปฏิรูปการเมือง
• ใช้นโยบายปรองดองแห่งชาติ โดยนับจาก เป็นต้นไป
• รัฐกาลังปฏิรูปรอบ 2 โดยเน้นการพัฒนาประเทศและประชาชนเป็น
  พิเศษ
• การดาเนินนโยบายปรองดองแห่งชาติ ทาให้เกิดสันติสุข ความ
  มั่นคง และมีการบังคับใช้กฎหมาย รวมทั้งเกิดความปลอดภัยใน
  ชีวิตของชาวพม่า ”


                      A Publication by www.elifesara.com
แผนปฏิรปเศรษฐกิจของพม่าที่สาคัญ
               ู
โครงการพัฒนาทวายบนพื้นที่ชายฝั่งอันดามันทางภาคใต้ของพม่า ที่
ช่วยให้เพื่อนบ้านเช่นไทยใช้เป็นทางออกสู่มหาสมุทรอินเดีย และตลาด
สู่ตะวันตก
เปิดด่านพรมแดนเพิ่มขึ้นใหม่อีก 3 จุด คือ ที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
และกาญจนบุรี จากเดินที่มีอยู่แล้ว 3 จุด
พัฒนาประเทศและสวัสดิการต่างๆของประชาชน และการแปรรูป
รัฐวิสาหกิจ ซึ่งจะทาให้บทบาทของรัฐในอุตสาหกรรมที่สาคัญหลาย
แห่งลดลง ซึ่งรวมถึง การสื่อสาร การไฟฟ้า พลังงาน ป่าไม้
การศึกษา สาธารณสุข และการเงินการคลัง
รัฐบาลพม่าได้กาหนดเป้าหมายจะพัฒนาตลาดหุ้นให้เป็นระบบในปี
2015
                     A Publication by www.elifesara.com
พม่าหวังทวงตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวเบอร์ 1 ของโลก
พม่าพยายามที่จะกลับไปเป็นผู้ส่งออกชั้นนา
เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และเอกชนเริ่มร่างแผนฟื้นอุตสาหกรรมข้าวและทวง
ตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลกที่เคยทาได้ในทศวรรษ 1960
และหลังถูกละเลย บริหารผิดพลาดมานานปี
เป้าหมายสาคัญอันดับแรกคือ การช่วยให้ชาวนาเข้าถึงเมล็ดพันธุ์ที่มี
คุณภาพ ด้วยการส่งเสริมให้บรรษัทข้ามชาติอย่างมอนซานโต้
(Monsanto) และไพโอเนียร์ ไฮ-บรีด (Pioneer Hi-Bred) ในเครือดูปองต์
(Dupont) เข้าไปลงทุน
                                      (จากย่างกุ้ง (รอยเตอร์))
                     A Publication by www.elifesara.com
การเตรียมตัวเป็นเจ้าภาพงานสาคัญ
เป็นเจ้าภาพจัดงานซีเกมส์ปี 2556 ที่กรุงเนปิดอว์
เจ้าภาพจัดการประชุมอาเซียนประจาปีในปี 2557




                     A Publication by www.elifesara.com
รางวัลโนเบลองนางออง ซาน ซูจี
นางออง ซาน ซูจี ผู้นาพรรคฝ่ายค้านพม่า (พรรคสันนิบาต
แห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย) ผู้นาการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย
คนสาคัญของพม่า
ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobel Peace Prize
Laureate - ผู้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ)) ปี 2534 ขณะที่ถูก
กักบริเวณอยู่แต่ภายในบ้านพัก


                   A Publication by www.elifesara.com

More Related Content

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

โฉมหน้าใหม่เมียนมาร์1

  • 1. โฉมหน้าใหม่ของเมียนมาร์ โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ekkachais@hotmail.com ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า A Publication by www.elifesara.com 1
  • 3. ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (the Republic of the Union of Myanmar) เมืองหลวง กรุงเนปีดอ (Napyidaw) - เมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่า เมืองหลวงเดิม ย่างกุ้ง (ร่างกุ้ง) ภาษาราชการ ภาษาพม่า/เมียนมาร์ อัตราแลกเปลี่ยน จ๊าด (Kyat) การปกครอง: ระบบประธานาธิบดี - ประธานาธิบดี: เต็ง เส่ง ธนบัตรเงินจ๊าดของพม่า ประชากร: 53,999,804 (2555) GDP per Capita 855 (ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี) ประเทศเพื่อนบ้าน บังคลาเทศ, จีน, อินเดีย, ลาว, ไทย A Publication by www.elifesara.com
  • 4. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ทิศเหนือและตะวันออกเฉียง เหนือ ติดกับ จีน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับ ลาวและไทย ทิศตะวันตก ติดกับอินเดีย และ บังกลาเทศ ทิศใต้ ติดกับทะเลอันดามัน และอ่าวเบงกอล A Publication by www.elifesara.com
  • 5. การแบ่งเขตการปกครอง ๗ รัฐ (states) ๗ เขต (divisions) ๑. รัฐชิน (Chin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองฮะคา ๒. รัฐกะฉิ่น (Kachin) มีเมืองหลวงชือ เมืองมิตจีนา ่ ๓. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองปะอาน ๔. รัฐกะยา (Kayah) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองหลอยก่อ ๕. รัฐมอญ (Mon) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองมะละแหม่ง ๖. รัฐยะไข่ (Rakhine) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองซิตตเว ๗. รัฐฉานหรือไทใหญ่ (Shan) มีเมืองหลวงชื่อ เมืองตองยี A Publication by www.elifesara.com 5
  • 6. การแบ่งเขตการปกครอง 7 รัฐ (states) 7 เขต (divisions) ๑. เขตอิรวดี (Ayeyarwady) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะสิม ๒. เขตพะโค (Bago) มีเมืองเอกชื่อ เมืองพะโค ๓. เขตมาเกว (Magway) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมาเกว ๔. เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) มีเมืองเอกชื่อ เมืองมัณฑะเลย์ ๕. เขตสะกาย (Sagaing) มีเมืองเอกชื่อ เมืองสะกาย ๖. เขตตะนาวศรี (Tanintharyi) มีเมืองเอกชื่อ เมืองทวาย ๗. เขตย่างกุ้ง (Yangon) มีเมืองเอกชื่อ เมืองย่างกุ้ง A Publication by www.elifesara.com 6
  • 7. 7
  • 8. การพัฒนาประเทศพม่า พม่าไม่ได้ล้าหลังอย่างที่ทกคนพูด ที่ว่าเศรษฐกิจพม่าล้าหลังกว่า ุ ประเทศไทยอยู่เกือบ ๕๐ ปี ผลของการปิดประเทศ ได้ส่งผลให้การพัฒนาประเทศของพม่าต้อง หยุดชะงักลง พม่าไม่ได้ล้าหลังเรามากเช่นที่ย่างกุ้ง เราจะพบเห็นโครงสร้าง สาธารณูปโภคที่ดี ถนนหนทางที่ใช้ได้ รวมไปถึงศูนย์การค้า สมัยใหม่เริ่มผุดขึ้นมา มีสินค้า Brand names จากประเทศต่างๆ วางขายอยู่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นจากญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร์ ไทย A Publication by www.elifesara.com 8
  • 9. ความท้าทาย พม่าได้วางรากฐานสาคัญที่เป็นหัวใจในการเปิดประเทศสู่โลก ภายนอก คือ การประกาศยกเลิกอัตราแลกเปลี่ยนแบบหลายอัตรา เคยประกาศค่าเงินจ๊าดไว้ที่ 6 จ๊าด/ดอลลาร์ และเริ่มใช้อัตรา แลกเปลียนแบบลอยตัว โดยมีทางการประกาศกรอบอัตรา ่ แลกเปลี่ยนในแต่ละวัน หลังจากยกเลิกระบบดังกล่าวแล้ว พม่าได้ประกาศอัตราแลกเปลี่ยน ใหม่ไว้ประมาณ 800 จ๊าด/ดอลลาร์ (ใกล้เคียงกับราคาในตลาด มืด) A Publication by www.elifesara.com 9
  • 10. การเปิดประเทศ เศรษฐกิจพม่ากาลังโต เริ่มคึกคักมากขึน รายได้กาลังเพิ่ม ทาให้ ้ กาลังซื้อของพม่า เข้าสู่จุดที่เหมาะสม มีการลงทุนในกิจการต่างๆ รวมถึงการก่อสร้างตึกต่างๆ เพิ่มขึ้น อย่างเห็นได้ชัด พม่ามีทรัพยากรมาก อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญไม่แพ้ไทย เป็นตัวเชือมโยงระหว่าง จีน อินเดีย ไทย เป็นทางออกสู่ทะเลอันดา ่ มันให้กับจีนตะวันตกเหตุ A Publication by www.elifesara.com 10
  • 11. ปัญหาที่ท้าทายของพม่า ADB ได้รายงานปัญหาที่ท้าทายพม่าดังนี้ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ระบบการเงินของพม่าด้อยในด้านการระดมเงินทุน การเข้าถึงเงินทุน โครงสร้างพื้นฐาน การบริการทางด้านสังคมที่ยังไม่เพียงพอ ด้านการสื่อสารโทร คมนาคม และการขนส่งซึ่งอยู่ในสภาพที่ยังด้อย แม้จะเป็นประเทศที่มีแหล่งพลังงานขนาดใหญ่ พม่าเป็นหนึ่งในประเทศ ที่มีอัตราต่าสุดของอัตราการบริโภคพลังงานในอาเซียน ในพื้นที่ ห่างไกลไฟฟ้ายังสามารถจัดหาให้ได้ไม่เกินวันละสองชั่วโมง A Publication by www.elifesara.com
  • 12. ปัญหาที่ท้าทายของพม่า (ต่อ) ด้านการศึกษา การกีดกันทางการศึกษาและระบบการศึกษาที่ด้อย พม่ามีการสูญเสียคนสองรุ่นที่ได้รับการศึกษา - ผู้ที่มีอายุระหว่าง 25 – 55 ปีที่ได้รับการอบรมและการให้ความรู้ที่สั้นไม่มีประสิทธิภาพ ช่องว่างรายได้ในเมือง / ชนบท ความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน การครองชีพในย่างกุ้งและเขตเมืองอื่นๆ อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าของ ย่างกุ้งอยู่ที่ 67% คิดเป็น 4 เท่าของพื้นที่ชนบท ความยากจนในพื้นที่ ชนบทมีระดับเป็น 2 เท่าจากในเขตเมือง ในขณะที่ 3 ใน 4 ของเด็กชนบท ไม่ได้เรียนมากกว่าโรงเรียนระดับประถม เมื่อเปรียบเทียบกับเป็น 37% ในพื้นที่เมือง (จาก Bangkok Post) A Publication by www.elifesara.com
  • 13. ด้านโอกาสของพม่า มีศักยภาพสูงที่จะเป็น “แหล่งอาหาร" และ "แหล่งพลังงาน" (โดยเฉพาะน้ามันดิบและก๊าซ) สาหรับเอเชีย มีศักยภาพทางด้านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่สาหรับการลงทุน โดยตรงจากอาเซียนและโซ่อุปาทานทั่วโลก มีการพัฒนาหลายโครงการที่สาคัญ เช่น โครงการทวาย, เขื่อน อิรวดีทางตอนเหนือของพม่าและการก่อสร้างแนวท่อส่งน้ามันดิบ ในรัฐยะไข่ (Rakhine) ของพม่าไปสู่จีน สารองเงินตราต่างประเทศขนาดใหญ่ (จาก Bangkok Post)
  • 14. โอกาสและอุปสรรคของพม่า มีศักยภาพสูงที่จะเป็น "กระเช้าอาหาร" และ "แหล่งพลังงาน" (โดยเฉพาะ น้ามันดิบและก๊าซ) สาหรับเอเชีย มีศักยภาพทางด้านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่สาหรับการลงทุนโดยตรงจาก อาเซียนและโซ่อุปทานทั่วโลก มีการพัฒนาที่สาคัญอยู่ทางตอนใต้ รวมทั้งอุตสาหกรรมที่ซับซ้อน โครงการทวาย เขื่อนอิรวดีทางตอนเหนือ และการก่อสร้างแนวท่อส่ง น้ามันดิบในรัฐยะไข่ (Rakhine) ของพม่าไปสู่จีน สารองเงินตราต่างประเทศขนาดใหญ่ มีหลายเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ มีความแตกต่างกันด้านธรรมเนียมประเพณี ศาสนา วัฒนธรรม ส่วนใหญ่นับถือพุทธ ๘๕ % มีการตั้งกระทรวงศาสนา เพื่อส่งเสริมพุทธศาสนา มีการศึกษาพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง A Publication by www.elifesara.com
  • 16. การเมืองการปกครองของพม่า อังกฤษขยายอานาจโดยสยาม(ร.๓)เข้าร่วมสงคราม กับพม่าปี ๒๓๖๗ จบลงในปี ๒๓๖๙ โดยอังกฤษเป็นฝ่ายชนะ พม่าจาต้องทาสนธิสญญายันดาโบ ทาให้สูญเสียดินแดน อัสสัม ั มณีปุระ ยะไข่ และตะนาวศรี อังกฤษตักตวงทรัพยากรต่าง ๆ ของพม่า ป้อนสู่สิงคโปร์ พม่ามีความแค้นเคืองมาก กษัตริย์องค์ต่อมาได้ยกเลิก สนธิสัญญาฯ และโจมตีผลประโยชน์ของอังกฤษ ทังต่อบุคคล ้ และเรือ ทาให้เกิดสงครามกับพม่าครั้งที่สอง ชัยชนะเป็น ของอังกฤษอีก A Publication by www.elifesara.com 16
  • 17. การเมืองการปกครองของพม่า อังกฤษได้ผนวกหงสาวดีและพื้นที่ใกล้เคียงเข้าไว้โดยเรียก ดินแดนนี้ว่าพม่าตอนใต้ ก่อให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่ในพม่า ด้วยการเข้ายึดอานาจโดยพระเจ้ามินดงครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๙๖ จากพระเจ้าปะกัน (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๘๙) ซึ่งเป็น พระเชษฐาต่างพระชนนี พระเจ้ามินดงพัฒนาประเทศเพื่อต่อต้านการรุกรานของ อังกฤษ ได้สถาปนากรุงมัณฑะเลย์ ที่ยากต่อการรุกรานจาก ภายนอก ตั้งขึ้นเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ แต่ก็ยังไม่เพียง พอที่จะหยุดยั้งการรุกรานจากอังกฤษได้ A Publication by www.elifesara.com 17
  • 18. การเมืองการปกครอง พระเจ้าธีบอ มีบารมีไม่พอเกิดความวุ่นวายทั่วไปในบริเวณชายแดน จึงตัดสินใจ ยกเลิกสนธิสัญญากับอังกฤษ ที่บิดาทาไว้ และประกาศสงครามกับอังกฤษ เป็นครั้งที่สามในปี ๒๔๒๘ ผลของสงครามทาให้อังกฤษเข้าครอบครอง ดินแดนพม่าส่วนที่เหลือเอาไว้ได้ พม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ. ๒๔๒๙ (ก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒) ญี่ปุ่นมีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ติดต่อกับพวกยะขิ่นซึ่งเป็นกลุ่ม นักศึกษาหนุ่มที่มีหัวรุนแรง มีอองซาน นักชาตินิยม และเป็นผู้นาของนักศึกษาใน มหาวิทยาลัยย่างกุ้งเป็นหัวหน้า ยะขิ่นเข้าใจว่าญี่ปุ่นสนับสนุนการประกาศอิสรภาพของพม่าจากอังกฤษ แต่เมื่อ ญี่ปุ่นยึดพม่าได้กลับหน่วงเหนี่ยวมิให้พม่าเป็นเอกราช ได้ส่งอองซานและพวก ๓๐ คน ไปญี่ปุ่นเพื่อรับคาแนะนาในการเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษ A Publication by www.elifesara.com 18
  • 19. อองซานกลับพม่าก่อตั้งพรรคAFPFL :Anti-Fascist Peoples Freedom League เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามอองซานเจรจากับอังกฤษ ขออิสรภาพปกครอง ตนเองภายใต้เครือจักรภพ และมีขาหลวงใหญ่อังกฤษประจาพม่าช่วย ้ ให้คาปรึกษา แต่อองซานต้องการเอกราชอย่างสมบูรณ์ อังกฤษจึงสนันสนุนพรรค การเมืองอื่น ๆ ขึ้นแข่งกับพรรค AFPFL แต่ไม่สาเร็จ จึงยอมให้พรรค AFPFL ขึ้นบริหารประเทศโดยมีอองซานเป็นหัวหน้า อังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่พม่าแต่ยังรักษาสิทธิทางการทหารไว้ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๑ อังกฤษจึงได้มอบเอกราชให้แก่พม่าอย่าง สมบูรณ์ A Publication by www.elifesara.com 19
  • 20. หลังจากพม่าได้รับเอกราชการเมือง ภายในประเทศมีการสับสน ตลอดเวลา นายกรัฐมนตรีอูนุถูก บีบให้ลาออก เมื่อพ.ศ. ๒๕๐๑ ผู้นาพม่าคนต่อมาคือนายพลเนวิน ได้ทาการปราบจลาจลและพวก นิยมซ้ายจัดอย่างเด็ดขาด ได้จัดไห้ มีการเลือกตั้งทั่วประเทศใน พ.ศ. ๒๕๐๓ ทาให้ได้กลับมาเป็นผู้จัดตั้ง รัฐบาลใหม่ เพราะได้รับเสียงข้าง มากในสภา A Publication by www.elifesara.com 20
  • 21. ออง ซาน ซูจ? ี ลูกนายพล อองซานทีต่อสู้กับญี่ปุ่น และอังกฤษที่เข้ามายึดครองพม่า ่ ปี ๒๕๐๓ ดอว์ขิ่นจีมารดา ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งทูตพม่า ประจาอินเดีย ซูจีเข้าศึกษาที่นิวเดลี และปริญญาตรี ที่ ม.ออกซฟอร์ด จบการศึกษา มารดาหมดวาระทูตฯ แยกเดินทางไปนิวยอร์ก ทางาน คณะกรรมการที่ปรึกษา สานักงานเลขาธิการ องค์การสหประชาชาติ ปี ๒๕๑๐ แต่งงานกับ ศ.ดร.ไมเคิล อริส อาจารย์สอนที่ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด อังกฤษ(รัฐธรรมนูญล่าสุดของพม่า กาหนดให้ชาวพม่าที่แต่งงานกับคนต่างชาติไม่มีสิทธิ์ลงสมัครรับ เลือกตั้ง) A Publication by www.elifesara.com 21
  • 22. ย้ายไปอยู่กับสามีทภูฏาน เป็นนักวิจัยในกระทรวง ี่ ต่างประเทศของรัฐบาลฯ สามีทางานการแปล สอนราชวงศ์แห่งภูฏาน ต่อมากลับมาที่ลอนดอนเริ่มงานเขียน และวิจัย และแยกทางกับสามีระยะหนึ่ง เพื่อแสวงหา ความก้าวหน้าทางวิชาการ ได้รับทุนทาวิจัยจาก ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษา มหาวิทยาลัยเกียวโต ทาวิจัยเกี่ยวกับ บทบาทของนายพลอองซาน พ.ศ. ๒๕๓๐ ซูจีและไมเคิลย้ายครอบครัวกลับมา อยู่ที่ออกซฟอร์ด ได้ศึกษาต่อในอังกฤษ A Publication by www.elifesara.com 22
  • 23. ปี ๒๕๓๑ วัย ๔๓ ปี เดินทางกลับ บ้านเพื่อพยาบาลมารดาที่ป่วยหนัก และเสียชีวิตเมื่อ ๒๗ ธ.ค. ๒๕๓๑ เศรษฐกิจตกต่าประชาชนเรียกร้องประชาธิปไตย นักศึกษาประท้วงทาลายร้านค้าจนเหตุการณ์รุนแรงขึ้น เป็นครั้งแรก นายพลเนวินลาออก ซูจีเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง เรียกร้องให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อ เตรียมการเลือกตั้งทั่วไป ได้ร่วมจัดตั้งพรรคสันนิบาต 23 แห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย
  • 24. จุด​เปลี่ยน​ในพม่า พม่า​เป็นประ​เทศที่มีทรัพยากร​เป็นจานวนมาก ​เป็นที่สน​ใจของประ​เทศตะวันตกที​แสวงหา​โอกาส​เข้ามาพม่า ​เพื่อดา​เนินธุรกิจ ​ ่ จากสถาน​การณ์​การ​เมือง​ในพม่า​เปลี่ยน​ไป​เมื่อปี ๒๐๐๗ ​ผู้นาคน​เดิม คือ นาย พลตันฉ่วย ป่วยจน​ไม่สามารถบริหารประ​เทศ​ได้ ​เป็น​โอกาส​ให้ประธานาธิบดี​ เต็ง​ส่ง ขึ้นมา​เป็น​ผู้บริหารประ​เทศคน​ใหม่​แทน ​ เ การ​เปลี่ยน​แปลง​ผู้บริหารระดับสูงสุดของพม่า ​เป็นสา​เหตุสาคัญที่​ทา​ให้ ประ​ เทศตะวันตก ​ได้ยก​เลิกมาตร​การคว่าบาตรทาง​เศรษฐกิจที่มีต่อพม่ามาอย่าง ยาวนาน ประธานาธิบดีเต็ง เส่ง ปฏิรูปการเมือง ด้วยการปลดปล่อยนักโทษการเมือง ผ่อนคลายการควบคุมสื่อมวลชน เปิดทางให้นางอองซาน ซูจี เข้าสภา สหรัฐกับอียูให้รางวัลแก่พม่าด้วยการผ่อนคลายมาตรการลงโทษต่างๆ และ กาลังเตรียมให้ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาแก่พม่า A Publication by www.elifesara.com
  • 25. การปฏิรูปของพม่า 23 ก.ค. 40 พม่าเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียน 7 พ.ย. 48 พม่าย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้งไปทีเ่ มืองเนปีดอ 21 ต.ค. 53 พม่าเปลียนธงชาติ-สัญลักษณ์, ชื่อประเทศ และเพลงชาติใหม่ ่ 13 พ.ย. 53 ​การปล่อยตัวนางอองซาน ซูจี นัก​เคลื่อน​ไหวทาง​การ​เมืองคนสาคัญ 3 ธ.ค. 53 ประธานาธิบดีเต็งเส่ง แห่งพม่าลงนามรับรองกฎหมายอนุญาตให้ประชาชน ชุมนุมประท้วงอย่างสันติได้เป็นครั้งแรกของประเทศ 1 เม.ย. 55 พม่าปรับเปลียนระบบอัตราแลกเปลียนเงินจ๊าด (KYAT) จากระบบเดิมทีเ่ ป็น ่ ่ อัตราแลกเปลี่ยนสองระบบ (DUAL EXCHANGE RATE SYSTEMS) 2556 ทางการพม่าจะอนุญาตให้เปิดหนังสือพิมพ์รายวันได้ในช่วงต้นปีหน้า A Publication by www.elifesara.com
  • 26. นโยบายของ พล.อ.เต็ง เส่ง หลังเข้ารับตาแหน่ง • ช่วงปีแรกของรัฐบาลได้เน้นปฏิรูปการเมือง • ใช้นโยบายปรองดองแห่งชาติ โดยนับจาก เป็นต้นไป • รัฐกาลังปฏิรูปรอบ 2 โดยเน้นการพัฒนาประเทศและประชาชนเป็น พิเศษ • การดาเนินนโยบายปรองดองแห่งชาติ ทาให้เกิดสันติสุข ความ มั่นคง และมีการบังคับใช้กฎหมาย รวมทั้งเกิดความปลอดภัยใน ชีวิตของชาวพม่า ” A Publication by www.elifesara.com
  • 27. แผนปฏิรปเศรษฐกิจของพม่าที่สาคัญ ู โครงการพัฒนาทวายบนพื้นที่ชายฝั่งอันดามันทางภาคใต้ของพม่า ที่ ช่วยให้เพื่อนบ้านเช่นไทยใช้เป็นทางออกสู่มหาสมุทรอินเดีย และตลาด สู่ตะวันตก เปิดด่านพรมแดนเพิ่มขึ้นใหม่อีก 3 จุด คือ ที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และกาญจนบุรี จากเดินที่มีอยู่แล้ว 3 จุด พัฒนาประเทศและสวัสดิการต่างๆของประชาชน และการแปรรูป รัฐวิสาหกิจ ซึ่งจะทาให้บทบาทของรัฐในอุตสาหกรรมที่สาคัญหลาย แห่งลดลง ซึ่งรวมถึง การสื่อสาร การไฟฟ้า พลังงาน ป่าไม้ การศึกษา สาธารณสุข และการเงินการคลัง รัฐบาลพม่าได้กาหนดเป้าหมายจะพัฒนาตลาดหุ้นให้เป็นระบบในปี 2015 A Publication by www.elifesara.com
  • 28. พม่าหวังทวงตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวเบอร์ 1 ของโลก พม่าพยายามที่จะกลับไปเป็นผู้ส่งออกชั้นนา เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และเอกชนเริ่มร่างแผนฟื้นอุตสาหกรรมข้าวและทวง ตาแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลกที่เคยทาได้ในทศวรรษ 1960 และหลังถูกละเลย บริหารผิดพลาดมานานปี เป้าหมายสาคัญอันดับแรกคือ การช่วยให้ชาวนาเข้าถึงเมล็ดพันธุ์ที่มี คุณภาพ ด้วยการส่งเสริมให้บรรษัทข้ามชาติอย่างมอนซานโต้ (Monsanto) และไพโอเนียร์ ไฮ-บรีด (Pioneer Hi-Bred) ในเครือดูปองต์ (Dupont) เข้าไปลงทุน (จากย่างกุ้ง (รอยเตอร์)) A Publication by www.elifesara.com
  • 30. รางวัลโนเบลองนางออง ซาน ซูจี นางออง ซาน ซูจี ผู้นาพรรคฝ่ายค้านพม่า (พรรคสันนิบาต แห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย) ผู้นาการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย คนสาคัญของพม่า ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobel Peace Prize Laureate - ผู้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ)) ปี 2534 ขณะที่ถูก กักบริเวณอยู่แต่ภายในบ้านพัก A Publication by www.elifesara.com