SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
                               บทนำำ
1.1   ١.١ แนวคิด ที่มำ และควำมสำำคัญ
          ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามี
      บทบาทต่อการดำาเนิน
      ชีวิตของเรามากขึ้น ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลาย
      เป็นปัจจัยที่สำาคัญต่อการดำารงชีวิตในยุคติดต่อข่าวสารมีความ
      สำาคัญ คนหันมาติดต่อทางโทรศัพท์กันมากขึ้น นอกจาก
      เทคโนโลยีการสื่อสารเปรียบเสมือนกับกิริยาทีประจบประแจง
                                                     ่
      เอาอกเอาใจกัน ในหมู่ของลิงกอริลลา และมันช่วยให้คนเราได้
      ซุบซิบนินทากันอย่างสนุกสนาน นักวิชาการของศูนย์วิจัย
      ปัญหาสังคม ที่ออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ กล่าวแสดงความ
      เห็นว่า การพูดคุยกันทางโทรศัพท์มือถือของคนเรา ก็เป็น
      เหมือน กับการปรนนิบัติต่อกัน ในหมู่ฝูงลิงกอริลลาและ
      ชิมแปนซี เป็นการช่วยกระชับความสัมพันธ์ให้ แนบแน่น แก้ไข
      ความขัดแย้ง และสอนให้รู้จักการเข้าสังคมและคบหากันเป็น
      เพื่อน
              ในยุคที่มีการติดต่อสื่อสารผ่านทางเทคโนโลยี กำาลัง
      เป็นที่นยมและมีผลกระทบในทุก ๆ ด้าน ในปัจจุบัน ทำาให้ทุก
               ิ
      คน ทุกสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาให้ทันต่อการ
      เปลียนแปลงในโลกของการสื่อสาร ด้วยการแปลงข้อมูล
           ่
      ข่าวสารทีมีอยู่รอบตัวเราให้อยู่ในรูปของดิจิตอล (Digital) เช่น
                  ่
      หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือการโฆษณาตามหน้าเว็บไซต์ โดยผู้
      ใช่สามารถอ่านได้ แต่ไม่สามารถเข้าร่วมในการสร้างข้อมูลได้

          ไฮไฟฟ์ เป็นเว็บไซต์ประเภท Social Network หรืออาจ
เรียกในภาษาไทยว่า “เครือข่ายสังคม” หรือ “เครือข่ายมิตรภาพ”
หรือ “กลุ่มสังคมออนไลน์” คือบริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็นจุดโยง
ระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครือข่ายสังคมของตัวเองผ่านเน็ตเวิร์ค
อินเทอร์เน็ต รวมทั้งเชื่อมโยงบริการต่างๆ อย่าง เมล์ เมสเซ็นเจอร์
เว็บบอร์ด บล็อก ฯลฯ เข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีก็กลุ่มย่อยตาม
ความสนใจร่วมกัน เช่น กลุ่มคนขี่จักรยานเสือภูเขา กลุ่มแฟนคลับ
เดธโน้ต เป็นต้น โดยคนที่ลงทะเบียนสมัครจะกรอกข้อมูลส่วนตัว
รูปภาพ อัลบั้มรูป โดยเชื่อมเครือข่ายสังคมและเครือข่ายมิตรภาพ
เข้าด้วยกัน ด้วยการแชร์รูป แชร์ไฟล์ดูกัน[3]

            ดังนั้น ผู้จัดทำาจึงได้มีความคิดที่จะนำาเสนอเอารูปแบบ
ของเว็บไซต์ Blogger มาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่อง hi5 เพื่อศึกษา เผยแพร่ความรู้ดังกล่าวสู่ผู้สนใจต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์

      1.2.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก ด้วย Blogger เรื่อง
hi5

      1.2.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับ เรื่อง hi5

      1.2.3 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อก
      ด้วย Blogger เพื่อนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของ
      ตนเองมากกว่ายิงขึ้น่

    1.2.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อน
และผู้สนใจทัว ๆไป
            ่
1.3 ขอบเขตของโครงงำน

    1.3.1 จัดทำำโครงงำนคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก
(WebBlog) ด้วย Blogger
    เรื่อง hi5

    1.3.2.วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้
ในกำรพัฒนำ ได้แก่

      ١.٣.٢.1 เครื่องคอมพิเตอร์ พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

   ١.٣.2.2 เว็บไซต์ทให้บริการเว็บบล็อก คือ
                    ี่
www.Blogger.com
1.3.2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น
www.fagebook.com

     www.gmail.com www.google.com

    ١.٣.2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภาพ เช่น Adobe
Photoshop CS3 และ PhotoScape 2.0




1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
      1.٤.1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (webblog)
ด้วย Blogger เรื่อง Mpeg4

      1.4.2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นำามาเป็นบทเรียนในการ
สร้างเว็บบล็อก

คือ เรื่อง Mpeg4
           1.4.3 ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจาก
Blogger ได้ด้วยตนเอง และนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้
ของตนเองมากยิ่งขึ้น

           1.4.4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและ
ผู้สนใจทั่วไป เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อกได้
           ١.4.5 ได้นำาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้
อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์
บทที่ 1

More Related Content

What's hot (12)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
1บทนำคอม11
1บทนำคอม111บทนำคอม11
1บทนำคอม11
 

Viewers also liked

test
testtest
Presentazione gruppo Nettuno
Presentazione gruppo NettunoPresentazione gruppo Nettuno
Presentazione gruppo Nettuno
patriziaroma60
 
test
testtest
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...larshin
 

Viewers also liked (9)

test
testtest
test
 
Presentazione gruppo Nettuno
Presentazione gruppo NettunoPresentazione gruppo Nettuno
Presentazione gruppo Nettuno
 
56
5656
56
 
Live 10 10_2012
Live 10 10_2012Live 10 10_2012
Live 10 10_2012
 
test
testtest
test
 
556 _
556  _556  _
556 _
 
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...
Игорь Сухарев, доклад «Возможности сближения налогового и бухгалтерского учет...
 
ես շատ լավ
ես շատ լավես շատ լավ
ես շատ լավ
 
Անապատներ
ԱնապատներԱնապատներ
Անապատներ
 

Similar to บทที่ 1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1juthaporn22
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1juthaporn22
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teeraratWI
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teerarat55
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPrint25
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
2 2
2 22 2
2 2
 
2
22
2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from nongnamka

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวกnongnamka
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวกnongnamka
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมnongnamka
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nongnamka
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nongnamka
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nongnamka
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
nongnamka
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nongnamka
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวกnongnamka
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nongnamka
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nongnamka
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nongnamka
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nongnamka
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมnongnamka
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวกnongnamka
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nongnamka
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nongnamka
 

More from nongnamka (20)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ปก
ปกปก
ปก
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 บทนำำ 1.1 ١.١ แนวคิด ที่มำ และควำมสำำคัญ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามี บทบาทต่อการดำาเนิน ชีวิตของเรามากขึ้น ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลาย เป็นปัจจัยที่สำาคัญต่อการดำารงชีวิตในยุคติดต่อข่าวสารมีความ สำาคัญ คนหันมาติดต่อทางโทรศัพท์กันมากขึ้น นอกจาก เทคโนโลยีการสื่อสารเปรียบเสมือนกับกิริยาทีประจบประแจง ่ เอาอกเอาใจกัน ในหมู่ของลิงกอริลลา และมันช่วยให้คนเราได้ ซุบซิบนินทากันอย่างสนุกสนาน นักวิชาการของศูนย์วิจัย ปัญหาสังคม ที่ออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ กล่าวแสดงความ เห็นว่า การพูดคุยกันทางโทรศัพท์มือถือของคนเรา ก็เป็น เหมือน กับการปรนนิบัติต่อกัน ในหมู่ฝูงลิงกอริลลาและ ชิมแปนซี เป็นการช่วยกระชับความสัมพันธ์ให้ แนบแน่น แก้ไข ความขัดแย้ง และสอนให้รู้จักการเข้าสังคมและคบหากันเป็น เพื่อน ในยุคที่มีการติดต่อสื่อสารผ่านทางเทคโนโลยี กำาลัง เป็นที่นยมและมีผลกระทบในทุก ๆ ด้าน ในปัจจุบัน ทำาให้ทุก ิ คน ทุกสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาให้ทันต่อการ เปลียนแปลงในโลกของการสื่อสาร ด้วยการแปลงข้อมูล ่ ข่าวสารทีมีอยู่รอบตัวเราให้อยู่ในรูปของดิจิตอล (Digital) เช่น ่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือการโฆษณาตามหน้าเว็บไซต์ โดยผู้ ใช่สามารถอ่านได้ แต่ไม่สามารถเข้าร่วมในการสร้างข้อมูลได้ ไฮไฟฟ์ เป็นเว็บไซต์ประเภท Social Network หรืออาจ เรียกในภาษาไทยว่า “เครือข่ายสังคม” หรือ “เครือข่ายมิตรภาพ” หรือ “กลุ่มสังคมออนไลน์” คือบริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็นจุดโยง ระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครือข่ายสังคมของตัวเองผ่านเน็ตเวิร์ค อินเทอร์เน็ต รวมทั้งเชื่อมโยงบริการต่างๆ อย่าง เมล์ เมสเซ็นเจอร์
  • 2. เว็บบอร์ด บล็อก ฯลฯ เข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีก็กลุ่มย่อยตาม ความสนใจร่วมกัน เช่น กลุ่มคนขี่จักรยานเสือภูเขา กลุ่มแฟนคลับ เดธโน้ต เป็นต้น โดยคนที่ลงทะเบียนสมัครจะกรอกข้อมูลส่วนตัว รูปภาพ อัลบั้มรูป โดยเชื่อมเครือข่ายสังคมและเครือข่ายมิตรภาพ เข้าด้วยกัน ด้วยการแชร์รูป แชร์ไฟล์ดูกัน[3] ดังนั้น ผู้จัดทำาจึงได้มีความคิดที่จะนำาเสนอเอารูปแบบ ของเว็บไซต์ Blogger มาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ เรื่อง hi5 เพื่อศึกษา เผยแพร่ความรู้ดังกล่าวสู่ผู้สนใจต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก ด้วย Blogger เรื่อง hi5 1.2.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับ เรื่อง hi5 1.2.3 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อก ด้วย Blogger เพื่อนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของ ตนเองมากกว่ายิงขึ้น่ 1.2.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อน และผู้สนใจทัว ๆไป ่ 1.3 ขอบเขตของโครงงำน 1.3.1 จัดทำำโครงงำนคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Blogger เรื่อง hi5 1.3.2.วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ ในกำรพัฒนำ ได้แก่ ١.٣.٢.1 เครื่องคอมพิเตอร์ พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ١.٣.2.2 เว็บไซต์ทให้บริการเว็บบล็อก คือ ี่ www.Blogger.com
  • 3. 1.3.2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.fagebook.com www.gmail.com www.google.com ١.٣.2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภาพ เช่น Adobe Photoshop CS3 และ PhotoScape 2.0 1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1.٤.1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (webblog) ด้วย Blogger เรื่อง Mpeg4 1.4.2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นำามาเป็นบทเรียนในการ สร้างเว็บบล็อก คือ เรื่อง Mpeg4 1.4.3 ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจาก Blogger ได้ด้วยตนเอง และนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ ของตนเองมากยิ่งขึ้น 1.4.4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและ ผู้สนใจทั่วไป เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อกได้ ١.4.5 ได้นำาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้ อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์