SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
2
Storm surge
คือ ปรากฏการณ์คลื่นที่เกิดขึ้นพร้อมกับพายุ
หมุนโซนร้อนที่ยกระดับน้าทะเลให้สูงขึ้นกว่า
ปกติ
อันเนื่องมาจากความกดอากาศต่าที่ปกคลุม ณ บริเวณนั้น
ซึ่งเวลาที่หย่อมความกดอากาศต่าเคลื่อนตัวผ่านไปพร้อมกับ
ศูนย์กลางของพายุ ทาให้แรงกดนั้นยกระดับน้าจน
กลายเป็นโดมน้าขึ้นมา โดยเคลื่อนตัวจากทะเลซัดเข้าหา
ชายฝั่ง
ถ้าเกิด Storm Surge จะ
เป็ นยังไง
ในปี 2551 ดร.สมิทธ ธรรมสโรจน์
ได้ทานายว่า กรุงเทพมหานคร จะถ
คลื่นพายุซัดฝั่ง
กรุงเทพมหานครจะได้รับผลกระทบ คือ
- ฝั่งพระนคร ในพื้นที่เขตบางนา
บางส่วน ช่วงติด จ.สมุทรปราการ ถึง ถ.บาง
นา-ตราด อาจเกิดคลื่นสูง 0.20 – 1.00
เมตร
- ฝั่งธนบุรี แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ จาก
ชายทะเลบางขุนเทียน ถึง คลองสนามชัย ใน
พื้นที่เขตบางขุนเทียน บางส่วนของเขตทุ่งครุ
อาจเกิดคลื่นสูง 1.00 – 3.00 เมตร และ
ช่วงเหนือคลองสนามชัย ถึง ถ.พระราม 2 ใน
พื้นที่บางส่วนของเขตบางขุนเทียน ทุ่งครุ
ราษฎร์บูรณะ จอมทอง อาจเกิดคลื่นสูง
ได้ยังไง
การเกษตรจะพัง เพราะน้าทะเลหนุน
ย้อนขึ้นมาในพื้นที่น้าจืด ให้เตรียมปรับตัว
น้าท่วม แน่นอน
เตรียมหาที่จอดรถในที่สูงและเตรียมพื้นที่อพยพ
ลมพายุรุนแรงจะพัดป้ายพัง
ต้องเตรียมเช็คความแข็งแรงของป้าย
แผน
รับมือ
Storm
Surge
เมื่อครั้ง
ปี 2551
7
8
Appilcation
ควรติดตามข้อมูลข่าวสาร
จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
app ที่แนะนา
Place your screenshot here
Thaiwater.net
- เรียนรู ้วิธีใช้วิทยุสื่อสาร
- ศึกษาประวัติการเกิดน้าท่วมและ
ผลกระทบ
- มีลิสต์เบอร ์ติดต่อ คนสาคัญ
หน่วยงานให้ความช่วยเหลือ
- ติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิด
- หากมีการแจ้งให้อพยพ หรือ คุณคิดว่า
กาลังตกอยู่ในอันตราย ให้อพยพทันที
่ ่
การเตรียมพร้อมรับภัย
ปกติแล้วนักวิทยุ
สื่อสารแต่ละคนจะมี
Call sign (นามเรียก
ขาน) ของตัวเอง
เช่น E23QKA
ขอให้แต่ละ
กลุ่มสร้าง Call
sign ของ
ตัวเอง
เป็ นตัวอักษร-
ที่มาของรหัสใน Call sig
แต่ก่อนเค้าแบ่งเป็ นโซนกัน
แต่ตอนนี้ไม่ได้เรียงละ
มีวัตถุประสงค์หลักๆ เพื่อ
1. ตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์สื่อสาร และฝึกฝนผู้ทา
หน้าที่ Net Operator/Controller
2. ให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนนักวิทยุสมัครเล่น ที่กาลังต้องการ
ความช่วยเหลืออยู่
3. แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับวงการวิทยุสมัครเล่น ข่าวสารทั่วไป หรือ
การขอรับความช่วยเหลือที่ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง เช่น การขอ
บริจาคโลหิต ขอบริจาคสิ่งของเพื่อการกุศล ฯลฯ
4. เป็นจุดนัดพบสาหรับเพื่อนนักวิทยุสมัครเล่นที่ต้องการติดต่อกัน
Check
Net
A B C D E F G H
1
2
3
4
5
6
7
8
P-code (place
code)
เป็นมาตรฐานในการระบุสถานที่สาหรับ
การกระจายการสารวจและการส่งบริการ
หลักการของ P-code อยู่บนหลักการ
เดียวกับ Zip code (รหัสไปรษณีย์)
P-code เป็นระบบมาตรฐานที่ UN
(สหประชาชาติ) ใช้ระบุสถานที่ใน
ปฏิบัติการร่วมกับองค์กรต่างๆในการให้
ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม ในขั้นของ
การสารวจและให้ความช่วยเหลือให้ทั่วถึง
แบบปูพรม เพื่อให้การระบุพื้นที่
ปฏิบัติการทาได้ง่าย ไม่
สับสน
ตัวอย่าง
ของ
P-code
ตัวอย่าง Zipcode ของไทย
http://www.geonames.org/postal-codes/postal-cod
ข้อดีของ P-code สาหรับการสารวจ
พื้นที่
- แก้ปัญหาความสับสนของชื่อสถานที่
- สะดวกต่อการผนวกเข้ากับข้อมูลพิกัด
- สะดวกต่อการแชร์ข้อมูลให้หน่วยอื่นมาใช้ร่วมกัน
- ดีต่อการเก็บตก จะไม่มีพื้นที่ตกหล่น เหมือนกับถ้าระบุเป็นอาเภอ หรือ
ตาบล คนก็จะไปดูสารวจเก็บข้อมูลขอข้อมูลแต่เฉพาะที่สานักงานของสถานที่
ผลกระทบจากภัยพิบัติ
ความล่อแหลม (E) X ภัยหรือปรากฏการณ์ (H) X
ความเปราะบาง (v)
=
𝑅𝑖𝑠𝑘 = 𝐻𝑎𝑧𝑎𝑟𝑑 ∗ 𝐸𝑥𝑝𝑜𝑠𝑢𝑟𝑒 ∗ 𝑉𝑢𝑙𝑛𝑒𝑟𝑎𝑏𝑖𝑙𝑖𝑡𝑦
𝐶𝑎𝑝𝑎𝑐𝑖𝑡𝑦
ความเสี่ยง คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์อันตรายที่จะ
ก่อให้เกิดความสูญเสีย ความเสียหายที่ไม่คาดคิด(เช่น การตาย การบาดเจ็บ ทรัพย์สินเสียหาย
เศรษฐกิจชะงัก สิ่งแวดล้อมเสียหาย) อันเป็นผลที่มาจากกิจกรรมที่สัมพันธ์กันระหว่างการกระทาของมนุษย์และการ
กระทาของธรรมชาติ
ความเสี่ยง = ผลกระทบจากภัยพิบัติ / ความสา
สูตรวิเคราะห์ความเสี่ยง
จากภัยพิบัติ
ความ
เสี่ยง
(Risk)
=
ภัย(hazard) x ความเปราะบาง(v) x
ความล่อแหลม(E)ความสามารถในการ
รับมือ(capacity)
แก้วน้า วาง
อยู่ในลักษณะนี้
เรียกว่า ?
มีความเสี่ยง
วัตถุใดมีโอกาสที่จะ
เกิด
ความเสียหายมาก
ที่สุด
ก.โต๊ะ ข.แก้ว ค.พื้น
เพราะ แก้วเปราะบามีสิทธิ์ที่จะแตกเสียหายมากที่ส
อะไรจะทาให้แก้ว
ตกลงมาได้ก.แรงสั่นสะเทือน ข.ลม
ค.มีคนตบโต๊ะ ง.ถูกท
สิ่งเหล่านี้เรียกว่า ภัยเป็ นเหตุที่ทาให้สิ่งที่เปราะบางได้รับคว
ซึ่งภัยนั้นก็อาจจะทาให้
ความเปราะบางขยาย
ความรุนแรงได้ยได้ เช่น แก้วน้านั้นตกใส่ Notebook เครื่องพัง เสียตังค์งานหาย โดนไล่ออก
=ภัยx ความ
เปราะบางความสามารถใน
การรับมือ
ดินถล่ม 1 สิ่ง รถ 1 สิ่ง
= 1 x 1 = 1=Specific Riskภัยx ความล่อแหลม x ความ
เปราะบางอธิบายผลกระทบที่เกิดจากภัยและความเปราะบาง
จานวนสิ่งที่ตกอยู่ในความเสี่ยง x
ความเปราะบางxภัย
คือปริมาณหรือจานวนความสูญเสียเชิงตัวเลขที่คาดประมาณจานวนผู้บาดเจ็บ ความเสียหายต่อ
ทรัพย์สิน ที่เป็นผลมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
Total Risk= (Elements at Risk)*(Specific Risk)ดินถล่ม 1 สิ่งรถ 3 คัน
= 3x1x1 = 3
เช่นสมมุติ รถคันที่ 1 เป็น 4WD ปั่นหนีออกจากจุดถล่มได้ ก็รอด สมมุติ รถคันที่ 2 มีประกันภัย
พิบัติ รถพัง ให้คันใหม่ อันนี้
เจ้าของรอด
สมมุติ รถคันที่ 3 เป็นรถหุ้ม
เกราะ
(Elements of Capacity)
ถ้าไม่มี แค่ไม่ระบุ อย่าใส่ 0
ความเปราะบางในบริบทของสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ
ความเปราะบาง
(Vulnerability) หมายถึง
สถานการณ์ สิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยทาง
สังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ หรือ
กระบวนการที่มีความอ่อนแอ
ง่ายต่อการเกิดความเสียหาย
สามารถทาให้ชุมชนได้รับ
ผลกระทบจากภัยที่เกิดขึ้นมาก
ความล่อแหลมในบริบทของสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ
ความล่อแหลม (Vulnerability)
หมายถึง ปัจจัยทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เอื้อให้เกิดผลกระทบจาก
ภัยนั้นๆ มากยิ่งขึ้น
ชุมชนใดที่ประสบภัยและมีศักยภาพในการจัดการ
กับภัยได้ด้วยตนเอง ความเสียหายที่มีต่อชีวิตและ
ทรัพย์สินก็จะน้อยลง แต่ไม่มีศักยภาพเพียง
พอที่จะจัดการกับภัยที่เกิดขึ้น จะส่งผลให้เกิด
ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของคนใน
ชุมชน ตัวอย่างเช่น หมู่บ้านนี้ก้อนหินได้เคลื่อนตัว
มาอยู่ตรงริมภูเขาที่อยู่เหนือบริเวณที่ตั้งชุมชน ซึ่ง
ถือว่าก้อนหินคือ “ภัย” และหากมีการตั้ง
บ้านเรือนอยู่บริเวณเชิงเขา หมู่บ้านเหล่านี้ถือว่ามี
“ความล่อแหลม” ที่จะถูกก้อนหินหล่นลงมาทับ
ซึ่งหากชุมชนไม่มี “ศักยภาพหรือความสามารถใน
การจัดการ” กับก้อนหินที่มีโอกาสหล่นลงมา ก็จะ
ส่งผลให้เกิด “ความเสี่ยง” ที่จะเกิด “ภัยพิบัติ”
ความสามารถในการรับมือEnvironmental Disasters and Management
ขีด
ความสามารถ
(Capacity) หมายถึง
กาลัง ทักษะเฉพาะทาง
หรือทรัพยากร ที่ชุมชน
องค์กรในพื้นที่ประสบภัย
สามารถเอามาใช้ตอบโต้
ให้ภัยพิบัติลดความรุนแรง
ข้อมูลเชิงลึกในแต่ละด้านของความเสี่ยงจากภัย
พิบัติของประเทศไทย
ที่มา : http://www.inform-index.org/Countries/Country-Profile-Map
การบริหารความสมดุลของแรงทั้งสองด้าน
ในการรับมือภัยพิบัติ
Risk = Hazard&Exposure1/3 × Vulnerability1/3 x Lack of coping capacity1/3
LACK OF
COPING CAPACITY
EXPOSURE
HAZARD
VULNERABILITY
Socio-economic
อะไรเป็ นภัยที่ปรากฏใ
ภาพนี้
คานวณความเสี่ยงใน
ภาพนี้ดิ๊
อะไรคือความ(สิ่งที่อาจเกิดความเสียหาย)
นศ. 7 คน x น้า
ท่วม
รองเท้าจะเน่า
ถุงเท้าจะ
เปียก
อะไรเป็ นความล่อแหลม
ในภาพนี้
ตัวแปร
รายละเอียด /
แต้ม
ความสามารถ
ในการรับมือที่
ขาดไป
ภัย น้าท่วม 1
ความ
ล่อแหลม
ความ
เปราะบาง
นักศึกษาA 1
นักศึกษาB 1
นักศึกษาC 1
นักศึกษาD 1
นักศึกษาE 1
นักศึกษาF 1
นักศึกษาG 1
ไฟรั่ว 1
รั้วบาด หรือ รั้วล้ม 1
เนื่องจากทั้ง 7 คน มีวิชาตัวเบา สามารถไต่
-
-
-
-
-
-
-
ขาดการระบายน้า
ขาดการเช็คระบบไฟ
ขาดออกแบบมาเพื่อ
รับมือกับน้าท่วม
Risk = Hazard&Exposure1/3 × Vulnerability1/3 x Lack of coping capacity1/3
Risk = 31/3 x 71/3 x
31/3
= 1.44 x 1.91 x
1.44
= 3.96
ข้อมูลเชิงลึกในแต่ละด้านของความเสี่ยงจากภัย
พิบัติของประเทศไทย
ที่มา : http://www.inform-index.org/Countries/Country-Profile-Map
C2
C3B3
C4B4
B5
เพื่อกระจายการ
สารวจให้ทั่วถึง
ขอตี Grid กระจายพื้นที่สารวจ
ความเปราะบาง ภัย(ระดับความสูง
ของน้า) และความสามารถในการ
รับมือ ภายในมหาวิทยาลัย
C5
B6 C6
D2
D3 E3
E4D4
D5 E5
E6D6
C7 D7 E7
D8
F4
F5 G5
F6
F7
G6
H5
H6
แบ่งพื้นที่กันไป
สารวจประเมินความ
เสี่ยงใน ม. จาก
Storm Surge เพื่อ
เตรียมพร้อมสาหรับ
จงแบ่งบทบาท
สมาชิกใน
หน่วย
ดูภาพรวมของการ
ดาเนินงาน – ตัดสินใจ ผลิต
และเสนอนโยบายของการ
จัดการ
ทาหน้าที่ ดูแลเครื่องมือสื่อสาร ใช้
เครื่องมือสื่อสาร รับผิดขอบการแจ้งความ
ต้องการของตัวเองไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หรือประสานขอข้อมูลที่ต้องการไปยังหน่วยอื่น
ทาหน้าที่ ค้นหาข้อมูลที่
จาเป็นต่อการประมวลผล
จัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต่อ
การดาเนินงาน
ทาหน้าที่ บันทึก
ข้อมูลร่วมกับฝ่ายสารวจ
ขณะลงพื้นที่ และประมวล
ข้อมูล
ทาหน้าที่ ลงพื้นที่
สารวจ ศึกษาสภาพพื้นที่
เก็บรายละเอียดข้อมูลใน
พื้นที่
หัวหน้
า
หน่วย
ฝ่ าย
สื่อสา
ร
ฝ่ าย
ประม
วล
ข้อมูล
ฝ่ าย
สารว
จ
ฝ่ าย
สนับส
นุน
แต่ละตาแหน่ง
อัตรากาลัง
มากกว่า 1 คนได้
การรู้คิด
(cognition)
การควบคุม
(control)
การสื่อสาร
(communication)
การประสาน
(coordinatio
n)
(Comfort,2007)
ต้องรู้ว่ากลไกของ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคือ
อะไร แล้วเราต้องทา
ตัวอย่างไรถึงจะปลอดภัย
- ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้ว่า
จะต้องจัดการตัวเองยังไง
- ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า จะต้อง
จัดการอะไรร่วมกันอย่างไรบ้าง
ต้องประสานงานกัน
รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใคร
ร่วมกันทาให้สิ่งที่ต้องจัดการ
ร่วมกัน
การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือ
จัดการให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อย
ที่สุด
โดยการลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุหรือลดสิ่งที่
จะได้รับผลกระทบให้พร้อมที่จะเผชิญเหตุ
ฉะนั้นในเบื้องต้นข้อมูลที่ควรจะ
สารวจควรจะประกอบด้วย
×ข้อมูลภัย
คุกคาม
(hazard)
- เส้นทางที่น้าจะเข้ามา
- ระดับของน้าที่จะเอ่อขึ้น
- ความรุนแรงของลม
- ระยะเวลาของภัย
คุกคามที่เกิด เกิดในช่วง
เวลาใด กินเวลายาวนาน
แค่ไหน
- ภัยต่อเนื่องที่อาจเกิดขึ้น
×ข้อมูลความ
เปราะบาง
(vulnerability
)
- สิ่งของ, ระบบ หรือ
ทรัพยากร ที่จะได้รับความ
เสียหาย หรือทาให้เกิดภัย
ต่อเนื่องขึ้นตามมา
- คนที่จะได้รับผลกระทบ
มีจานวนเท่าไร ได้รับผล
อย่างไรบ้าง
×ข้อมูล
ความสามารถใน
การรับมือ
(capacity)
การรับมือที่ใช้
โครงสร้าง
- การสร้างสิ่งก่อสร้างเพื่อ
ป้องกันตัวอาคารและทรัพย์สิน
- การเคลื่อนย้าย คน ทรัพย์สิน
เครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องไปเตรียมไว้
เช่น การวางแผนสิ่งที่ต้องทาก่อนเกิดภัย
สิ่งที่ต้องทาให้ 24 ชั่วโมงแรก การให้
ข้อมูลประชาสัมพันธ์ การแถลงการณ์ใน
แต่ละช่วง การประกาศหยุดงาน ประกาศ
ให้คนไปรวมกันในที่ปลอดภัย ประกาศ
จัดตั้งศูนย์พักพิง คาสั่งต่อหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องให้มีการดาเนินงานต่างๆ
โจทย์จงสารวจประเมินความ
เสี่ยงภายในมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
จาก Storm Surge เพื่อ
เตรียมพร้อมสาหรับภาวะ
ฉุกเฉินใน 24 ชั่วโมงแรก
กิจกรรมวันนี้ (ให้เวลา 45 นาที)
ให้เราประเมินความเสี่ยงจาก Storm Surge ที่อาจจะเข้ากรุงเทพ
โดยพายุที่กาลังขึ้นอ่าวไทยทางปากอ่าวบางขุนเทียน มีความเร็วลม 155
km/h
http://www.hep.caltech.edu/~piti/bkk_height/
ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลของ กทม.
จงสารวจประเมินความ
เสี่ยงภายในมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรีจาก Storm Surge
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับ
ภาวะฉุกเฉินใน 24 ชั่วโมงวันนั้น ม.ประกาศปิ ดเรียน ไม่มีนักศึกษามา
แต่เจ้าหน้าที่ยังต้องมา
ภ า ร กิจ ข อ ง ที ม
สารวจ
- จงค้นหาระดับอ้างอิงของ
ค ว า ม สู ง จ า ก น้ า ท ะ เ ล
(meters sea level) ของแต่
ละอาคาร
-แล้วประเมินความสูงของ
น้าท่วมในแต่ละโซน
-แล้ววิเคราะห์ความเสี่ยง
จากภัยพิบัติโดยพิจารณความ
เปราะบาง (สิ่งที่จะเสียหาย) ความล่อแหลม (สิ่งที่จะ
ก่อให้เกิดภัยตามมา) และ ความพร้อมในการรับมือกับ
จงรายงานผลมาทาง
วิทยุสื่อสารหากหาไม่พบ ขอให้ใช้วิทยุสื่อสารถามพื้นที่ข้างเคียง
ว่าอาคารที่ใกล้ที่สุดที่มีระดับอ้างอิงอยู่ที่ไหน สูงประมาณเท่าไรเมื่อเทียบกับ
ประมวลผล• แต่ละ GRID มีความเสี่ยงเป็ นเท่าไร
• GRID ที่มีความเสี่ยงมากที่สุดคือที่
ไหน ?
• แนวทางในการลดความเสี่ยงของแต่ละคณะ
เป็ นอย่างไร
ขอให้ท่านประมวลนโยบาย
ในการเตรียมพร้อมรับมือกับ Storm Surge
แก่ท่านอธิการบดีของ มจธ.
C2
C3B3
C4B4
B5
เพื่อกระจายการ
สารวจให้ทั่วถึง
ขอตี Grid กระจายพื้นที่สารวจ
ความเปราะบาง ภัย(ระดับความสูง
ของน้า) และความสามารถในการ
รับมือ ภายในมหาวิทยาลัย
C5
B6 C6
D2
D3 E3
E4D4
D5 E5
E6D6
C7 D7 E7
D8
F4
F5 G5
F6
F7
G6
H5
H6
แบ่งพื้นที่กันไป
สารวจประเมินความ
เสี่ยงใน ม. จาก
Storm Surge เพื่อ
เตรียมพร้อมสาหรับ
โซน A โซน
B
โซน
C
ตัวแปร
รายละเอียด /
แต้ม
ความสามารถ
ในการรับมือที่
ขาดไป
ภัย
ความ
ล่อแหลม
ความเปราะบาง
แบบฟอร ์มเก็บข้อมูลของท
-จงรายงานสิ่งที่พบแก่ทีมข้อ
ซึ่งอยู่ที่ศูนย์สั่งการให้บันทึกและประมวลผล
- ทีมสารวจควรเริ่มจากวิเคราะห์ว่า ณ พื้นที่นั้น
มี ภัย, ความล่อแหลม, ความเปราะบาง กี่สิ่ง
- ตามด้วยประเมินว่า สิ่งนั้น มีการเตรียมพร้อมรับมือ
ไว้ในพื้นที่แล้วหรือไม่ อย่างไร ถ้ามีแล้วให้บันทึกไว้
ถ้าไม่มี จงให้แต้มและระบุว่าขาดอย่างไร
สูตรวิเคราะห์ความเสี่ยง
จากภัยพิบัติ
ความ
เสี่ยง
(Risk)
=
ภัย(hazard) x ความเปราะบาง(v) x
ความล่อแหลม(E)ความสามารถในการ
รับมือ(capacity)
ความเปราะบาง Post
–it
สีชมพูอ่อน
ความสามารถในการรับมือ
Post –it สีเขียว
ภัย Post-it สี
ชมพูเข้ม
ความล่อแหลม Post
–it สีส้ม
วิธีวิเคราะห์ข้อมูลของทีม
ประมวลผล
การประเมินความเสี่ยง
มันไม่ได้ยาก
มันยากตรงการ
ประสานงาน
ภายใต้ assumption ที่กาหนดให้
ว่าเรามีความสามารถ ด้าน
ทรัพยากรและนโยบายเต็มที่เราคิดว่า ในความเป็ น
จริง
ความเสี่ยงน่าจะสูงหรือ
ต่ากว่านี้
เฉลยแผนรับมือน้า
ท่วมของ มจธ.
น้าจะมาจากถนน ถ้าน้าบนถนนสูง 30 cm. น้า
ถ้าน้าสูงกว่า 60 cm. (ประกาศเป็น
ภัยระดับสีแดง) อพยพคนทั้งหมด และ
ตัดไฟฟ้าทั้งหมด ขอความช่วยเหลือ
จากภายนอก เพราะ เอาไม่อยู่ !
ไม่เปิ ดศูนย์พักพิง !
LAB ใคร LAB มัน
หาแบทสารองเลี้ยงกันเอาเอง
ในภาวะวิกฤติ ม.จะประกาศ ให้อพยพ
คนออก ตั้งแต่น้าสูง 60 cm. (ภัย
ระดับสีส้ม) ตัดไฟฟ้าของงานซ่อมบารุง
และงานสถานที่ ใน Level นี้ม. ยัง
เอาอยู่
http://www2.kmutt.ac.th/news/getfile.aspx?f=u63n65p5nh.pdf
แผนรับมือน้าท่วม มจธ.
เฉลยแผนรับมือน้า
ท่วมของ มจธ.
http://www2.kmutt.ac.th/news/getfile.aspx?f=u63n65p5nh.pdfน้าจะมาจากถนน ถ้าน้าบนถนนสูง 30 cm. น้า
ถ้าน้าท่วมที่ความฉุกเฉินระดับสีเหลือง
น้าห่างจากขอบบนของกาแพงน้อยกว่า
30 cm. ให้นักศึกษาและบุคลากร
อพยพไปจุดปลอดภัย คือ ลาน
อเนกประสงค์ชั้น 2 ตึกแดง และชั้น 2
CB 3, CB4 ,CB5 ส่วน
บุคคลภายนอก ให้นอนโรงยิมตัดไฟตึกชั้นใต้ดินทุกอาคาร ตัดไฟนอกอาคาร
ทั้งหมด ตัดไฟหม้อแปลงอาคารศิลปศาสตร์,
CB3,4,5, วิศวเคมี, ตึกแดงส่วนอาคาร 8
ชั้น หอชาย,หอหญิง
ตึกแดงชั้น 2
กตั้งเป็ น ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือฉุกเฉิน
ตึกแดงชั้น 2
กตั้งเป็ น ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือฉุกเฉิน
ดูปั๊มให้พร้อม และสร้างคัน
ทรายป้องกันน้าท่วม ที่ประตู
และอาคารจอดรถใต้ดิน
แผนรับมือน้าท่วม มจธ.
URL: goo.gl/VG1kwk
อย่าลืมทาใบงาน
งานชิ้นนี้มีคะแนน 4 คะแนน
ให้เวลาส่งถึงก่อนเที่ยงคืน (24.00 น.)
ถ้านอนเร็ว ส่งตั้งแต่หกโมงเย็นก็ได้จ้ะ
ขอให้แต่ละกลุ่ม
สรุปบทเรียนจาก
กิจกรรม
สารวจ-ประเมินความ
เสี่ยงของ มจธ. จาก
Storm surge ใน
THE END
การสะท้อนบทเรียน
การควบคุม
(control)
ทุกโซนเสนอให้ตัดไฟกันหมด
แต่ระบบไฟสารอง หรือ เครื่องปั่น
ไฟอยู่ไหนล่ะ
ต่างหน่วย ต่างแยกกันปกป้ องพื้นที่
ของตัวเอง
แต่ไม่มีใครมองหาวิธีป้ องกันน้าจาก
ด้านนอกร่วมกันเลย
ไม่มีใครประเมินทิศทางน้า
เลย
ว่าถ้าน้าจะเข้า ม. มันจะ
เข้าทิศทางไหน แล้วจะต้อง
ป้ องกันหรือสูบออกทางไหน
เฉลย แผนรับมือน้าท่วม ของ ม.
http://www2.kmutt.ac.th/news/newsdetail.aspx?ref=201101001492
ไม่มีใครมีเวลา
ค้นหาแผนน้าท่วม
ม. ตัวจริง
มาประกอบการ
ตัดสินใจ
ส่วนใหญ่โฟกัส
ที่สิ่งของ
ยังไม่ค่อยเห็น
การโฟกัสที่การ
จัดการคนเลย
ข้อมูล :
มีเอกภาพ
การ
ดาเนินการ :
มีการทางาน
ร่วมกัน
โครงสร้างการ
บัญชาการเดี่ยว
(Single Command
Structure)
คือระบบที่แม้ว่า
ผู้ใต้บังคับบัญชา
จะมาจากหลากหลาย
หน่วย
แต่ผู้ใต้บังคับบัญชา
เหล่านั้นจะต้องรักษาไว้
ซึ่งเอกภาพใน
การบังคับบัญชา (Unity of
Command) โดยจะต้องรับ
มอบหน้าที่ความ
ขอให้มีการแต่งตั้งผู้
บัญชาการเหตุ 1 ท่าน
เพื่อรวบรวม ประมวลข้อมูล
ระยะ ช่วงเวลา เป้ าหมายของการประเมินข้อมูล
ระยะที่ 1
ช่วงเวลา 4-8 ชั่วโมงแรก
หลังจากเกิดภัย
ต้องมีการระบุข้อมูลขอบเขตของภัยพิบัติที่สร้างความ
เสียหายแก่พื้นที่ประสบภัย และความช่วยเหลือที่คนภายนอกพื้นที่ทาได้
ระยะที่ 2
ช่วง 7 วันหลังภาวะฉุกเฉิน
กระทั่งชุมชนได้รับความ
ต้องการขั้นพื้นฐาน
ได้ข้อมูลความเสียหายทั้งหมดประกอบด้วย ระดับ
ความรุนแรงและตาแหน่งที่เกิดเหตุ เพื่อประมวลกระบวนการประเมิน
ความต้องการและการจัดสรรทรัพยากรไปยังจุดเกิดเหตุ
ระยะที่ 3
ช่วง 21 วันหลังจากเกิดเหตุ
ซึ่งเป็นช่วงฟื้นฟูชุมชนหลัง
ภาวะฉุกเฉิน ไปจนถึงช่วง
พัฒนากิจกรรมเตรียมพร้อม
ป้องกันภัย
เพื่อจัดสรรข้อมูลในการบริการและการฟื้นฟู
เชิงโครงสร้างแก่พื้นที่ประสบภัยไปพร้อมกับการป้องกันภัย ใน
ลักษณะ build back better
ชนิดของรายงานการประเมินข้อมูลแต่ละระยะ
ระยะ เวลา ความต้องการทั่วไป
เร่งด่วน 24 ชั่วโมงแรก
 การค้นหาและกู้ภัย - การอพยพ / การจัดสรรที่พักอาศัยชั่วคราว
 อาหาร / น้า - ระบบข้อมูล / ระบบประชาสัมพันธ์
ระยะสั้น 7 วันแรก
 ความปลอดภัย - พลังงาน (เชื้อเพลิง ความร้อน แสงสว่าง)
 สุขอนามัย - การจัดการศพ ผู้เสียชีวิต ข้อมูลผู้สูญหาย
ระยะ
กลาง
1 เดือนแรก
การปกป้องผู้ประสบภัยทั้งทางกายภาพและทางกฎหมาย - การหารายได้ – การจ้างงาน –
อาชีพ
ระบบขนส่งสาธารณะ (โครงข่ายการขนส่งทางบก ทางน้า ทางอากาศ)
ระบบสื่อสารสาธารณะ (ระบบสายส่งและระบบไร้สาย)
การฟื้นคืนโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพของสิ่งก่อสร้าง
ระยะยาว 3 เดือนแรก การศึกษา / เกษตรกรรม / สิ่งแวดล้อม
สรุปผล
- การชดเชย / เยียวยา / การซ่อมสร้าง - การฟื้นฟูความเสียหายให้กลับมาดังเดิม (rehabilitation)
- การเตรียมพร้อมป้องกันภัย (Prevention and Preparedness)
ความต้องการโดยทั่วไปในแต่ละระยะ (MPHR3, 2007)
วงจรการจัดการสาธารณภัยสู่การสร้างใหม่ให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (แผนชาติฯ ปภ., 2558)
วัฏจักร
การ
จัดการภัย
 ร่วมกันสารวจพื้นที่เสี่ยงภัย หารือกับองค์กรในพื้นที่ ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้นา
ท้องถิ่นที่มีความคุ้นเคยในพื้นที่หรือเพื่อนบ้านพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ
เช่น ระยะห่างจากแม่น้า พนัง แนวชายฝั่ง คันดิน กั้นคลองหรือลาห้วย และ
โครงสร้างพื้นฐานในเขตเมือง
 ระบุที่ตั้งสิ่งที่จะก่อให้เกิดภัยที่ตามมาหรือกิจกรรมที่อาจทาให้เกิดวัตถุมีพิษหรือ
ปล่อยสารพิษและความเสี่ยงที่จะปนเปื้อนระหว่างน้าท่วม
 หารือกันถึงแนวทางในการปกป้องพื้นที่หรือการสร้างนโยบายให้คนในพื้นที่
ได้รับความเสียหายน้อยที่สุด
 แบ่งหน้าที่กัน ในปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในภาวะฉุกเฉิน เช่น
การตั้งศูนย์พักพิง การจัดการอาหาร พลังงานสารอง
 ตรวจสอบการบาดเจ็บ ความเสียหาย และความต้องการที่เกิดขึ้นระหว่างเกิด
ภัย
การประสานงานเพื่อเตรียมพร้อมรับภัย
การควบคุมผลกระทบจากภัย
 ซื้อประกันภัย / เตรียมสิ่งจาเป็น เช่น ยา อาหาร น้า ของใช้ เสื้อผ้า พลังงานสารอง ฯลฯ
 กาจัดสิ่งปฏิกูลของทางน้า ท่อระบายน้า และร่องน้า หากมีการเปลี่ยนแปลงเส้นทางน้าหรือลา
ห้วย ต้องแน่ใจว่าศักยภาพในการ รองรับน้าจะไม่ลดลง
 หากอาศัยอยู่ในพื้นที่น้าท่วมถึง ต้องสร้างฐานของบ้านให้เหมาะสมและยกระดับบ้านให้สูงขึ้น
สร้างบ่อน้าและห้องส้วมในพื้นที่ปลอดภัย ซึ่งควรอยู่สูงจากระดับน้าท่วมถึง แนะนาให้ติดตั้งข้อ
(วาล์ว) เปิด-ปิด ในปั้มน้าเพื่อป้องกันน้าที่ท่วมเข้าไปในปั้มน้าและระบายน้าออกจากปั้มน้าได้
 สร้างคันกันน้า หรือ กาแพงกันน้าท่วมเพื่อป้องกันน้าไหลเข้าบ้าน โดยคานึงถึงผลกระทบต่อพื้นที่
รอบข้าง ภายใต้การให้คาปรึกษาของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
 ระบุวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันน้าท่วมไหลเข้าบ้าน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของการก่อสร้างบ้านและ
ที่ตั้งของบ้าน หากเป็นไปได้ ให้สร้างสิ่งกีดขวางหน้าประตูบ้านและช่องระบายเพื่อระบายน้าออก
 ต้องมั่นใจว่ามีวัสดุและเวลาเพียงพอที่จะจัดการแก้ปัญหาน้าท่วมบ้านการแก้ปัญหาด้วยสิ่งกีด
ขวางชั่วคราว เช่น กระสอบทราย ผ้ายางชนิดหนาใช้รองเป็นทางระบายน้าออกจากอาคาร
 หากคุณมีแผนที่จะสร้างสิ่งกีดขวางในช่วงน้าท่วม ให้ตัดสินใจล่วงหน้าหากต้องอยู่ตามลาพังเพื่อสู้
กับน้าท่วมและต้องเอาชีวิตให้รอดก่อน หากเกิดน้าท่วม ต้องรู้ว่าจะต้องออกจากพื้นที่น้าท่วม
อย่างไร
นโยบาย
โครงสร้างการบริหาร
ระหว่า
งเกิด
เหตุ
ระยะ
ฟื้นฟู
ระยะเตรียม
พร้อมรับภัย
ระยะฉุกเฉิน
24-48 ชั่วโมงหลัง
เกิดเหตุ
ระหว่าง
เกิด
เหตุ
ระยะฉุกเฉิน
24-48 ชั่วโมง
หลังเกิดเหตุ
ระยะ
ฟื้นฟู
ระยะเตรียม
พร้อมรับภัย
ความถี่/โอกาสที่จะ
เกิด
ระดับความรุนแรงของผลกระทบ
ไม่น่าที่จะเกิดขึ้น
(1)
มีโอกาสสูงมาก
(5)
เป็นไปได้มาก
(4)
น่าจะเป็นไปได้
(3)
โอกาสค่อนข้างน้อย
(2)
ละเลยได้ (1) กระทบเล็กน้อย
(2)
กระทบปานกลาง
(3)
กระทบมาก (4) ร้ายแรง (5)
ตารางประเมินความเสี่ยง (Risk
Impact Grid)
4
ถ่ายโอนความเสี่ยง
1
ยอมรับความเสี่ยง
2
3
ลดความเสี่ยง
ลด/หลีกเลี่ยงความเสี่ยง
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
พิจารณาการจัดการความ
เสี่ยง / การควบคุมที่มีและ
ประเมินระดับของความเสี่ยง
ที่เหลืออยู่ จัดลาดับความ
เสี่ยงเพื่อระบุลาดับ
ความสาคัญในการจัดการ
ติดตามและสอบ
ทาน
ผลการบริหาร
ความเสี่ยงและการ
เปลี่ยนแปลง
ที่อาจมีผลกระทบ
ศึกษาวัตถุประสงค์ของ
การทางาน เช่น เราจะรับมือ
กับการความแปรปรวนทาง
เศรษฐกิจที่อาจส่งผลต่อการ
สมัครเข้าทางานในอนาคต
อย่างไร หรือ มีผลต่อการ
ดารงชีวิตอย่างไร ฯลฯ
บ่งชี้เหตุการณ์ที่
อาจมีผลต่อ
วัตถุประสงค์
กระบวนการ
ต่อเนื่อง
ศึกษา
วัตถุประสงค์
ระบุ
ความเสี่ยง
ประเมิน
ความเสี่ยง
จัดการ
ความ
เสี่ยง
ติดตามผล
พิจารณาทางเลือก
ที่จะนาไปปฏิบัติ
เพื่อควบคุมความเสี่ยง
และกาหนดเป็ น
แผนบริหาร/จัดการ
ความเสี่ยง
(Comfort,2007)
การรู้คิด
(cognition)
ต้องรู้ว่ากลไกของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคืออะไร ภัย
ความเสี่ยง แล้วและสิ่งที่ต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยคือ
อะไร
บางคนยังสังเกตไม่เห็นความเปราะบาง
บางคนยังแยกระหว่างภัยกับความเปราะบางไม่ได้
บางคนยังไม่ทราบถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น
การสื่อสาร
(communication)
การประสาน
(coordinatio
n)
การควบคุม
(control)
- ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้
ว่าจะต้องจัดการตัวเองยังไง
- ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า
จะต้องจัดการอะไรร่วมกันอย่างไร
บ้าง
- ไม่สามารถแปลผลจากข้อมูลที่
รับมาได้ว่าควรจะต้องทาอะไร
- ไม่สามารถใช้เครื่องมือสื่อสาร
ได้
- ไม่กล้าสื่อสาร
- สื่อสารไม่เป็น
ต้องประสานงานกัน
รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใครร่วมกัน
ทาให้สิ่งที่ต้องจัดการร่วมกัน
- ขาดผู้นา ขาดคนกลางระหว่างกลุ่ม
- ขาดข้อตกลงระหว่างกลุ่มในการจัดการข้อมูล
(ปกติเค้าจะทาข้อตกลงกันล่วงหน้าก่อนเกิด
เหตุ)
การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือจัดการ
ให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อยที่สุด
- ไม่เกิดข้อมูลการประเมินความเสี่ยง
- ไม่เกิดข้อมูลการคาดการณ์ภัยที่จะเกิดขึ้น
เช่น ทิศทางน้า ระดับน้า ความเร็วลม ความเสียหายที่จะตามมา
- ไม่เกิดนโยบายที่มองภาพรวมทั่วทั้งพื้นที่ในการรับมือกับภัยพิบัติ
เช่น การทาแนวป้องกันน้าเข้าจากด้านนนอก ปกป้องอาคารด้วยการสูบน้าออกจากด้านใน

More Related Content

More from freelance

Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2freelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่freelance
 

More from freelance (20)

Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 

Week 3 meteorological hazard and risk assessment

  • 1.
  • 2. 2
  • 3. Storm surge คือ ปรากฏการณ์คลื่นที่เกิดขึ้นพร้อมกับพายุ หมุนโซนร้อนที่ยกระดับน้าทะเลให้สูงขึ้นกว่า ปกติ อันเนื่องมาจากความกดอากาศต่าที่ปกคลุม ณ บริเวณนั้น ซึ่งเวลาที่หย่อมความกดอากาศต่าเคลื่อนตัวผ่านไปพร้อมกับ ศูนย์กลางของพายุ ทาให้แรงกดนั้นยกระดับน้าจน กลายเป็นโดมน้าขึ้นมา โดยเคลื่อนตัวจากทะเลซัดเข้าหา ชายฝั่ง
  • 4. ถ้าเกิด Storm Surge จะ เป็ นยังไง ในปี 2551 ดร.สมิทธ ธรรมสโรจน์ ได้ทานายว่า กรุงเทพมหานคร จะถ คลื่นพายุซัดฝั่ง กรุงเทพมหานครจะได้รับผลกระทบ คือ - ฝั่งพระนคร ในพื้นที่เขตบางนา บางส่วน ช่วงติด จ.สมุทรปราการ ถึง ถ.บาง นา-ตราด อาจเกิดคลื่นสูง 0.20 – 1.00 เมตร - ฝั่งธนบุรี แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ จาก ชายทะเลบางขุนเทียน ถึง คลองสนามชัย ใน พื้นที่เขตบางขุนเทียน บางส่วนของเขตทุ่งครุ อาจเกิดคลื่นสูง 1.00 – 3.00 เมตร และ ช่วงเหนือคลองสนามชัย ถึง ถ.พระราม 2 ใน พื้นที่บางส่วนของเขตบางขุนเทียน ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ จอมทอง อาจเกิดคลื่นสูง
  • 5. ได้ยังไง การเกษตรจะพัง เพราะน้าทะเลหนุน ย้อนขึ้นมาในพื้นที่น้าจืด ให้เตรียมปรับตัว น้าท่วม แน่นอน เตรียมหาที่จอดรถในที่สูงและเตรียมพื้นที่อพยพ ลมพายุรุนแรงจะพัดป้ายพัง ต้องเตรียมเช็คความแข็งแรงของป้าย
  • 7. 7
  • 9. - เรียนรู ้วิธีใช้วิทยุสื่อสาร - ศึกษาประวัติการเกิดน้าท่วมและ ผลกระทบ - มีลิสต์เบอร ์ติดต่อ คนสาคัญ หน่วยงานให้ความช่วยเหลือ - ติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิด - หากมีการแจ้งให้อพยพ หรือ คุณคิดว่า กาลังตกอยู่ในอันตราย ให้อพยพทันที ่ ่ การเตรียมพร้อมรับภัย
  • 10. ปกติแล้วนักวิทยุ สื่อสารแต่ละคนจะมี Call sign (นามเรียก ขาน) ของตัวเอง เช่น E23QKA ขอให้แต่ละ กลุ่มสร้าง Call sign ของ ตัวเอง เป็ นตัวอักษร- ที่มาของรหัสใน Call sig แต่ก่อนเค้าแบ่งเป็ นโซนกัน แต่ตอนนี้ไม่ได้เรียงละ มีวัตถุประสงค์หลักๆ เพื่อ 1. ตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์สื่อสาร และฝึกฝนผู้ทา หน้าที่ Net Operator/Controller 2. ให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนนักวิทยุสมัครเล่น ที่กาลังต้องการ ความช่วยเหลืออยู่ 3. แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับวงการวิทยุสมัครเล่น ข่าวสารทั่วไป หรือ การขอรับความช่วยเหลือที่ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง เช่น การขอ บริจาคโลหิต ขอบริจาคสิ่งของเพื่อการกุศล ฯลฯ 4. เป็นจุดนัดพบสาหรับเพื่อนนักวิทยุสมัครเล่นที่ต้องการติดต่อกัน Check Net
  • 11. A B C D E F G H 1 2 3 4 5 6 7 8 P-code (place code) เป็นมาตรฐานในการระบุสถานที่สาหรับ การกระจายการสารวจและการส่งบริการ หลักการของ P-code อยู่บนหลักการ เดียวกับ Zip code (รหัสไปรษณีย์) P-code เป็นระบบมาตรฐานที่ UN (สหประชาชาติ) ใช้ระบุสถานที่ใน ปฏิบัติการร่วมกับองค์กรต่างๆในการให้ ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม ในขั้นของ การสารวจและให้ความช่วยเหลือให้ทั่วถึง แบบปูพรม เพื่อให้การระบุพื้นที่ ปฏิบัติการทาได้ง่าย ไม่ สับสน ตัวอย่าง ของ P-code ตัวอย่าง Zipcode ของไทย http://www.geonames.org/postal-codes/postal-cod ข้อดีของ P-code สาหรับการสารวจ พื้นที่ - แก้ปัญหาความสับสนของชื่อสถานที่ - สะดวกต่อการผนวกเข้ากับข้อมูลพิกัด - สะดวกต่อการแชร์ข้อมูลให้หน่วยอื่นมาใช้ร่วมกัน - ดีต่อการเก็บตก จะไม่มีพื้นที่ตกหล่น เหมือนกับถ้าระบุเป็นอาเภอ หรือ ตาบล คนก็จะไปดูสารวจเก็บข้อมูลขอข้อมูลแต่เฉพาะที่สานักงานของสถานที่
  • 12.
  • 13. ผลกระทบจากภัยพิบัติ ความล่อแหลม (E) X ภัยหรือปรากฏการณ์ (H) X ความเปราะบาง (v) =
  • 14. 𝑅𝑖𝑠𝑘 = 𝐻𝑎𝑧𝑎𝑟𝑑 ∗ 𝐸𝑥𝑝𝑜𝑠𝑢𝑟𝑒 ∗ 𝑉𝑢𝑙𝑛𝑒𝑟𝑎𝑏𝑖𝑙𝑖𝑡𝑦 𝐶𝑎𝑝𝑎𝑐𝑖𝑡𝑦 ความเสี่ยง คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์อันตรายที่จะ ก่อให้เกิดความสูญเสีย ความเสียหายที่ไม่คาดคิด(เช่น การตาย การบาดเจ็บ ทรัพย์สินเสียหาย เศรษฐกิจชะงัก สิ่งแวดล้อมเสียหาย) อันเป็นผลที่มาจากกิจกรรมที่สัมพันธ์กันระหว่างการกระทาของมนุษย์และการ กระทาของธรรมชาติ ความเสี่ยง = ผลกระทบจากภัยพิบัติ / ความสา
  • 16. แก้วน้า วาง อยู่ในลักษณะนี้ เรียกว่า ? มีความเสี่ยง วัตถุใดมีโอกาสที่จะ เกิด ความเสียหายมาก ที่สุด ก.โต๊ะ ข.แก้ว ค.พื้น เพราะ แก้วเปราะบามีสิทธิ์ที่จะแตกเสียหายมากที่ส อะไรจะทาให้แก้ว ตกลงมาได้ก.แรงสั่นสะเทือน ข.ลม ค.มีคนตบโต๊ะ ง.ถูกท สิ่งเหล่านี้เรียกว่า ภัยเป็ นเหตุที่ทาให้สิ่งที่เปราะบางได้รับคว ซึ่งภัยนั้นก็อาจจะทาให้ ความเปราะบางขยาย ความรุนแรงได้ยได้ เช่น แก้วน้านั้นตกใส่ Notebook เครื่องพัง เสียตังค์งานหาย โดนไล่ออก
  • 17. =ภัยx ความ เปราะบางความสามารถใน การรับมือ ดินถล่ม 1 สิ่ง รถ 1 สิ่ง = 1 x 1 = 1=Specific Riskภัยx ความล่อแหลม x ความ เปราะบางอธิบายผลกระทบที่เกิดจากภัยและความเปราะบาง จานวนสิ่งที่ตกอยู่ในความเสี่ยง x ความเปราะบางxภัย คือปริมาณหรือจานวนความสูญเสียเชิงตัวเลขที่คาดประมาณจานวนผู้บาดเจ็บ ความเสียหายต่อ ทรัพย์สิน ที่เป็นผลมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ Total Risk= (Elements at Risk)*(Specific Risk)ดินถล่ม 1 สิ่งรถ 3 คัน = 3x1x1 = 3 เช่นสมมุติ รถคันที่ 1 เป็น 4WD ปั่นหนีออกจากจุดถล่มได้ ก็รอด สมมุติ รถคันที่ 2 มีประกันภัย พิบัติ รถพัง ให้คันใหม่ อันนี้ เจ้าของรอด สมมุติ รถคันที่ 3 เป็นรถหุ้ม เกราะ (Elements of Capacity) ถ้าไม่มี แค่ไม่ระบุ อย่าใส่ 0
  • 18. ความเปราะบางในบริบทของสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ ความเปราะบาง (Vulnerability) หมายถึง สถานการณ์ สิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยทาง สังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ หรือ กระบวนการที่มีความอ่อนแอ ง่ายต่อการเกิดความเสียหาย สามารถทาให้ชุมชนได้รับ ผลกระทบจากภัยที่เกิดขึ้นมาก
  • 19. ความล่อแหลมในบริบทของสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยพิบัติ ความล่อแหลม (Vulnerability) หมายถึง ปัจจัยทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เอื้อให้เกิดผลกระทบจาก ภัยนั้นๆ มากยิ่งขึ้น ชุมชนใดที่ประสบภัยและมีศักยภาพในการจัดการ กับภัยได้ด้วยตนเอง ความเสียหายที่มีต่อชีวิตและ ทรัพย์สินก็จะน้อยลง แต่ไม่มีศักยภาพเพียง พอที่จะจัดการกับภัยที่เกิดขึ้น จะส่งผลให้เกิด ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของคนใน ชุมชน ตัวอย่างเช่น หมู่บ้านนี้ก้อนหินได้เคลื่อนตัว มาอยู่ตรงริมภูเขาที่อยู่เหนือบริเวณที่ตั้งชุมชน ซึ่ง ถือว่าก้อนหินคือ “ภัย” และหากมีการตั้ง บ้านเรือนอยู่บริเวณเชิงเขา หมู่บ้านเหล่านี้ถือว่ามี “ความล่อแหลม” ที่จะถูกก้อนหินหล่นลงมาทับ ซึ่งหากชุมชนไม่มี “ศักยภาพหรือความสามารถใน การจัดการ” กับก้อนหินที่มีโอกาสหล่นลงมา ก็จะ ส่งผลให้เกิด “ความเสี่ยง” ที่จะเกิด “ภัยพิบัติ”
  • 20. ความสามารถในการรับมือEnvironmental Disasters and Management ขีด ความสามารถ (Capacity) หมายถึง กาลัง ทักษะเฉพาะทาง หรือทรัพยากร ที่ชุมชน องค์กรในพื้นที่ประสบภัย สามารถเอามาใช้ตอบโต้ ให้ภัยพิบัติลดความรุนแรง
  • 23. อะไรเป็ นภัยที่ปรากฏใ ภาพนี้ คานวณความเสี่ยงใน ภาพนี้ดิ๊ อะไรคือความ(สิ่งที่อาจเกิดความเสียหาย) นศ. 7 คน x น้า ท่วม รองเท้าจะเน่า ถุงเท้าจะ เปียก อะไรเป็ นความล่อแหลม ในภาพนี้ ตัวแปร รายละเอียด / แต้ม ความสามารถ ในการรับมือที่ ขาดไป ภัย น้าท่วม 1 ความ ล่อแหลม ความ เปราะบาง นักศึกษาA 1 นักศึกษาB 1 นักศึกษาC 1 นักศึกษาD 1 นักศึกษาE 1 นักศึกษาF 1 นักศึกษาG 1 ไฟรั่ว 1 รั้วบาด หรือ รั้วล้ม 1 เนื่องจากทั้ง 7 คน มีวิชาตัวเบา สามารถไต่ - - - - - - - ขาดการระบายน้า ขาดการเช็คระบบไฟ ขาดออกแบบมาเพื่อ รับมือกับน้าท่วม Risk = Hazard&Exposure1/3 × Vulnerability1/3 x Lack of coping capacity1/3 Risk = 31/3 x 71/3 x 31/3 = 1.44 x 1.91 x 1.44 = 3.96
  • 25. C2 C3B3 C4B4 B5 เพื่อกระจายการ สารวจให้ทั่วถึง ขอตี Grid กระจายพื้นที่สารวจ ความเปราะบาง ภัย(ระดับความสูง ของน้า) และความสามารถในการ รับมือ ภายในมหาวิทยาลัย C5 B6 C6 D2 D3 E3 E4D4 D5 E5 E6D6 C7 D7 E7 D8 F4 F5 G5 F6 F7 G6 H5 H6 แบ่งพื้นที่กันไป สารวจประเมินความ เสี่ยงใน ม. จาก Storm Surge เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับ
  • 26. จงแบ่งบทบาท สมาชิกใน หน่วย ดูภาพรวมของการ ดาเนินงาน – ตัดสินใจ ผลิต และเสนอนโยบายของการ จัดการ ทาหน้าที่ ดูแลเครื่องมือสื่อสาร ใช้ เครื่องมือสื่อสาร รับผิดขอบการแจ้งความ ต้องการของตัวเองไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือประสานขอข้อมูลที่ต้องการไปยังหน่วยอื่น ทาหน้าที่ ค้นหาข้อมูลที่ จาเป็นต่อการประมวลผล จัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต่อ การดาเนินงาน ทาหน้าที่ บันทึก ข้อมูลร่วมกับฝ่ายสารวจ ขณะลงพื้นที่ และประมวล ข้อมูล ทาหน้าที่ ลงพื้นที่ สารวจ ศึกษาสภาพพื้นที่ เก็บรายละเอียดข้อมูลใน พื้นที่ หัวหน้ า หน่วย ฝ่ าย สื่อสา ร ฝ่ าย ประม วล ข้อมูล ฝ่ าย สารว จ ฝ่ าย สนับส นุน แต่ละตาแหน่ง อัตรากาลัง มากกว่า 1 คนได้
  • 27. การรู้คิด (cognition) การควบคุม (control) การสื่อสาร (communication) การประสาน (coordinatio n) (Comfort,2007) ต้องรู้ว่ากลไกของ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคือ อะไร แล้วเราต้องทา ตัวอย่างไรถึงจะปลอดภัย - ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้ว่า จะต้องจัดการตัวเองยังไง - ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า จะต้อง จัดการอะไรร่วมกันอย่างไรบ้าง ต้องประสานงานกัน รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใคร ร่วมกันทาให้สิ่งที่ต้องจัดการ ร่วมกัน การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือ จัดการให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อย ที่สุด โดยการลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุหรือลดสิ่งที่ จะได้รับผลกระทบให้พร้อมที่จะเผชิญเหตุ
  • 28.
  • 29. ฉะนั้นในเบื้องต้นข้อมูลที่ควรจะ สารวจควรจะประกอบด้วย ×ข้อมูลภัย คุกคาม (hazard) - เส้นทางที่น้าจะเข้ามา - ระดับของน้าที่จะเอ่อขึ้น - ความรุนแรงของลม - ระยะเวลาของภัย คุกคามที่เกิด เกิดในช่วง เวลาใด กินเวลายาวนาน แค่ไหน - ภัยต่อเนื่องที่อาจเกิดขึ้น ×ข้อมูลความ เปราะบาง (vulnerability ) - สิ่งของ, ระบบ หรือ ทรัพยากร ที่จะได้รับความ เสียหาย หรือทาให้เกิดภัย ต่อเนื่องขึ้นตามมา - คนที่จะได้รับผลกระทบ มีจานวนเท่าไร ได้รับผล อย่างไรบ้าง ×ข้อมูล ความสามารถใน การรับมือ (capacity) การรับมือที่ใช้ โครงสร้าง - การสร้างสิ่งก่อสร้างเพื่อ ป้องกันตัวอาคารและทรัพย์สิน - การเคลื่อนย้าย คน ทรัพย์สิน เครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องไปเตรียมไว้ เช่น การวางแผนสิ่งที่ต้องทาก่อนเกิดภัย สิ่งที่ต้องทาให้ 24 ชั่วโมงแรก การให้ ข้อมูลประชาสัมพันธ์ การแถลงการณ์ใน แต่ละช่วง การประกาศหยุดงาน ประกาศ ให้คนไปรวมกันในที่ปลอดภัย ประกาศ จัดตั้งศูนย์พักพิง คาสั่งต่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องให้มีการดาเนินงานต่างๆ โจทย์จงสารวจประเมินความ เสี่ยงภายในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จาก Storm Surge เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับภาวะ ฉุกเฉินใน 24 ชั่วโมงแรก
  • 30. กิจกรรมวันนี้ (ให้เวลา 45 นาที) ให้เราประเมินความเสี่ยงจาก Storm Surge ที่อาจจะเข้ากรุงเทพ โดยพายุที่กาลังขึ้นอ่าวไทยทางปากอ่าวบางขุนเทียน มีความเร็วลม 155 km/h http://www.hep.caltech.edu/~piti/bkk_height/ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลของ กทม. จงสารวจประเมินความ เสี่ยงภายในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรีจาก Storm Surge เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับ ภาวะฉุกเฉินใน 24 ชั่วโมงวันนั้น ม.ประกาศปิ ดเรียน ไม่มีนักศึกษามา แต่เจ้าหน้าที่ยังต้องมา
  • 31. ภ า ร กิจ ข อ ง ที ม สารวจ - จงค้นหาระดับอ้างอิงของ ค ว า ม สู ง จ า ก น้ า ท ะ เ ล (meters sea level) ของแต่ ละอาคาร -แล้วประเมินความสูงของ น้าท่วมในแต่ละโซน -แล้ววิเคราะห์ความเสี่ยง จากภัยพิบัติโดยพิจารณความ เปราะบาง (สิ่งที่จะเสียหาย) ความล่อแหลม (สิ่งที่จะ ก่อให้เกิดภัยตามมา) และ ความพร้อมในการรับมือกับ จงรายงานผลมาทาง วิทยุสื่อสารหากหาไม่พบ ขอให้ใช้วิทยุสื่อสารถามพื้นที่ข้างเคียง ว่าอาคารที่ใกล้ที่สุดที่มีระดับอ้างอิงอยู่ที่ไหน สูงประมาณเท่าไรเมื่อเทียบกับ
  • 32. ประมวลผล• แต่ละ GRID มีความเสี่ยงเป็ นเท่าไร • GRID ที่มีความเสี่ยงมากที่สุดคือที่ ไหน ? • แนวทางในการลดความเสี่ยงของแต่ละคณะ เป็ นอย่างไร ขอให้ท่านประมวลนโยบาย ในการเตรียมพร้อมรับมือกับ Storm Surge แก่ท่านอธิการบดีของ มจธ.
  • 33. C2 C3B3 C4B4 B5 เพื่อกระจายการ สารวจให้ทั่วถึง ขอตี Grid กระจายพื้นที่สารวจ ความเปราะบาง ภัย(ระดับความสูง ของน้า) และความสามารถในการ รับมือ ภายในมหาวิทยาลัย C5 B6 C6 D2 D3 E3 E4D4 D5 E5 E6D6 C7 D7 E7 D8 F4 F5 G5 F6 F7 G6 H5 H6 แบ่งพื้นที่กันไป สารวจประเมินความ เสี่ยงใน ม. จาก Storm Surge เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับ โซน A โซน B โซน C
  • 34. ตัวแปร รายละเอียด / แต้ม ความสามารถ ในการรับมือที่ ขาดไป ภัย ความ ล่อแหลม ความเปราะบาง แบบฟอร ์มเก็บข้อมูลของท -จงรายงานสิ่งที่พบแก่ทีมข้อ ซึ่งอยู่ที่ศูนย์สั่งการให้บันทึกและประมวลผล - ทีมสารวจควรเริ่มจากวิเคราะห์ว่า ณ พื้นที่นั้น มี ภัย, ความล่อแหลม, ความเปราะบาง กี่สิ่ง - ตามด้วยประเมินว่า สิ่งนั้น มีการเตรียมพร้อมรับมือ ไว้ในพื้นที่แล้วหรือไม่ อย่างไร ถ้ามีแล้วให้บันทึกไว้ ถ้าไม่มี จงให้แต้มและระบุว่าขาดอย่างไร
  • 35. สูตรวิเคราะห์ความเสี่ยง จากภัยพิบัติ ความ เสี่ยง (Risk) = ภัย(hazard) x ความเปราะบาง(v) x ความล่อแหลม(E)ความสามารถในการ รับมือ(capacity) ความเปราะบาง Post –it สีชมพูอ่อน ความสามารถในการรับมือ Post –it สีเขียว ภัย Post-it สี ชมพูเข้ม ความล่อแหลม Post –it สีส้ม วิธีวิเคราะห์ข้อมูลของทีม ประมวลผล
  • 37. ภายใต้ assumption ที่กาหนดให้ ว่าเรามีความสามารถ ด้าน ทรัพยากรและนโยบายเต็มที่เราคิดว่า ในความเป็ น จริง ความเสี่ยงน่าจะสูงหรือ ต่ากว่านี้
  • 38. เฉลยแผนรับมือน้า ท่วมของ มจธ. น้าจะมาจากถนน ถ้าน้าบนถนนสูง 30 cm. น้า ถ้าน้าสูงกว่า 60 cm. (ประกาศเป็น ภัยระดับสีแดง) อพยพคนทั้งหมด และ ตัดไฟฟ้าทั้งหมด ขอความช่วยเหลือ จากภายนอก เพราะ เอาไม่อยู่ ! ไม่เปิ ดศูนย์พักพิง ! LAB ใคร LAB มัน หาแบทสารองเลี้ยงกันเอาเอง ในภาวะวิกฤติ ม.จะประกาศ ให้อพยพ คนออก ตั้งแต่น้าสูง 60 cm. (ภัย ระดับสีส้ม) ตัดไฟฟ้าของงานซ่อมบารุง และงานสถานที่ ใน Level นี้ม. ยัง เอาอยู่ http://www2.kmutt.ac.th/news/getfile.aspx?f=u63n65p5nh.pdf แผนรับมือน้าท่วม มจธ.
  • 39. เฉลยแผนรับมือน้า ท่วมของ มจธ. http://www2.kmutt.ac.th/news/getfile.aspx?f=u63n65p5nh.pdfน้าจะมาจากถนน ถ้าน้าบนถนนสูง 30 cm. น้า ถ้าน้าท่วมที่ความฉุกเฉินระดับสีเหลือง น้าห่างจากขอบบนของกาแพงน้อยกว่า 30 cm. ให้นักศึกษาและบุคลากร อพยพไปจุดปลอดภัย คือ ลาน อเนกประสงค์ชั้น 2 ตึกแดง และชั้น 2 CB 3, CB4 ,CB5 ส่วน บุคคลภายนอก ให้นอนโรงยิมตัดไฟตึกชั้นใต้ดินทุกอาคาร ตัดไฟนอกอาคาร ทั้งหมด ตัดไฟหม้อแปลงอาคารศิลปศาสตร์, CB3,4,5, วิศวเคมี, ตึกแดงส่วนอาคาร 8 ชั้น หอชาย,หอหญิง ตึกแดงชั้น 2 กตั้งเป็ น ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือฉุกเฉิน ตึกแดงชั้น 2 กตั้งเป็ น ศูนย์ประสานงานช่วยเหลือฉุกเฉิน ดูปั๊มให้พร้อม และสร้างคัน ทรายป้องกันน้าท่วม ที่ประตู และอาคารจอดรถใต้ดิน แผนรับมือน้าท่วม มจธ.
  • 40. URL: goo.gl/VG1kwk อย่าลืมทาใบงาน งานชิ้นนี้มีคะแนน 4 คะแนน ให้เวลาส่งถึงก่อนเที่ยงคืน (24.00 น.) ถ้านอนเร็ว ส่งตั้งแต่หกโมงเย็นก็ได้จ้ะ ขอให้แต่ละกลุ่ม สรุปบทเรียนจาก กิจกรรม สารวจ-ประเมินความ เสี่ยงของ มจธ. จาก Storm surge ใน
  • 42. การสะท้อนบทเรียน การควบคุม (control) ทุกโซนเสนอให้ตัดไฟกันหมด แต่ระบบไฟสารอง หรือ เครื่องปั่น ไฟอยู่ไหนล่ะ ต่างหน่วย ต่างแยกกันปกป้ องพื้นที่ ของตัวเอง แต่ไม่มีใครมองหาวิธีป้ องกันน้าจาก ด้านนอกร่วมกันเลย ไม่มีใครประเมินทิศทางน้า เลย ว่าถ้าน้าจะเข้า ม. มันจะ เข้าทิศทางไหน แล้วจะต้อง ป้ องกันหรือสูบออกทางไหน เฉลย แผนรับมือน้าท่วม ของ ม. http://www2.kmutt.ac.th/news/newsdetail.aspx?ref=201101001492 ไม่มีใครมีเวลา ค้นหาแผนน้าท่วม ม. ตัวจริง มาประกอบการ ตัดสินใจ ส่วนใหญ่โฟกัส ที่สิ่งของ ยังไม่ค่อยเห็น การโฟกัสที่การ จัดการคนเลย
  • 43. ข้อมูล : มีเอกภาพ การ ดาเนินการ : มีการทางาน ร่วมกัน โครงสร้างการ บัญชาการเดี่ยว (Single Command Structure) คือระบบที่แม้ว่า ผู้ใต้บังคับบัญชา จะมาจากหลากหลาย หน่วย แต่ผู้ใต้บังคับบัญชา เหล่านั้นจะต้องรักษาไว้ ซึ่งเอกภาพใน การบังคับบัญชา (Unity of Command) โดยจะต้องรับ มอบหน้าที่ความ ขอให้มีการแต่งตั้งผู้ บัญชาการเหตุ 1 ท่าน เพื่อรวบรวม ประมวลข้อมูล
  • 44. ระยะ ช่วงเวลา เป้ าหมายของการประเมินข้อมูล ระยะที่ 1 ช่วงเวลา 4-8 ชั่วโมงแรก หลังจากเกิดภัย ต้องมีการระบุข้อมูลขอบเขตของภัยพิบัติที่สร้างความ เสียหายแก่พื้นที่ประสบภัย และความช่วยเหลือที่คนภายนอกพื้นที่ทาได้ ระยะที่ 2 ช่วง 7 วันหลังภาวะฉุกเฉิน กระทั่งชุมชนได้รับความ ต้องการขั้นพื้นฐาน ได้ข้อมูลความเสียหายทั้งหมดประกอบด้วย ระดับ ความรุนแรงและตาแหน่งที่เกิดเหตุ เพื่อประมวลกระบวนการประเมิน ความต้องการและการจัดสรรทรัพยากรไปยังจุดเกิดเหตุ ระยะที่ 3 ช่วง 21 วันหลังจากเกิดเหตุ ซึ่งเป็นช่วงฟื้นฟูชุมชนหลัง ภาวะฉุกเฉิน ไปจนถึงช่วง พัฒนากิจกรรมเตรียมพร้อม ป้องกันภัย เพื่อจัดสรรข้อมูลในการบริการและการฟื้นฟู เชิงโครงสร้างแก่พื้นที่ประสบภัยไปพร้อมกับการป้องกันภัย ใน ลักษณะ build back better ชนิดของรายงานการประเมินข้อมูลแต่ละระยะ
  • 45. ระยะ เวลา ความต้องการทั่วไป เร่งด่วน 24 ชั่วโมงแรก  การค้นหาและกู้ภัย - การอพยพ / การจัดสรรที่พักอาศัยชั่วคราว  อาหาร / น้า - ระบบข้อมูล / ระบบประชาสัมพันธ์ ระยะสั้น 7 วันแรก  ความปลอดภัย - พลังงาน (เชื้อเพลิง ความร้อน แสงสว่าง)  สุขอนามัย - การจัดการศพ ผู้เสียชีวิต ข้อมูลผู้สูญหาย ระยะ กลาง 1 เดือนแรก การปกป้องผู้ประสบภัยทั้งทางกายภาพและทางกฎหมาย - การหารายได้ – การจ้างงาน – อาชีพ ระบบขนส่งสาธารณะ (โครงข่ายการขนส่งทางบก ทางน้า ทางอากาศ) ระบบสื่อสารสาธารณะ (ระบบสายส่งและระบบไร้สาย) การฟื้นคืนโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพของสิ่งก่อสร้าง ระยะยาว 3 เดือนแรก การศึกษา / เกษตรกรรม / สิ่งแวดล้อม สรุปผล - การชดเชย / เยียวยา / การซ่อมสร้าง - การฟื้นฟูความเสียหายให้กลับมาดังเดิม (rehabilitation) - การเตรียมพร้อมป้องกันภัย (Prevention and Preparedness) ความต้องการโดยทั่วไปในแต่ละระยะ (MPHR3, 2007)
  • 47.  ร่วมกันสารวจพื้นที่เสี่ยงภัย หารือกับองค์กรในพื้นที่ ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้นา ท้องถิ่นที่มีความคุ้นเคยในพื้นที่หรือเพื่อนบ้านพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ เช่น ระยะห่างจากแม่น้า พนัง แนวชายฝั่ง คันดิน กั้นคลองหรือลาห้วย และ โครงสร้างพื้นฐานในเขตเมือง  ระบุที่ตั้งสิ่งที่จะก่อให้เกิดภัยที่ตามมาหรือกิจกรรมที่อาจทาให้เกิดวัตถุมีพิษหรือ ปล่อยสารพิษและความเสี่ยงที่จะปนเปื้อนระหว่างน้าท่วม  หารือกันถึงแนวทางในการปกป้องพื้นที่หรือการสร้างนโยบายให้คนในพื้นที่ ได้รับความเสียหายน้อยที่สุด  แบ่งหน้าที่กัน ในปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในภาวะฉุกเฉิน เช่น การตั้งศูนย์พักพิง การจัดการอาหาร พลังงานสารอง  ตรวจสอบการบาดเจ็บ ความเสียหาย และความต้องการที่เกิดขึ้นระหว่างเกิด ภัย การประสานงานเพื่อเตรียมพร้อมรับภัย
  • 48. การควบคุมผลกระทบจากภัย  ซื้อประกันภัย / เตรียมสิ่งจาเป็น เช่น ยา อาหาร น้า ของใช้ เสื้อผ้า พลังงานสารอง ฯลฯ  กาจัดสิ่งปฏิกูลของทางน้า ท่อระบายน้า และร่องน้า หากมีการเปลี่ยนแปลงเส้นทางน้าหรือลา ห้วย ต้องแน่ใจว่าศักยภาพในการ รองรับน้าจะไม่ลดลง  หากอาศัยอยู่ในพื้นที่น้าท่วมถึง ต้องสร้างฐานของบ้านให้เหมาะสมและยกระดับบ้านให้สูงขึ้น สร้างบ่อน้าและห้องส้วมในพื้นที่ปลอดภัย ซึ่งควรอยู่สูงจากระดับน้าท่วมถึง แนะนาให้ติดตั้งข้อ (วาล์ว) เปิด-ปิด ในปั้มน้าเพื่อป้องกันน้าที่ท่วมเข้าไปในปั้มน้าและระบายน้าออกจากปั้มน้าได้  สร้างคันกันน้า หรือ กาแพงกันน้าท่วมเพื่อป้องกันน้าไหลเข้าบ้าน โดยคานึงถึงผลกระทบต่อพื้นที่ รอบข้าง ภายใต้การให้คาปรึกษาของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน  ระบุวิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันน้าท่วมไหลเข้าบ้าน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของการก่อสร้างบ้านและ ที่ตั้งของบ้าน หากเป็นไปได้ ให้สร้างสิ่งกีดขวางหน้าประตูบ้านและช่องระบายเพื่อระบายน้าออก  ต้องมั่นใจว่ามีวัสดุและเวลาเพียงพอที่จะจัดการแก้ปัญหาน้าท่วมบ้านการแก้ปัญหาด้วยสิ่งกีด ขวางชั่วคราว เช่น กระสอบทราย ผ้ายางชนิดหนาใช้รองเป็นทางระบายน้าออกจากอาคาร  หากคุณมีแผนที่จะสร้างสิ่งกีดขวางในช่วงน้าท่วม ให้ตัดสินใจล่วงหน้าหากต้องอยู่ตามลาพังเพื่อสู้ กับน้าท่วมและต้องเอาชีวิตให้รอดก่อน หากเกิดน้าท่วม ต้องรู้ว่าจะต้องออกจากพื้นที่น้าท่วม อย่างไร
  • 50. ความถี่/โอกาสที่จะ เกิด ระดับความรุนแรงของผลกระทบ ไม่น่าที่จะเกิดขึ้น (1) มีโอกาสสูงมาก (5) เป็นไปได้มาก (4) น่าจะเป็นไปได้ (3) โอกาสค่อนข้างน้อย (2) ละเลยได้ (1) กระทบเล็กน้อย (2) กระทบปานกลาง (3) กระทบมาก (4) ร้ายแรง (5) ตารางประเมินความเสี่ยง (Risk Impact Grid) 4 ถ่ายโอนความเสี่ยง 1 ยอมรับความเสี่ยง 2 3 ลดความเสี่ยง ลด/หลีกเลี่ยงความเสี่ยง
  • 51. กระบวนการบริหารความเสี่ยง พิจารณาการจัดการความ เสี่ยง / การควบคุมที่มีและ ประเมินระดับของความเสี่ยง ที่เหลืออยู่ จัดลาดับความ เสี่ยงเพื่อระบุลาดับ ความสาคัญในการจัดการ ติดตามและสอบ ทาน ผลการบริหาร ความเสี่ยงและการ เปลี่ยนแปลง ที่อาจมีผลกระทบ ศึกษาวัตถุประสงค์ของ การทางาน เช่น เราจะรับมือ กับการความแปรปรวนทาง เศรษฐกิจที่อาจส่งผลต่อการ สมัครเข้าทางานในอนาคต อย่างไร หรือ มีผลต่อการ ดารงชีวิตอย่างไร ฯลฯ บ่งชี้เหตุการณ์ที่ อาจมีผลต่อ วัตถุประสงค์ กระบวนการ ต่อเนื่อง ศึกษา วัตถุประสงค์ ระบุ ความเสี่ยง ประเมิน ความเสี่ยง จัดการ ความ เสี่ยง ติดตามผล พิจารณาทางเลือก ที่จะนาไปปฏิบัติ เพื่อควบคุมความเสี่ยง และกาหนดเป็ น แผนบริหาร/จัดการ ความเสี่ยง
  • 52. (Comfort,2007) การรู้คิด (cognition) ต้องรู้ว่ากลไกของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคืออะไร ภัย ความเสี่ยง แล้วและสิ่งที่ต้องเพื่อให้เกิดความปลอดภัยคือ อะไร บางคนยังสังเกตไม่เห็นความเปราะบาง บางคนยังแยกระหว่างภัยกับความเปราะบางไม่ได้ บางคนยังไม่ทราบถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น การสื่อสาร (communication) การประสาน (coordinatio n) การควบคุม (control) - ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้ ว่าจะต้องจัดการตัวเองยังไง - ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า จะต้องจัดการอะไรร่วมกันอย่างไร บ้าง - ไม่สามารถแปลผลจากข้อมูลที่ รับมาได้ว่าควรจะต้องทาอะไร - ไม่สามารถใช้เครื่องมือสื่อสาร ได้ - ไม่กล้าสื่อสาร - สื่อสารไม่เป็น ต้องประสานงานกัน รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใครร่วมกัน ทาให้สิ่งที่ต้องจัดการร่วมกัน - ขาดผู้นา ขาดคนกลางระหว่างกลุ่ม - ขาดข้อตกลงระหว่างกลุ่มในการจัดการข้อมูล (ปกติเค้าจะทาข้อตกลงกันล่วงหน้าก่อนเกิด เหตุ) การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือจัดการ ให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อยที่สุด - ไม่เกิดข้อมูลการประเมินความเสี่ยง - ไม่เกิดข้อมูลการคาดการณ์ภัยที่จะเกิดขึ้น เช่น ทิศทางน้า ระดับน้า ความเร็วลม ความเสียหายที่จะตามมา - ไม่เกิดนโยบายที่มองภาพรวมทั่วทั้งพื้นที่ในการรับมือกับภัยพิบัติ เช่น การทาแนวป้องกันน้าเข้าจากด้านนนอก ปกป้องอาคารด้วยการสูบน้าออกจากด้านใน

Editor's Notes

  1. Storm surge คล้ายกับ สึนามิ คือ รูปแบบการเคลื่อนตัวที่เป็นเหมือนคลื่นขนาดใหญ่แล้วพัดเข้าชายฝั่ง แต่ที่แตกต่างกัน คือ ลักษณะของการเกิด คือ สึนามิ เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ของแผ่นดินไหวใต้ทะเล ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนส่งผลให้เกิดคลื่นขนาดยักษ์ซัดเข้าชายฝั่ง แต่ Storm surge จะเกิดขึ้นโดยมีตัวแปรจากพายุที่ยกระดับของน้ำและคลื่นขึ้น ในเวลาที่เกิดขึ้นนานกว่า
  2. - เรียนรู้วิธีใช้วิทยุสื่อสาร เรียนรู้วิธีแปลผลข้อมูลสภาพอากาศ,น้ำ - ศึกษาประวัติการเกิดน้ำท่วมและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในพื้นที่ ศึกษาหาข้อมูลความเสี่ยงทางเทคนิค ข้อมูลใน อดีต (ข้อมูลที่ควรทราบคือ ระดับน้ำที่เคยท่วม ความถี่ ความเสียหายในอดีต ผลกระทบจากน้ำท่วมที่ตามมา) - มีลิสต์เบอร์ติดต่อ คนสำคัญ หน่วยงานให้ความช่วยเหลือ เบอร์ฉุกเฉินในพื้นที่ วางแผนติดตามข่าวสารและระบบ เตือนภัยของชุมชน - ติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิด หากมีการเฝ้าระวังน้ำท่วม นั่นหมายความว่ามีโอกาสเกิดน้ำท่วมในพื้นที่ของคุณ แต่ถ้าหากมีการแจ้งเตือนน้ำท่วม นั่นหมายถึงน้ำท่วมกำลังไหลเข้ามาในพื้นที่ - หากมีการแจ้งให้อพยพ หรือ คุณคิดว่ากำลังตกอยู่ในอันตราย ให้อพยพทันที - เมื่อแจ้งให้อพยพ ให้ปิดอุปกรณ์ที่มีความร้อนและวาล์วถังแก๊สหุงต้ม ดึงปลั๊ก และสับคัทเอาท์เพื่อตัดไฟ
  3. 14
  4. ความเสี่ยงจำเพาะ (Specific Risk) ความเสี่ยงที่มีลักษณะเฉพาะตัว สามารถคาดประมาณระดับความสูญเสียได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบางประเภท ซึ่งสามารถอธิบายได้จากผลกระทบหรือผลผลิตที่เกิดจาก Hazard and Vulnerability ดังนี้ : Specific Risk = (Hazard * Vulnerability)                               (2) ความเสี่ยงสุทธิ (Total Risk) คือปริมาณหรือจำนวนความสูญเสียเชิงตัวเลขที่คาดประมาณ จำนวนผู้บาดเจ็บ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน หรือความเสียหายทางเศรษฐกิจ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่เป็นผลมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นบางประเภท ซึ่งสามารถอธิบาย ความเสี่ยงสุทธิที่ได้จากผลผลิตของ Specific Risk และ Elements at Risk ดังนี้ : Total Risk=(Elements at Risk)*(Specific Risk)=(Elements at Risk)*(Hazard*Vulnerability) (3)
  5. - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร แนวทางการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่สนับสนุนการลดผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงราย การรับรู้ (cognition) หน่วยงานฝ่ายปกครองและท้องถิ่นจังหวัดควรมีการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม มีทัศนคติในการมองว่าท้องถิ่นมีความเข้มแข็งและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความตื่นตัวที่จะการจัดการภัยพิบัติในเชิงรุกเพื่อลดความเสี่ยงในพื้นที่ของตัวเองด้วยการจัดการตนเอง EOC ระดับจังหวัดควรให้ความสำคัญกับการมองภาพรวมของสถานการณ์ในแต่ละช่วง โดยปรับเปลี่ยนให้มีการถอดบทเรียนระหว่างการดำเนินงาน เพื่อออกแบบ-ปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานจากการสะท้อนบทเรียนเป็นระยะ โดยให้ความสำคัญกับการสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แล้วแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ไม่ใช่ถอดบทเรียนตอนสุดท้ายเพื่อนำไปแก้ปัญหาครั้งถัดไป การสื่อสาร (communication) ด้านระบบข้อมูล สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำจังหวัดควรมีระบบฐานข้อมูลมาตรฐานส่วนกลางไว้ล่วงหน้า โดยออกแบบ Platform ของระบบข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด - ตำบล ร่วมกันบันทึกข้อมูลระดับ-รายละเอียดความเสียหาย แบ่งปันและเชื่อมโยงข้อมูลให้ทุกหน่วยงานผสานเป็นระบบเดียวกันได้ โดยระบบดังกล่าวนี้ควรจัดให้มี “ระบบหนังสือรับรองความเสียหาย” ซึ่งท้องถิ่นสามารถออกหนังสือรับรองความเสียหายให้แต่ละหลังคาเรือนสำหรับเป็นหลักฐานรับรองไม่ให้เกิดการแจกจ่ายซ้ำซ้อน ซึ่งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิคส์ควรจะถูกใช้ในการจัดการข้อมูลการสำรวจความเสียหาย การประสานงาน (coordination) ควรจะมีการเสวนาบทบาทหน้าที่ เพิ่มความเข้าใจของแต่ละหน่วย ว่าเวลาเกิดเหตุฉุกเฉิน ในภาวะวิกฤติแต่ละหน่วยควรจะลงพื้นที่อย่างไร ควรจะทำเรื่องอะไร โดยนำบทเรียนจากการรับมือกับเหตุฉุกเฉินที่ได้มาเรียนรู้ร่วมกัน แล้วนำปัญหาตรงนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นเอกภาพ มีการส่งข้อมูลเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ทั้งระดับพื้นที่ระดับผู้เชี่ยวชาญ EOC ระดับจังหวัดซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์บัญชาการส่วนกลางควรจะทำหน้าที่จับคู่ (matching) หรือ อุดช่องว่างการบริจาคให้ตรงตามความต้องการ เป็นตัวกลางในการระดม-ประสานทรัพยากรจากผู้บริจาคภาคเอกชนกระจายลงไปยังพื้นที่ โดยควรจะมีระบบที่ทำหน้าที่เป็นกองหลัง รับข้อมูลความต้องการทรัพยากรของทุกหน่วยงานเข้ามา แล้วประสานสิ่งของที่ได้จากกองหลัง ให้หน่วยงานที่เป็นกองหน้าเอาทรัพยากรไปใช้ หน่วยงานระดับท้องถิ่นจะต้องทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ทั้งให้ผู้บริจาคแจ้งภารกิจและที่หมายก่อนที่จะลงไปบริจาค และทำให้ประชาชนเข้าใจระบบการจัดการของบริจาค รวมถึงสร้างค่านิยมในการจัดการตนเองแก่ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยด้วย     การควบคุม (control) ผู้ปฏิบัติงานของ ปภ.ศูนย์เขตหรือ ปภ.จังหวัดที่อยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้าในพื้นที่ประสบภัยควรจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้นำของท้องถิ่นและประชาชน ในการจัดระบบความช่วยเหลือ การจัดระบบของบริจาค เริ่มจากจัดระบบข้อมูลความเสียหาย-ความต้องการ ควรมีสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับอำเภอเป็นหน่วยงานถาวรที่ทำหน้าที่กองอำนวยการระดับอำเภอ ที่มีทั้งอำนาจ มีทรัพยากรและมีบุคคลากรที่ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ในการทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้สอดคล้องกันทุกระดับ หน่วยท้องถิ่นอำเภอและตำบลเสนอว่า ควรจะเริ่มจากหน่วยจังหวัดทำแผนระดับจังหวัดให้เสร็จก่อน จากนั้นจึงแบ่งปันข้อมูลให้หน่วยอำเภอนำข้อมูลท้องถิ่นมาผสานกับแผนระดับจังหวัดให้เกิดแนวทางที่สามารถปฏิบัติได้จริง สำหรับหน่วยงานระดับตำบล – องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะได้รับการฝึกซ้อมรับมือภัยพิบัติร่วมกับหน่วยงานระดับจังหวัด โดยการฝึกซ้อมควรเกิดขึ้นพร้อมกับการอบรมพัฒนาศักยภาพในหลักสูตร full scale 3-5 วันต่อเนื่อง โดยมีหน่วยประสานระดับจังหวัดจัดการอบรมให้ทั่วถึงทุกตำบล ในระดับหมู่บ้าน-ตำบล ควรมีกองทุนภัยพิบัติ เพื่อสนับสนุนการร่วมคิดร่วมทำโดยตั้งคณะกรรมการกองทุนเข้ามาทำกิจกรรมและพัฒนาฐานข้อมูลตำบลจากผู้ที่ได้รับความเสียหายในเหตุการณ์ครั้งที่ผ่านมา ด้านปัญหาในการบริหารจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคมีอิทธิพลต่อ ความยืดหยุ่นขององค์กร และความยืดหยุ่นขององค์กรก็มีผลต่อการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม ซึ่งการเปิดกว้างทางวัฒนธรรมก็ส่งผลกลับมาที่โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค ส่วนการผลต่อการนำนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปปฏิบัติในระดับตำบลโดยใช้ตัวแบบกระจายอำนาจนั้นพบว่า ผลสำเร็จฯ ได้รับอิทธิพลจากเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด โดยทรัพยากรขององค์กรเป็นปัจจัยที่อิทธิพลทางบวกต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด ขณะที่การบริหารจัดการสาธารณภัยในครั้งนี้ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรมีอิทธิพลทางลบต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมและสมรรถนะของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการในระดับหมู่บ้านนั้น การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีอิทธิพลต่อการควบคุมความเสี่ยงจากภัยพิบัติมากที่สุด ซึ่งการดำเนินงานควบคุมฯนั้นส่งผลส่งต่อไปสู่การรับรู้ความเสี่ยง และการสื่อสารต่อกันครบเป็นวงจร
  6. การกำาหนดทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment Identification) เมื่อประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนที่จะต้องพิจารณาว่าควรที่จะ จัดการอย่างไรกับความเสี่ยงนั้น ๆ ทั้งนี้ แนวทางจัดการความเสี่ยง สามารถจำาแนกได้เป็น 4 แนวทางหลัก ดังนี้ (1) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance): ในกรณีที่ความเสี่ยงอยู่ในระดับ สูงมากถึงขั้นร้ายแรง อาจต้องหลีกเลี่ยงความเสี่ยงอย่างสิ้นเชิง เช่น การย้ายที่ตั้ง ชุมชน หมู่บ้าน อาคารสถานที่ออกนอกพื้นที่ที่มีภัย การแบ่งเขตจัดทำาโซนนิ่ง อย่างไรก็ดี การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงอย่างสิ้นเชิงนั้นอาจทำาได้ไม่ง่ายนัก เนื่องจาก ข้อจำากัดด้านพื้นที่ (2) การป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง (Risk Prevention and Mitigation): อาจทำาได้ 2 แนวทาง คือ การป้องกัน (prevention) คอ การป้องกันไม่ให้ภัยนั้นเกิดขึ้น เช่น การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อเก็บกักน้ำ�ไว้ ไม่ให้ไหลลงมาสู่พื้นที่ปลายน้ำ�เพื่อป้องกันอุทกภัย และอีกแนวทางหนึ่ง คือ การลดผลกระทบ (mitigation) เพื่อลดความล่อแหลมและความเปราะบาง ให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้ ซึ่งการป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง สามารถทำาได้โดยใช้มาตรการที่ใช้โครงสร้าง (structural measure) คือ การใช้สิ่งก่อสร้างหรือโครงสร้างทางกายภาพเพื่อลดหรือหลีกเลี่ยงผลกระทบ ของภัยที่อาจเกิดขึ้น หมายรวมถึงระบบหรือโครงสร้างเชิงวิศวกรรมที่ประยุกต์ ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การทำาพนังหรือคันกั้นน้ำ� ประตูน้ำ� เขื่อน แก้มลิง ระบบ ระบายน้ำ� เพื่อลดผลกระทบจากอุทกภัย การเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง บ้าน อาคาร เพื่อให้สามารถต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวหรือลม พายุ การปรับความลาดชันของพื้นที่เพื่อลดการพังทลายของดิน การสร้างฝาย สร้างอ่างเก็บน้ำ� หรือขุดสระน้ำ�เพื่อการกักเก็บน้ำ�ไว้ใช้ในช่วงเกิดภัยแล้ง และ มาตรการที่ไม่ใช้โครงสร้าง (non-structural measure) คือ การใช้นโยบาย กฎระเบียบ การวางแผนงานและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อลดความเสี่ยง เช่น การออก กฎระเบียบข้อบังคับการก่อสร้าง การกำาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน การแบ่งเขต และการวางแผนพัฒนาพื้นที่ เพื่อกำาหนดลักษณะการใช้ที่ดินและจำากัดขอบเขต กิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่ การจำากัดความหนาแน่นของสิ่งปลูกสร้างและผู้อยู่อาศัย เพื่อลดความล่อแหลมและความเปราะบางต่อภัย การวางแผนการเพาะปลูกเพื่อ ลดผลกระทบจากภัยแล้งหรืออุทกภัย การฝึกอบรม การสร้างจิตสำานึก หรือให้ ความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการป้องกันและลดผลกระทบจากความเสี่ยง (3) การถ่ายโอนความเสี่ยง (Risk Transfer): เป็นการถ่ายโอนความเสี่ยงไปที่บุคคล อื่นที่พร้อมจะรับผลกระทบจากภัยนั้นแทน ทำาให้ผู้ที่เผชิญกับความเสี่ยงไม่ต้อง ได้รับผลที่อาจเกิดขึ้น หรือได้รับการแบ่งเบาภาระที่ต้องแบกรับอันเนื่องมาจาก ความเสี่ยงนั้น โดยมากให้ความสำาคัญกับการถ่ายโอนภาระทางการเงินอันเป็น ผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติ เช่น การใช้ระบบประกันความเสี่ยง การทำาประกัน ภัย การจัดทำาพันธบัตรภัยพิบัติ (catastrophe/CAT bond) การให้สินเชื่อฉุกเฉิน หรือการให้ความช่วยเหลือทางการเงินภายในชุมชนหรือครอบครัว (4) การยอมรับความเสี่ยง (Risk retention/ Risk Acceptance): ในกรณีที่นำา แนวทางการลดความเสี่ยงทั้ง 3 ประการข้างต้นมาใช้แต่ยังไม่สามารถจัดการกับ ความเสี่ยงให้หมดไปได้ และยังคงมีความเสี่ยงบางส่วนหลงเหลืออยู่ สิ่งที่ทำาได้คือ การเตรียมความพร้อม (preparedness) เพื่อรับมือกับความเสี่ยงคงเหลือ (residual risk) รวมถึงการปรับตัว (adaptation) และปรับวิถีการดำารงชีวิตให้ สามารถอยู่ร่วมกับภัยและความเสี่ยงนั้น ๆ ได้อย่างปลอดภัย การยอมรับความ เสี่ยงอาจเป็นเพราะอยู่ในสภาวะที่ไม่มีทางเลือก เช่น เมืองที่เติบโตขึ้นในพื้นที่เสี่ยง ภัยแผ่นดินไหว การจะย้ายผู้คนและระบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ออกไปนั้นทำาได้ยาก และมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ขณะเดียวกันก็ต้องมีมาตรการเตรียมความพร้อมต่าง ๆ เพื่อ ให้สามารถรับมือกับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น หรือในกรณีที่ความเสี่ยงอยู่ใน ระดับที่ไม่มีนัยสำคัญหรืออยู่ในระดับต่ำที่สามารถยอมรับได้ ก็ไม่ต้องมีการปฏิบัติ เพื่อลดความเสี่ยงแต่อย่างใด
  7. - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร แนวทางการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่สนับสนุนการลดผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงราย การรับรู้ (cognition) หน่วยงานฝ่ายปกครองและท้องถิ่นจังหวัดควรมีการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม มีทัศนคติในการมองว่าท้องถิ่นมีความเข้มแข็งและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความตื่นตัวที่จะการจัดการภัยพิบัติในเชิงรุกเพื่อลดความเสี่ยงในพื้นที่ของตัวเองด้วยการจัดการตนเอง EOC ระดับจังหวัดควรให้ความสำคัญกับการมองภาพรวมของสถานการณ์ในแต่ละช่วง โดยปรับเปลี่ยนให้มีการถอดบทเรียนระหว่างการดำเนินงาน เพื่อออกแบบ-ปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานจากการสะท้อนบทเรียนเป็นระยะ โดยให้ความสำคัญกับการสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แล้วแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ไม่ใช่ถอดบทเรียนตอนสุดท้ายเพื่อนำไปแก้ปัญหาครั้งถัดไป การสื่อสาร (communication) ด้านระบบข้อมูล สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำจังหวัดควรมีระบบฐานข้อมูลมาตรฐานส่วนกลางไว้ล่วงหน้า โดยออกแบบ Platform ของระบบข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด - ตำบล ร่วมกันบันทึกข้อมูลระดับ-รายละเอียดความเสียหาย แบ่งปันและเชื่อมโยงข้อมูลให้ทุกหน่วยงานผสานเป็นระบบเดียวกันได้ โดยระบบดังกล่าวนี้ควรจัดให้มี “ระบบหนังสือรับรองความเสียหาย” ซึ่งท้องถิ่นสามารถออกหนังสือรับรองความเสียหายให้แต่ละหลังคาเรือนสำหรับเป็นหลักฐานรับรองไม่ให้เกิดการแจกจ่ายซ้ำซ้อน ซึ่งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิคส์ควรจะถูกใช้ในการจัดการข้อมูลการสำรวจความเสียหาย การประสานงาน (coordination) ควรจะมีการเสวนาบทบาทหน้าที่ เพิ่มความเข้าใจของแต่ละหน่วย ว่าเวลาเกิดเหตุฉุกเฉิน ในภาวะวิกฤติแต่ละหน่วยควรจะลงพื้นที่อย่างไร ควรจะทำเรื่องอะไร โดยนำบทเรียนจากการรับมือกับเหตุฉุกเฉินที่ได้มาเรียนรู้ร่วมกัน แล้วนำปัญหาตรงนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นเอกภาพ มีการส่งข้อมูลเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ทั้งระดับพื้นที่ระดับผู้เชี่ยวชาญ EOC ระดับจังหวัดซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์บัญชาการส่วนกลางควรจะทำหน้าที่จับคู่ (matching) หรือ อุดช่องว่างการบริจาคให้ตรงตามความต้องการ เป็นตัวกลางในการระดม-ประสานทรัพยากรจากผู้บริจาคภาคเอกชนกระจายลงไปยังพื้นที่ โดยควรจะมีระบบที่ทำหน้าที่เป็นกองหลัง รับข้อมูลความต้องการทรัพยากรของทุกหน่วยงานเข้ามา แล้วประสานสิ่งของที่ได้จากกองหลัง ให้หน่วยงานที่เป็นกองหน้าเอาทรัพยากรไปใช้ หน่วยงานระดับท้องถิ่นจะต้องทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ทั้งให้ผู้บริจาคแจ้งภารกิจและที่หมายก่อนที่จะลงไปบริจาค และทำให้ประชาชนเข้าใจระบบการจัดการของบริจาค รวมถึงสร้างค่านิยมในการจัดการตนเองแก่ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยด้วย     การควบคุม (control) ผู้ปฏิบัติงานของ ปภ.ศูนย์เขตหรือ ปภ.จังหวัดที่อยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้าในพื้นที่ประสบภัยควรจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้นำของท้องถิ่นและประชาชน ในการจัดระบบความช่วยเหลือ การจัดระบบของบริจาค เริ่มจากจัดระบบข้อมูลความเสียหาย-ความต้องการ ควรมีสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับอำเภอเป็นหน่วยงานถาวรที่ทำหน้าที่กองอำนวยการระดับอำเภอ ที่มีทั้งอำนาจ มีทรัพยากรและมีบุคคลากรที่ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ในการทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้สอดคล้องกันทุกระดับ หน่วยท้องถิ่นอำเภอและตำบลเสนอว่า ควรจะเริ่มจากหน่วยจังหวัดทำแผนระดับจังหวัดให้เสร็จก่อน จากนั้นจึงแบ่งปันข้อมูลให้หน่วยอำเภอนำข้อมูลท้องถิ่นมาผสานกับแผนระดับจังหวัดให้เกิดแนวทางที่สามารถปฏิบัติได้จริง สำหรับหน่วยงานระดับตำบล – องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะได้รับการฝึกซ้อมรับมือภัยพิบัติร่วมกับหน่วยงานระดับจังหวัด โดยการฝึกซ้อมควรเกิดขึ้นพร้อมกับการอบรมพัฒนาศักยภาพในหลักสูตร full scale 3-5 วันต่อเนื่อง โดยมีหน่วยประสานระดับจังหวัดจัดการอบรมให้ทั่วถึงทุกตำบล ในระดับหมู่บ้าน-ตำบล ควรมีกองทุนภัยพิบัติ เพื่อสนับสนุนการร่วมคิดร่วมทำโดยตั้งคณะกรรมการกองทุนเข้ามาทำกิจกรรมและพัฒนาฐานข้อมูลตำบลจากผู้ที่ได้รับความเสียหายในเหตุการณ์ครั้งที่ผ่านมา ด้านปัญหาในการบริหารจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคมีอิทธิพลต่อ ความยืดหยุ่นขององค์กร และความยืดหยุ่นขององค์กรก็มีผลต่อการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม ซึ่งการเปิดกว้างทางวัฒนธรรมก็ส่งผลกลับมาที่โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค ส่วนการผลต่อการนำนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปปฏิบัติในระดับตำบลโดยใช้ตัวแบบกระจายอำนาจนั้นพบว่า ผลสำเร็จฯ ได้รับอิทธิพลจากเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด โดยทรัพยากรขององค์กรเป็นปัจจัยที่อิทธิพลทางบวกต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด ขณะที่การบริหารจัดการสาธารณภัยในครั้งนี้ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรมีอิทธิพลทางลบต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมและสมรรถนะของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการในระดับหมู่บ้านนั้น การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีอิทธิพลต่อการควบคุมความเสี่ยงจากภัยพิบัติมากที่สุด ซึ่งการดำเนินงานควบคุมฯนั้นส่งผลส่งต่อไปสู่การรับรู้ความเสี่ยง และการสื่อสารต่อกันครบเป็นวงจร