SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
อาการ
ผู้ป่วยจะรู้สึกปวด จุก เสียด แน่นท้องและบริเวณยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ ซึ่งหากแพทย์ให้ยาลดกรดแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น
แพทย์ก็จะใช้วิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย H. pylori ด้วยการส่องกล้องและตัดชิ้นเนื้อจากเนื้อเยื่อบุกระเพาะอาหารมาตรวจ
// สาหรับ อาการโดยส่วนใหญ่ของโรคกระเพาะอาหาร คือ อาการจุกแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่
อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย หรือมีประวัติปวดท้องเรื้อรังมานาน โดยสุขภาพทั่วไปไม่ทรุดโทรม
อาการปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น หิวแล้วปวด อิ่มแล้วปวด บางรายอาจมีอาการปวดแสบท้อง
หรือมาโรงพยาบาลด้วยอาการแทรกซ้อนจากแผลในกระเพาะอาหาร และลาไส้ เช่น ถ่ายอุจจาระมีสีดา อาเจียนเป็นเลือด
เป็นต้น
การตรวจหาเชื้อ เอช.ไพโลไร // วินิจฉัย
โดยทั่วไป เมื่อผู้ป่วยมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดแน่นท้อง จุกเสียดลิ้นปี่ ท้องอืด มักได้รับการวินิจฉัยจากอาการเหล่านี้ว่า
เป็นโรคกระเพาะอาหาร ซึ่งอาจเกิดจากการอักเสบของกระเพาะอาหาร หรือมีแผลในกระเพาะอาหาร
หรือมีแผลในลาไส้เล็กส่วนต้น ส่วนสาเหตุที่ทาให้เกิด อาจเป็นผลจากการติดเชื้อเอชไพโลไร หรือจากสาเหตุอื่นๆก็ได้เช่น
การใช้ยาแก้ปวดลดอักเสบกลุ่ม เอ็นเสด (NSAIDs) เป็นเวลาต่อเนื่องยาวนาน เป็นต้น ดังนั้นในเบื้องต้น
แพทย์จะทาการรักษาโดยการให้ยาลดกรด ยาลดอาการปวดท้อง และให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่อาจเป็นสาเหตุไปก่อน
หากอาการของผู้ป่วยเป็นเรื้อรัง ไม่ดีขึ้น อาการรุนแรง หรือมีอาการที่น่าสง สัยว่าอาจเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร
จึงจะใช้การตรวจด้วยการส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้น (Gastroscope)
ร่วมกับการตัดชิ้นเนื้อจากรอยโรคที่พบจากการส่องกล้องเพื่อพิสูจน์ว่าผู้ป่วยมีแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น
หรือไม่ และเป็นมะเร็งของกระ เพาะอาหาร รวมทั้งการพิสูจน์ว่ามีการติดเชื้อเอชไพโรไล ร่วมด้วยหรือไม่
การพิสูจน์ว่ามีการติดเชื้อเอช ไพโลไรหรือไม่นั้น ทาได้หลายวิธี ได้แก่
 การตัดชิ้นเนื้อจากกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็ก แล้วนาไปตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วยวิธีที่เรียกว่า Urease test
หรืออาจนาชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา ซึ่งนอกจากจะตรวจหาเชื้อแบคทีเรียได้แล้ว
ยังสามารถประเมินความรุนแรงของการอักเสบ และเพื่อวินิจฉัยว่าเป็นมะ เร็งกระเพาะอาหารหรือไม่
 การนาสารคัดหลั่งหรือชิ้นเนื้อจากกระเพาะอาหารไปเพาะเชื้อ
วิธีนี้มักจะใช้เพื่อต้องการดูความไว/การตอบสนองของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ ในกรณีที่ให้ยาไป 2 ครั้งแล้ว
เชื้อแบคทีเรียนี้ยังไม่หายไป
 การให้ผู้ป่วยดื่มสารยูเรียที่มีสารกัมมันตภาพรังสี หากผู้ป่วยมีเชื้อ เอช ไพโลไร เชื้อจะไปย่อยสารยูเรีย
กลายเป็นแอมโมเนียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีสารกัมมันตภาพรังสีติดอยู่
ซึ่งจะตรวจพบสารดังกล่าวจากลมหายใจออกของผู้ป่วยได้เรียกการตรวจนี้ว่า Urea breath test
 การตรวจหาส่วนประกอบของเชื้อจากอุจจาระ (Stool antigen test)
1. การส่องกล้อง เพื่อตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนต้น ซึ่งเป็นวิธีการที่สาคัญในการตรวจและรักษา
ซึ่งจะทาให้เห็นแผลได้ชัดเจน บันทึกภาพได้และยังสามารถตัดเนื้อเยื่อบริเวณกระเพาะเพื่อส่งตรวจหาเชื้อ
เอช.ไพโลไรได้อีกด้วย
2.การเจาะเลือดหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ เอช.ไพโลไร เป็นการตรวจที่ง่าย ราคาถูก
แต่การตรวจนี้ถ้าให้ผลบวกจะบอกได้เพียงว่ากาลังเป็นหรือเคยติดเชื้อเท่านั้น แต่ไม่สามารถใช้ติดตามผลการรักษาได้
เนื่องจากระดับแอนตี้บอดี้จะยังคงสูงอยู่เป็นเวลานาน
3.Urea Breath Test หรือการทดสอบยูเรีย หลักการคือให้กินยูเรีย ถ้ามีการติดเชื้อ เอช.ไพโลไร ซึ่งมีเอนไซม์ยูเรเอส
Urease จะทาให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ (14 Co2) ซึ่งจะเข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นจะขับออกทางลมหายใจ
ข้อดีคือไม่เจ็บปวด สามารถประเมินการเจริญเติบโตและแพร่กระจายเชื้อ เอช.ไพโลไรในกระเพาะอาหารได้
โดยมากใช้ตรวจติดตามหลังการรักษา
4. การตรวจอุจจาระ Fecal antigen test เป็นการตรวจหาแอนติเจนของ เอช.ไพโลไรในอุจจาระ
ถือว่าเป็นวิธีที่ได้ผลดีในการตรวจเทียบเท่ากับการทดสอบยูเรีย ข้อดีคือไม่เจ็บปวด
สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยเอช.ไพโลไรในการติดตามหลังการรักษาได้ดี
การติดต่อของเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร
สันนิษฐานกันว่าการถ่ายทอดของเชื้อเป็นจากคนสู่คน โดยผ่านทางปาก เชื้อแบคทีเรียดังกล่าวเข้าสู่ร่างกายตั้งแต่ยังเด็ก
เมื่ออายุมากขึ้นจะมีความชุกของการติดเชื้อนี้เพิ่มขึ้น
นอกจากนี้พบว่าการระบาดค่อนข้างสูงในชุมชนที่อยู่แออัดและในครอบครัวหรือ สถาบันเดียวกัน //
สาหรับวิธีการแพร่เชื้อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งนั้นยังไม่ชัดเจน แต่คาดว่าน่าจะติดต่อกันทางน้าลาย (Oral-oral route)
โดยอาจติดจากการกินอาหารโดยใช้ช้อนร่วมกัน การจูบปากกัน เป็นต้น ดังนั้น การติดต่อมักมาจากบุคคลในบ้านเป็นหลัก
นอกจากนี้การกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ (Fecal-oral route) ก็อาจทาให้ติดเชื้อได้
เพราะพบว่าสามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียเอชไพโลไร จากอุจจาระของผู้ที่มีเชื้อได้//
พยาธิกาเนิดหรือกลไกในการติดเชื้อเอชไพโลไร ได้แก่ เมื่อคนเรากินอาหารที่มีเชื้อแบคทีเรียนี้เข้าไปแล้ว
เชื้อก็จะเข้าสู่กระเพาะอาหารของเรา และใช้หนวดที่ยื่นยาว (Flagellum ) รวมถึงรูปร่างที่เป็นเกลียว
ช่วยในการเคลื่อนไหวตัวเข้าไปอยู่ในชั้นเยื่อเมือก (Mucous) ที่เคลือบอยู่บนเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร
และเข้าไปเกาะอยู่กับเซลล์เยื่อบุผิว ทั้งนี้การอยู่ในชั้นเยื่อเมือก
จะช่วยป้ องกันไม่ให้แบคทีเรียถูกขับออกไปจากกระเพาะอาหาร จากการบีบรัดตัวของกระเพาะอาหารเวลาย่อยอาหาร
อีกทั้งค่าความเป็นกรดในชั้นเยื่อเมือกนี้ก็จะไม่เป็นกรดมากเท่าบริเวณที่อยู่นอกชั้นเยื่อเมือก
นอกจากนี้แบคทีเรียนี้ยังมีเอนไซม์ชื่อ Urease ที่สามารถย่อยสลายสารยูเรียที่มีอยู่ในกระเพาะอาหาร
ให้กลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย ซึ่งช่วยให้เกิดภาวะความเป็นด่าง
ช่วยทาให้ความเป็นกรดรอบๆตัวของแบคทีเรียอ่อนลงได้
แบคทีเรียชนิดนี้จึงสามารถเอาตัวรอดอาศัยอยู่ในกระเพาะอาหารของเราได้เมื่อมีแบคทีเรียเข้ามาในร่างกาย
ร่างกายก็พยายามจะกาจัดเชื้อแบคทีเรีย ทั้งการส่งเม็ดเลือดขาว และสร้างแอนติบอดี/สารภูมิต้านทาน (Antibody)
มาเพื่อทาลายแบคทีเรีย แต่ก็ไม่สามารถกาจัดแบคทีเรียนี้ได้
เชื้อ เอช ไพโลไร มีอยู่หลายชนิดย่อย แต่ละชนิดย่อยมีความแตกต่างในการสร้างชนิดโปรตีน
และสารเคมีที่มีปฏิกิริยาต่อเซลล์เยื่อบุผิวที่แตกต่างกันไป แต่โดยภาพรวมแล้ว โปรตีนและสารเคมีที่สร้างขึ้นมา
จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆที่อยู่ในกระแสเลือด เดินทางมาที่บริเวณเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร
และปล่อยสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบออก มา เซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารก็จะเกิดการอักเสบ เชื้อชนิดย่อยๆบางชนิด
สามารถกระตุ้นการอักเสบได้รุนแรง และทาให้มีโอกาสเป็นแผลในกระเพาะอาหารหรือในลาไส้เล็กส่วนต้นได้มาก
กว่าชนิดย่อยๆอื่นๆ เช่น ชนิดย่อยที่มีสารพันธุกรรมที่เรียกว่า Cag pathology island (cag PAI )
ดังนั้นในผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไพโลไร ทุกราย จะมีการอักเสบของเซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารเกิดขึ้น เรียกว่า
กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) ซึ่งการอักเสบจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อ และชนิดย่อยของเชื้อ ทั้งนี้
การอักเสบจะเกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีเชื้ออยู่ใน ขณะที่มีผู้ติดเชื้อเพียง 15% ที่จะเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer)
หรือแผลในลา ไส้เล็กส่วนต้น (Duodenal ulcer) ที่รวมเรียกว่า แผลเปบติค (Peptic ulcer) หรือกลายเป็นมะ
เร็งกระเพาะอาหาร ซึ่งการจะเกิดโรคเหล่านี้ ต้องมีปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน ทั้งปัจจัยจากเชื้อแบคทีเรีย
ที่มักเกิดจากชนิดย่อยที่มีความรุนแรงในการทาให้เกิดการอักเสบ,
ปัจจัยจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคในผู้ติดเชื้อแต่ละคน,
และปัจจัยภายนอกอื่นๆที่ร่วมกระตุ้นให้เกิดโรคนั้นๆได้มากขึ้น เช่น การดื่มแอลกอฮอล์การดื่ม ชา กาแฟ
การกินยาแก้ปวดลดอักเสบกลุ่ม เอ็นเสด (NSAIDs) การสูบบุหรี่ การกินอาหารที่มีสารไนโตรซามีน (Nitosa mine)
ซึ่งมักพบในปลาเค็ม แหนม ไส้กรอก หมูยอ ปลาส้ม เป็นต้น
กลไกในการเกิดแผลในลาไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum) เริ่มจากเมื่อมีการอักเสบของเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร
โดยเฉพาะบริเวณกระเพาะอาหารส่วนปลาย (Antrum) ทาให้เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่สร้างฮอร์โมน Somatostatin
มีจานวนลดลง ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้จะไปยับยั้งการทางานของฮอร์โมน Gastrin เมื่อการสร้างฮอร์โมน Somatostatin ลดลง
ฮอร์โมน Gastrin ก็จะเพิ่มขึ้น ฮอร์โมน Gastrin นี้จะไปกระตุ้นเซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ให้หลั่งกรดมากขึ้น อา
หารจากกระเพาะอาหารที่มีความเป็นกรดสูง ก็จะเคลื่อนสู่ลาไส้เล็กส่วนต้น
โดยปกติเยื่อบุผิวของลาไส้เล็กจะไม่ทนต่อความเป็นกรดสูงๆ เมื่อโดนความเป็นกรดสูงๆจากอาหารเข้าบ่อยๆ ลา
ไส้เล็กก็จะสร้างเซลล์เยื่อบุผิวขึ้นมาใหม่ ซึ่งมีรูปร่างและคุณสมบัติเช่นเดียวกับเซลล์เยื่อบุกระ เพาะอาหาร เรียกว่าเกิด
Gastric metaplasia เชื้อเอช ไพโลไร
จากกระเพาะอาหารก็จะเข้ามาเกาะที่เซลล์เยื่อบุผิวชนิดใหม่ที่ลาไส้เล็กส่วนต้นสร้างขึ้นนี้ และทาให้เกิดการอักเสบจนกลาย
เป็นแผลได้ในที่สุด
ในผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหาร เริ่มต้นจากมีการอักเสบของเยื่อบุผิวบริเวณกระเพาะอาหารส่วนกลาง (Corpus)
หรือมีการอักเสบในทั้งสามส่วนของกระเพาะอาหาร (ทั้ง Fundus/ส่วนต้น, Corpus/ส่วนกลาง และ Antrum/ส่วนปลาย)
เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ซึ่งอยู่บริ เวณกระเพาะอาหารส่วนต้นและส่วนกลาง จะมีปริมาณลดลง
และทาให้การหลั่งกรดลดลงไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากผู้ป่วยที่มีแผลในลาไส้เล็กส่วนต้นที่การหลั่งกรดจะเพิ่มขึ้น
แผลมักจะเกิดบริเวณรอยต่อของกระเพาะอาหารส่วนกลางและส่วนปลาย ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการอักเสบมาก
เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ยังมีหน้าที่หลั่งสารที่เรียกว่า Intrinsic factor ซึ่งมีหน้าที่ช่วยในการดูดซึมวิตามินบี 12
ที่ลาไส้เล็กส่วนปลาย ซึ่งวิตามินชนิดนี้ มีความสาคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ซึ่งเมื่อมีการอักเสบของกระเพาะอาหาร
จึงมีจานวนเซลล์ชนิดนี้ลดลง จึงส่งผลให้การดูดซึมวิตามินบี 12 ลดลง ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจางชนิด Pernicious anemia
(โลหิตจางจากขาดวิตามินบี 12) ได้นอกจากนี้ หากการหลั่งกรดลดลงมาก
กระเพาะอาหารก็จะอยู่ในสภาพที่แทบไม่มีความเป็นกรด (Hypochlorhydria)
ซึ่งมีผลให้การดูดซึมธาตุเหล็กที่ลาไส้เล็กลดลงเช่นกัน ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency
anemia) ร่วมได้อีกด้วย
การอักเสบของเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหารที่เกิดต่อเนื่องยาวนาน ทาให้สารพันธุกรรมบางตัวถูกทาให้เสียหาย
หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงไป หากมีจานวนเซลล์ที่มีสารพันธุกรรมที่เสียหาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงนี้มากขึ้นเรื่อยๆ
ก็มีโอกาสพัฒนากลายเป็นเซลล์มะเร็งได้ในที่ สุด โดยจะเกิดเป็นมะเร็งของเยื่อบุผิวชนิด Adenocarcinoma
(มะเร็งกระเพาะอาหาร) หรือ มะ เร็งต่อมน้าเหลืองของกระเพาะอาหาร ชนิด Mucosa-associated lymphoid tissue lympho
ma (MALT lymphoma)
นอกจากนี้ มีรายงานว่า การติดเชื้อ H.pylori อาจมีความเกี่ยวข้องในการทาให้เกิดโรคอื่นๆด้วย เช่น
โรค/ภาวะเกล็ดเลือดต่าชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Idiopathic thrombocytopenic purpura) โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
โรคหลอดเลือดสมอง แต่หลักฐานและพยาธิสภาพในการเกิดโรคมะเร็งเหล่านี้ยังไม่ชัดเจน ต้องรอการศึกษาต่อไป
การรักษาเพื่อกาจัดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร
การรักษาโดยทั่วไปในปัจจุบัน จะมีการตรวจหาเชื้อ เอช.ไพโลไร
ในผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร จะมีการรักษาเพื่อกาจัดเชื้อเอช.ไพโลไร ด้วยเสมอ
โดยการรักษาที่นิยมใช้กันมาก และมีประสิทธิภาพสูง ได้แก่ การใช้ยาลดการหลั่งกรด 1 ชนิด ร่วมกับยาปฏิชีวนะอีก 2 ชนิด
เป็นระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ ซึ่งพบว่าสามารถกาจัดเชื้อได้มากกว่า 90% และภายหลังจากการหยุดรักษาไปแล้ว 4 สัปดาห์
ก็จะไม่พบเชื้อเอช.ไพโลไรนี้อีก // การรักษาโรคติดเชื้อเอชไพโลไร คือ การให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อ ร่วมกับการให้ยาลดกรด
จะให้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการส่องกล้อง และตรวจพบแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น
ร่วมกับการตรวจพบเชื้อเอช ไพโลไร หรือให้ในผู้ป่วยที่มีอาการของโรคกระเพาะอาหาร แล้วไม่ได้ส่องกล้องตรวจ
แต่ตรวจพบเชื้อ เอช ไพโลไร ด้วยวิธีต่างๆดังกล่าวในหัวข้อ การวินิจ ฉัย
ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาเชื้อแบคทีเรีย จะประกอบด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 2 ชนิด การใช้ยาชนิดเดียวพบว่า
ไม่สามารถกาจัดเชื้อแบคทีเรียได้นอกจากนี้ จะต้องให้ยาลดกรดควบคู่ไปด้วย การให้ยาจะอยู่ในรูปแบบรับประทาน
โดยให้นานประมาณ 7-14 วัน หลังจากนั้นประมาณ 1 เดือน จะตรวจดูอีกครั้งว่า ยังมีเชื้อแบคทีเรียอีกหรือไม่ ซึ่งอาจใช้วิธี
Urea breath test หรือ Stool antigen test หากยังพบเชื้ออยู่จะต้องรักษาอีกครั้ง โดยเปลี่ยนชนิดยาปฏิชีวนะที่ให้
หลังจากนั้นก็จะตรวจซ้าเช่นเดิม หากยังไม่หาย ต้องมีการนาเชื้อแบคทีเรียไปเพาะเชื้อ เพื่อทด
สอบความไวของยาปฏิชีวนะต่อเชื้อ
สาหรับโรคมะเร็งต่อมน้าเหลืองของกระเพาะอาหารชนิด (MALT lymphoma) ที่ตรวจพบเชื้อ เอช ไพโลไร
พบว่าการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ มีโอกาสทาให้โรคหายได้ส่วนโรคมะเร็งกระเพาะอาหารชนิด Adenocarcinoma
การให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อไม่สามารถทาให้โรคหายได้ผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ การผ่าตัด
การให้ยาเคมีบาบัด การฉายรังสีรักษา
ทาอย่างไร เพื่อไม่ให้เป็นโรคกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น มักเป็นโรคเรื้อรังเมื่อรักษาแผลหายแล้วยังมีโอกาสเป็นซ้าได้อีก
ทั้งนี้ควรปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้
- รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย
- รับประทานอาหารตรงตามเวลาทุกมื้อ .
- รับประทานอาหารจานวนน้อยๆ แต่บ่อย ไม่ควรรับประทานจนอิ่มในแต่ละมื้อ
- หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ของดอง น้าอัดลม
- งดบุหรี่ และงดดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์
- ควรระมัดระวังการใช้ยาแอสไพริน และยาแก้ปวดข้อ ปวดกระดูกทุกชนิด รวมถึงควรอยู่ในความดูแลของแพทย์
- ผ่อนคลายความเครียดและวิตกกังวลทั้งหลาย
- ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
- ถ้ามีอาการของภาวะแทรกซ้อน เช่น อาเจียนเป็นเลือด, ถ่ายอุจจาระดา, ปวดท้องอย่างรุนแรง หรือเบื่ออาหาร
น้าหนักลดลงมาก ควรรีบไปพบแพทย์ // การดูแลตนเองและการป้ องกันการติดเชื้อเอชไพโลไร ได้แก่
 การดูแลสุขอนามัยที่ดี ด้วยการรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ)
จะช่วยลดโอกาสในการติดเชื้อลงได้บ้าง
 ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีเชื้อ เอช ไพโลไร และได้รับยาปฏิชีวนะรักษา การกินยาให้ครบตามจานวนวันที่กาหนด
เป็นสิ่งสาคัญ เพราะเชื้อมีโอกาสดื้อยาได้ง่าย ทาให้การรักษาอาจไม่ได้ผล
 มีการคิดค้นวัคซีนสาหรับป้ องกันการติดเชื้อ เอช ไพโลไร ซึ่งพบว่า มีประสิทธิ
ภาพเพียงพอที่จะป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้น
รวมทั้งมะเร็งของกระเพาะอาหารได้แต่เนื่องจากมีการศึกษาบางการศึกษา พบว่า ในกลุ่มผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไพโลไร
มีอัตราการป่วยเป็นโรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal reflux disease, GERD) ลดลง
รวมถึงโรคที่เกี่ยวเนื่องจากกรดไหลย้อน ซึ่งคือมะเร็งหลอดอาหารในส่วนล่างที่อยู่ติดกับกระ เพาะอาหาร
ก็พบน้อยกว่าด้วย จึงเป็นไปได้ว่า เชื้อแบคทีเรีย เอช ไพโลไร สามารถป้ องกันการเกิดโรคเหล่านี้ได้
ทาให้การฉีดวัคซีนยังไม่ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวาง
เนื่องจากหากนามาใช้จนผู้ที่ติดเชื้อแบคทีเรียมีจานวนลดน้อยลงมากแล้ว
อาจพบโรคกรดไหลย้อนและมะเร็งของหลอดอาหารส่วนล่างเพิ่มมากขึ้นแทน
อีกทั้งเชื้อชนิดนี้อาศัยอยู่กับมนุษย์มานานมากแล้ว การกาจัดเชื้อให้หมดไป
อาจทาให้มนุษย์เราพบโรคบางอย่างอื่นๆเพิ่มมาแทนก็ได้
 ด้วยเหตุผลเดียวกับข้างต้น การตรวจคัดกรองเพื่อหาเชื้อ H.pylori
และ/หรือการกินยาปฏิชีวนะเพื่อป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก และมะเร็งกระเพาะอา
หารในผู้ที่ตรวจพบเชื้อนั้น จึงไม่แนะนาให้ปฏิบัติ
ข้อควรระวัง
1.ผู้ที่ได้รับยาปฏิชีวนะรักษาจนเชื้อแบคทีเรียหาย มีโอกาสติดเชื้อซ้าได้อีก แต่ค่อน ข้างน้อย
โดยการติดเชื้อซ้ามักจะเกิดในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
2.ผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น แล้วไม่ได้รับการรักษา
หากมีการเสียเลือดจากการมีเลือดออกจากแผล เป็นเวลานานๆ จะทาให้เกิดภาวะโลหิตจาง/ภาวะซีดได้
ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการ อ่อนเพลีย และเหนื่อยง่าย ในบางครั้งหากมีเลือดออกปริ มาณมาก ผู้ป่วยก็จะแน่นท้อง
และอาจอาเจียนออกมาเห็นเป็นสีกาแฟได้เรียก Coffee ground ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการใจสั่น หน้ามืด
มีความดันโลหิตต่า จนถึงช็อก หมดสติ ได้
**
ลักษณะทั่วไป
คาว่า "โรคกระเพาะ" ตามความหมายของแพทย์ หมายถึง แผลที่เกิดบนเยื่อบุกระเพาะอาหาร (stomach)
หรือลาไส้เล็กส่วนต้นหรือดูโอดีนัม (duodenum) ตรงกับคาว่า แผลเพ็ปติก (Peptic ulcer) แต่เนื่องจาก
เรามักจะวินิจฉัย ผู้ที่มีอาการปวดท้องตรงยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ที่เกิดก่อนหรือหลังกินอาหารว่าเป็น "โรคกระเพาะ"
โดยไม่มีการตรวจยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจ หรือเอกซเรย์โดยการกลืนแป้ งแบเรียม ดังนั้น จึงมีความหมาย
ครอบคลุมกว้างขวางมากกว่า แผลเพ็ปติกเพียงอย่างเดียว และคงใกล้เคียงกับความหมายของคาว่า "อาหารไม
่่ย่อย" ซึ่งมีสาเหตุอันหลากหลายดังนั้นในที่นี้ จะขอใช้คาว่า แผลเพ็ปติก เมื่อกล่าวถึงโรคแผลที่ลาไส้เล็กส่วน
ต้นหรือแผล ดียู(Duodenal ulcer/DU) และโรคแผลที่กระเพาะอาหาร หรือแผลจียู(Gastric ulcer/
GU) แผลเพ็ปติก เป็นโรคที่พบได้บ่อย ประมาณ 10-20% ของคนทั่วไปจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ในช่วงใดช่วง
หนึ่งของชีวิต แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (ดียู) พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ประมาณ 2-4 เท่า และพบมากในช่วง
อายุประมาณ 30-55 ปี ขณะที่แผลที่กระเพาะอาหาร พบในผู้ชายพอ ๆ กับผู้หญิง และพบในช่วงอายุประมาณ
55-70 ปี แต่ทั้ง 2 โรคนี้ก็สามารถพบได้ในคนทุกวัย
สาเหตุ
แผลเพ็ปติก เกิดจากความเสียสมดุลระหว่าง ปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรด
ของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ ถ้าหากมีการหลั่งกรดมากเกิน หรือความต้านทานต่อกรดลดลง ก็ทาให้
เกิดแผลเพ็ปติกขึ้นได้ในปัจจุบัน พบว่าสาเหตุสาคัญของการเกิดแผลเพ็ปติก ได้แก่
1. การติดเชื้อเอชไพโลไร (H. pylori) ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ สันนิษฐานว่า ติดต่อโดยการกินอาหาร
หรือน้าดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อจากอุจจาระของผู้ติดเชื้อ แล้วเข้าไปฝังตัวอยู่ใต้เยื่อบุกระเพาะ ในระยะแรก อาจทา
ให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบ ซึ่งจะเป็นเรื้อรังนานเป็นแรมปี หรือนับเป็นสิบ ๆ ปี ต่อมา ทาให้กลายเป็น
แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (พบเชื้อนี้ในผู้ที่เป็นแผลชนิดนี้ ถึง 95-100%) และแผลที่กระเพาะอาหาร (พบเชื้อ
นี้ในผู้ที่เป็นแผลชนิดนี้ถึง 75-85%) ในการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยแผลเพ็ปติกด้วยการส่องกล้องตรวจ
กระเพาะอาหารและลาไส้ พบว่า การรักษาโรคแผลเพ็ปติกโดยวิธีดั้งเดิม (ให้ยาลดกรด และยาลดการสร้างกรด
นั้น ผู้ป่วยจะมีแผลกาเริบถึง 70-85% ใน 1 ปี แต่ในกลุ่มที่ได้ยาปฏิชีวนะกาจัดเชื้อเอชไพโลไร
ตามวิธีการรักษาแนวใหม่ จะมีแผลกาเริบน้อยกว่า 5% ใน 1 ปัดังนั้นในวงการแพทย์ปัจจุบัน จึงยอมรับว่าเชื้อ
นี้เป็นตัวการสาคัญของโรคแผลเพ็ปติก ถึงแม้จะยังไม่มีความชัดเจน ในกลไกของการทาให้เกิดแผลเพ็ปติก
จากเชื้อนี้ก็ตาม (บ้างสันนิษฐานว่า เชื้อชนิดนี้ ทาให้กลไกในการต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ลดลง)
2. การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ได้แก่ แอสไพริน และกลุ่มยาแก้ปวดข้อ (เช่น อินโดเมทาซิน,
ไอบูโพรเฟน, นาโพรเซน ฯลฯ) พบว่าผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นประจา จะมีโอกาสเป็น แผลที่กระเพาะอาหาร
10-30% และแผลที่ลาไส้ส่วนต้น 2-20% และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เลือดออก แผลทะลุ
มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใช้ยากลุ่มนี้ถึง 3 เท่า ประมาณ 1-2% ของผู้ใช้ยากลุ่มนี้เป็นประจา จะเกิดภาวะ
แทรกซ้อนภายใน 1 ปี ยานี้จะระคายต่อเยื่อบุกระเพาะอาหารโดยตรง และทาลายกลไกในการต้านทาน
ต่อกรด ของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้
กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติกจากยากลุ่มนี้ ได้แก่ ผู้สูงอายุ, ผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้ในขนาดสูง, ผู้ที่ใช้ยากลุ่ม
นี้นาน ๆ, ผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้ร่วมกับสเตอรอยด์, ผู้ที่มีประวัติเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อน, ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย
รุนแรง
3. ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ บางอย่างอาจมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคนี้ แต่บางอย่างอาจไม่มีความสัมพันธ์โดย
ตรง เช่น
- ประวัติการมีญาติพี่น้องเป็นแผลเพ็ปติก (อาจเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์) ทาให้มีโอกาสเป็นโรคนี้มากขึ้น
เป็น 3 เท่า
- การสูบบุหรี่ เพิ่มโอกาสของการเป็นแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ทาให้การรักษาได้ผลช้า และทาให้เกิดภาวะ
แทรกซ้อนได้มากขึ้น
- ผู้ที่มีเลือดกลุ่มโอ อาจเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นมากกว่าปกติ
- ความเครียดทางอารมณ์ ยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนว่า เป็นสาเหตุของการเกิดแผลเพ็ปติกโดยฃตรง แต่เป็น
ปัจจัยที่ทาให้ผู้ป่วยโรคนี้เป็นแผลกาเริบได้
- แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ยังอาจพบร่วมกับโรคอื่น ๆ เช่น ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากเกิน
(Hyperparathyroidism) ซึ่งจะมีภาวะแคลเซียมสูง และแคลเซียมกระตุ้นให้กระเพาะ
อาหารหลั่งกรดมาก, กลุ่มอาการซอลลิงเกอร์-เอลลิสัน (Zollinger-Ellison syndrome) ซึ่ง
เป็นเนื้องอกในตับอ่อนและลาไส้เล็กส่วนต้น ทาให้มีการหลั่งกรดและน้าย่อยมากเกิน, ภาวะไตวาย
เรื้อรัง, ตับแข็งจากพิษแอลกอฮอล์, ถุงลมพอง เป็นต้น
- แอลกอฮอล์(ซึ่งเป็นสาเหตุของกระเพาะอักเสบชนิดเยื่อบุกร่อน ทาให้มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร)
สเตอรอยด์และกาเฟอีน ยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นสาเหตุของแผลเพ็ปติกโดยตรง แต่ก็อาจทาให้
ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้เป็นแผลกาเริบได้จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเหล่านี้ในผู้ป่วยแผลเพ็ปติก
- อาหารทุกชนิด ไม่เป็นสาเหตุโดยตรงของการเกิดแผลเพ็ปติก แต่ถ้ากินแล้วทาให้มีอาการกาเริบ
(เช่นอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้าส้ม น้าผลไม้) ก็ควรจะหลีกเลี่ยง
อาการ
มักมีอาการปวดท้องเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอก หรือใต้ลิ้นปี่ บางคนอาจค่อนมา
ทางขวาหรือซ้ายก็ได้เวลาที่ปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น ก่อนหรือหลังอาหาร ลักษณะการ
ปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าวก่อนเวลาอาหาร บางครั้งอาจมีอาการ
คลื่นไส้อาเจียน หรือเรอเปรี้ยวร่วมด้วย ในผู้ป่วยที่มีแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น
มักมีอาการปวดท้อง หลังอาหารประมาณ 1-3 ชั่วโมง หรือขณะท้องว่าง โดยมากจะเริ่มปวดตอน
สาย ๆ หลังกินข้าวแล้ว จะปวดมากขึ้น
ในช่วงบ่าย ๆ เย็น ๆ และอาจปวดมากตอนดึก ๆ จนต้องตื่นนอนหรือนอนไม่หลับ อาการปวดมักจะดีขึ้น
ทันทีหลังกินอาหาร ดื่มนม กินยาลดกรด หรืออาเจียน ถ้าแผลลุกลามไปที่ตับอ่อน
อาจทาให้มีอาการปวดหลังร่วมด้วย และไม่หายปวดท้องหลังกินอาหาร ในผู้ป่วยที่มีแผลที่กระเพาะ
อาหาร มักมีอาการปวดท้องหลังอาหาร ประมาณ 1/2-1 ชั่วโมง บางคนอาจมีอาการเบื่ออาหาร
(ไม่อยากกิน เพราะกลัวปวดท้อง) และน้าหนักลด อาการปวดท้องมักเป็นอยู่นานหลายสัปดาห์ แล้ว
อาจหายไปได้เอง แต่ก็มักจะมีอาการกาเริบภายใน 1-2 ปี เป็นส่วนใหญ่
อย่างไรก็ตาม ลักษณะอาการของผู้ป่วยแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น กับแผลที่กระเพาะอาหาร บางครั้งก็
อาจจะแยกกันไม่ได้ชัดเจนเช่น อาการปวดท้องตอนดึก ก็อาจเกิดในผู้ป่วยแผลที่กระเพาะอาหารก็ได้
เช่นกัน ผู้ป่วยบางคนอาจเป็นแผลเพ็ปติกโดยไม่มีอาการแสดงก็ได้เช่น พบว่า กลุ่มที่เป็นแผลจาก
ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ มีประมาณ 50% ที่ไม่ปรากฎอาการ หรือผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
(เช่น ถ่ายดา) โดยไม่มีอาการปวดท้องมาก่อนก็ได้
การวินิจฉัยที่แน่นอน ต้องอาศัยการส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลาไส้ หรือเอกซเรย์โดยการ
กลืนแป้ งแบเรียม
สิ่งตรวจพบ
ส่วนมากมักตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติอะไร บางคนอาจรู้สึกกดเจ็บเล็กน้อย ตรงบริเวณลิ้นปี่
ในรายที่มีเลือดออก (เช่น ถ่ายดา) อาจตรวจพบอาการซีด
อาการแทรกซ้อน
ถ้าปล่อยให้เป็นเรื้อรัง อาจมีอาการแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ที่พบบ่อย ก็คือ ภาวะเลือดออกใน
กระเพาะอาหาร หรือ ลาไส้เล็กส่วนต้น ผู้ป่วยจะมีอาการอาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายอุจจาระดา
ส่วนมากเลือดจะออกไม่มากและหยุดได้เอง ส่วนน้อยอาจมีเลือดออกมาก จนบางครั้งเกิด
ภาวะช็อก ถ้าเลือดออกเรื้อรัง ก็อาจเกิดภาวะโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กได้บางราย
แผลอาจกินลึกจนเป็นรูทะลุเรียกว่า แผลเพ็ปติกทะลุ (Peptic perforation) ซึ่งอาจทาฃให้
มีเยื่อบุช่องท้องอักเสบร่วมด้วยได้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องรุนแรง และหน้าท้องแข็ง ควร
ได้รับการผ่าตัด แก้ไขโดยด่วน บางรายอาจมีภาวะกระเพาะหรือลาไส้ตีบตัน มีอาการปวด
ท้องรุนแรง อาเจียนรุนแรง และท้องผูกในรายที่แผลกินลึกไปถึงตับอ่อน อาจทาให้มีอาการ
ปวดหลัง หรือมีอาการของตับอ่อนอักเสบร่วมด้วย ผู้ที่เป็นแผลที่กระเพาะอาหารเรื้อรังจาก
เชื้อเอชไพโลไร ก็อาจมีโอกาสกลายเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร ได้
การรักษา
1. ถ้ามีอาการอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดา ควรส่งโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง (ถ้ามีอา
การหน้ามืดเป็นลม หรือช็อก ควรส่งโรงพยาบาลทันที) ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
แล้วทาการตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ
2. ถ้ามีอาการปวดท้องรุนแรง ปวดท้องติดต่อกันนานเกิน 6 ชั่วโมง อาเจียนรุนแรง หรือมี
อาการท้องแข็งควรส่งโรงพยาบาลด่วน ถ้าตรวจพบว่ามีภาวะแผลเพ็ปติกทะลุ หรือ กระเพาะ
หรือลาไส้ตีบตัน จาเป็นต้องผ่าตัดด่วน
3. ถ้ามีอาการปวดแสบ หรือจุกเสียดตรงใต้ลิ้นปี่ก่อนหรือหลังอาหาร หรือตอนดึก ๆ เป็นครั้ง
แรก ให้ยาลดกรด ร่วมกับยาลดการสร้างกรด-ไซเมทิดีน นาน 2 สัปดาห์ ถ้าดีขึ้นกินต่อจน
ครบ 6-8 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้น หรือมีอาการกาเริบ หรือน้าหนักลด ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
เพื่อตรวจหาสาเหตุในการวินิจฉัยแผลเพ็ปติก จาเป็นต้องอาศัยการตรวจพิเศษ เช่น การส่อง
กล้อง (endoscope) ตรวจดูกระเพาะอาหาร และลาไส้, การเอกซเรย์กระเพาะลาไส้โดยการ
กลืนแป้ งแบเรียม, การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์ (biopsy),การเพาะเชื้อหาเชื้อเอชไพโลไร เป็นต้น
การรักษานอกจากให้ยาลดกรด บรรเทาอาการแล้ว ยังต้องให้ยารักษาแผลเพ็ปติกกลุ่มอื่น ๆ
ซึ่งขึ้นกับสาเหตุของ การเกิดโรค ตามแนวทางโดยคร่าว ๆ ดังนี้
ก. แผลเพ็ปติกที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไพโลไร การรักษามีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรเทาอาการ
ปวดท้องรักษาแผลให้หายและกาจัดเชื้อเอชไพโลไร โดยให้ยาดังนี้
(1) ยาลดการสร้างกรดออกฤทธิ์แรง (กลุ่ม proton pump inhibitors) ได้แก่ โอเมพราโซล
(Omeprazole) มีชื่อทางการค้า เช่น โลเซก (Losec), ไมราซิด (Miracid) ครั้งละ 20 มก.
(1 แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็นร่วมกัน
(2) ยาปฏิชีวนะ 2 ชนิดร่วมกัน สูตรใดสูตรหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (โดยกินพร้อมอาหาร)
(2.1) เมโทรไนดาโซล ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้ง และคลาริโทรไมซิน (Clarithromycin)
ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้ง หรือ
(2.2) อะม็อกซีซิลลิน ครั้งละ 1,000 มก. วันละ 2 ครั้ง และคลาริโทรไมซิน ครั้งละ 500 มก.
วันละ 2 ครั้งหรือ
(2.3) อะม็อกซีซิลลิน ครั้งละ 1,000 มก. วันละ 2 ครั้ง และเมโทรไนดาโซล ครั้งละ 500 มก.
วันละ 2 ครั้ง
(2.4) เตตราไซคลีน 500 มก. วันละ 4 ครั้ง และเมโทรไนดาโซล ครั้งละ 250 มก. วันละ 4
ครั้ง ร่วมกับบิสมัท ซับซาลิไซเลต (Bismuth subsalicylate) ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง
ทั้งหมดนี้ กินทุกวัน ติดต่อกันนาน 7 วัน หลังจากนั้น ให้กินโอเมพราโซล หรือ ยาต้านเอช-2
(เช่น ไซเมทิดีน, รานิทิดีน) นาน 4-8 สัปดาห์
ข. แผลเพ็ปติกที่ไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไพโลไร เป็นแผลเพ็ปติกที่ตรวจไม่พบการอักเสบจากเชื้อ
เอชไพโลไร อาจมีสาเหตุจากการใช้ยาแอสไพริน หรือยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ควรให้การ
รักษาด้วยยาชนิดใดชนิดหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(1) โอเมพราโซล 20 มก. วันละครั้ง นาน 4 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ที่ไม่มีภาวะ
แทรกซ้อน) หรือ 20 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 6-8 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่กระเพาะอาหาร หรือ
แผลเพ็ปติกที่มีภาวะแทรกซ้อน)
(2) ยาต้านเอช-2 เช่น ไซเมทิดีน 800 มก. หรือรานิทิดีน (Ranitidine) 300 มก. วันละครั้ง
ก่อนนอนนาน 6 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน) หรือไซเมทิดีน
400 มก. หรือรานิทิดีน 150 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 8-12 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่กระเพาะอาหาร)
ส่วนแผลเพ็ปติกที่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่แนะนาให้ใช้ยากลุ่มนี้
(3) ซูคราลเฟต (Sucralfate) ซึ่งเป็นยาปกป้ องเยื่อบุกระเพาะลาไส้ ให้ครั้งละ 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง
สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ค. ในรายที่เป็นเรื้อรัง หรือเคยมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น หรือผู้สูงอายุ หรือยังสูบบุหรี่ อาจจาเป็นต้อง
กินยาต้านเอช-2 เช่น ไซเมทิดีน 400-800 มก. หรือรานิทิดีน 150-300 มก. วันละครั้ง ก่อนนอน
ทุกวันติดต่อกันไปอีกสักระยะหนึ่ง (3-6 เดือนหรือเป็นปี) และอาจต้องใช้กล้องส่องตรวจ
และตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์ซ้า จนกว่าแผลจะหายดี ถ้าแผลเรื้อรัง ไม่ยอมหาย อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
ข้อแนะนา
1. ผู้ป่วยที่เริ่มให้การรักษาด้วยยารักษาแผลเพ็ปติก ถ้ายังมีอาการปวดท้อง ควรให้ยาลดกรด ช่วย
บรรเทาอาการครั้งละ 15-30 มล. เวลามีอาการ ร่วมกับยารักษาแผลเพ็ปติกกลุ่มอื่น ๆ จนกว่าจะ
หายปวดท้อง
2. สาหรับผู้ป่วย ควรมีข้อปฏิบัติ ดังนี้
2.1 กินอาหารให้ตรงเวลาทุกมื้อ อย่าปล่อยให้หิว
2.2 งดบุหรี่ แอลกอฮอล์ชา กาแฟหรือเครื่องดื่มกาเฟอีน น้าอัดลม
2.3 หลีกเลี่ยงการใช้แอสไพริน ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตอรอยด์, ยาสเตอรอยด์
2.4 อาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้าส้ม น้าผลไม้ถ้ากินแล้วมีอาการปวดท้องกาเริบ ควรงดจน
กว่าจะหายดี
2.5 ออกกาลังกายเป็นประจา และหาวิธีผ่อนคลายความเครียด (ถ้าเครียด)
2.6 ควรกินยาอย่างต่อเนื่อง และพบแพทย์ตามนัด การกินยาไม่ต่อเนื่อง อาจทาให้กลายเป็น
แผลเรื้อรังและรักษายาก หรือมีภาวะแทรกซ้อนได้
การป้ องกัน
ผู้ป่วยที่กินยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติก (เช่น ผู้สูงอายุ,
ผู้ที่ต้องใช้ยานี้ในขนาดสูง หรือนาน ๆ หรือใช้ร่วมกับยาสเตอรอยด์, ผู้ที่เคยเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อน )
ควรให้กินยาป้ องกันควบคู่ด้วย เช่น ไมโซพรอสตอล (Misoprostol) 100- 200 ไมโครกรัม
วันละ 4 ครั้ง ยานี้จัดอยู่ในกลุ่มพรอสตาแกลนดิน กินแล้วอาจทาให้ปวดท้อง ท้องเดิน และไม่ควร
ใช้ในหญิงตั้งครรภ์เพราะอาจทาให้แท้งได้ในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาดังกล่าวไม่ได้หรือมีผลข้างเคียง
มาก ให้ใช้โอเมพราโซลครั้งละ 20 มก. วันละ 2 ครั้ง หรือ กินยาลดกรด 30 มล. วันละ 7 ครั้ง
นอกจากนี้ ยังอาจจาเป็นต้องเปลี่ยนไปใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ตัวใหม่ ๆ ที่มีผลต่อการ
เกิดแผลเพ็ปติกน้อย เช่นซาลซาเลต (Salsalate), อีโทโดแล็ก (Etodolac), นาบูมีโทน
(Nabumetone) เป็นต้น

More Related Content

Similar to อาการ

การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลan1030
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaissoshepatites
 
Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies Utai Sukviwatsirikul
 
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนUtai Sukviwatsirikul
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)Nattanara Somtakaew
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ไทเก็ก นครสวรรค์
 

Similar to อาการ (18)

การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Functional dyspepsia its causes and therapies
Functional dyspepsia  its causes and therapies Functional dyspepsia  its causes and therapies
Functional dyspepsia its causes and therapies
 
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 

อาการ

  • 1. อาการ ผู้ป่วยจะรู้สึกปวด จุก เสียด แน่นท้องและบริเวณยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ ซึ่งหากแพทย์ให้ยาลดกรดแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น แพทย์ก็จะใช้วิธีการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย H. pylori ด้วยการส่องกล้องและตัดชิ้นเนื้อจากเนื้อเยื่อบุกระเพาะอาหารมาตรวจ // สาหรับ อาการโดยส่วนใหญ่ของโรคกระเพาะอาหาร คือ อาการจุกแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย หรือมีประวัติปวดท้องเรื้อรังมานาน โดยสุขภาพทั่วไปไม่ทรุดโทรม อาการปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น หิวแล้วปวด อิ่มแล้วปวด บางรายอาจมีอาการปวดแสบท้อง หรือมาโรงพยาบาลด้วยอาการแทรกซ้อนจากแผลในกระเพาะอาหาร และลาไส้ เช่น ถ่ายอุจจาระมีสีดา อาเจียนเป็นเลือด เป็นต้น การตรวจหาเชื้อ เอช.ไพโลไร // วินิจฉัย โดยทั่วไป เมื่อผู้ป่วยมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดแน่นท้อง จุกเสียดลิ้นปี่ ท้องอืด มักได้รับการวินิจฉัยจากอาการเหล่านี้ว่า เป็นโรคกระเพาะอาหาร ซึ่งอาจเกิดจากการอักเสบของกระเพาะอาหาร หรือมีแผลในกระเพาะอาหาร หรือมีแผลในลาไส้เล็กส่วนต้น ส่วนสาเหตุที่ทาให้เกิด อาจเป็นผลจากการติดเชื้อเอชไพโลไร หรือจากสาเหตุอื่นๆก็ได้เช่น การใช้ยาแก้ปวดลดอักเสบกลุ่ม เอ็นเสด (NSAIDs) เป็นเวลาต่อเนื่องยาวนาน เป็นต้น ดังนั้นในเบื้องต้น แพทย์จะทาการรักษาโดยการให้ยาลดกรด ยาลดอาการปวดท้อง และให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่อาจเป็นสาเหตุไปก่อน หากอาการของผู้ป่วยเป็นเรื้อรัง ไม่ดีขึ้น อาการรุนแรง หรือมีอาการที่น่าสง สัยว่าอาจเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร จึงจะใช้การตรวจด้วยการส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้น (Gastroscope) ร่วมกับการตัดชิ้นเนื้อจากรอยโรคที่พบจากการส่องกล้องเพื่อพิสูจน์ว่าผู้ป่วยมีแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น หรือไม่ และเป็นมะเร็งของกระ เพาะอาหาร รวมทั้งการพิสูจน์ว่ามีการติดเชื้อเอชไพโรไล ร่วมด้วยหรือไม่ การพิสูจน์ว่ามีการติดเชื้อเอช ไพโลไรหรือไม่นั้น ทาได้หลายวิธี ได้แก่  การตัดชิ้นเนื้อจากกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็ก แล้วนาไปตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วยวิธีที่เรียกว่า Urease test หรืออาจนาชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา ซึ่งนอกจากจะตรวจหาเชื้อแบคทีเรียได้แล้ว ยังสามารถประเมินความรุนแรงของการอักเสบ และเพื่อวินิจฉัยว่าเป็นมะ เร็งกระเพาะอาหารหรือไม่  การนาสารคัดหลั่งหรือชิ้นเนื้อจากกระเพาะอาหารไปเพาะเชื้อ วิธีนี้มักจะใช้เพื่อต้องการดูความไว/การตอบสนองของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ ในกรณีที่ให้ยาไป 2 ครั้งแล้ว เชื้อแบคทีเรียนี้ยังไม่หายไป  การให้ผู้ป่วยดื่มสารยูเรียที่มีสารกัมมันตภาพรังสี หากผู้ป่วยมีเชื้อ เอช ไพโลไร เชื้อจะไปย่อยสารยูเรีย กลายเป็นแอมโมเนียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีสารกัมมันตภาพรังสีติดอยู่ ซึ่งจะตรวจพบสารดังกล่าวจากลมหายใจออกของผู้ป่วยได้เรียกการตรวจนี้ว่า Urea breath test  การตรวจหาส่วนประกอบของเชื้อจากอุจจาระ (Stool antigen test)
  • 2. 1. การส่องกล้อง เพื่อตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนต้น ซึ่งเป็นวิธีการที่สาคัญในการตรวจและรักษา ซึ่งจะทาให้เห็นแผลได้ชัดเจน บันทึกภาพได้และยังสามารถตัดเนื้อเยื่อบริเวณกระเพาะเพื่อส่งตรวจหาเชื้อ เอช.ไพโลไรได้อีกด้วย 2.การเจาะเลือดหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ เอช.ไพโลไร เป็นการตรวจที่ง่าย ราคาถูก แต่การตรวจนี้ถ้าให้ผลบวกจะบอกได้เพียงว่ากาลังเป็นหรือเคยติดเชื้อเท่านั้น แต่ไม่สามารถใช้ติดตามผลการรักษาได้ เนื่องจากระดับแอนตี้บอดี้จะยังคงสูงอยู่เป็นเวลานาน 3.Urea Breath Test หรือการทดสอบยูเรีย หลักการคือให้กินยูเรีย ถ้ามีการติดเชื้อ เอช.ไพโลไร ซึ่งมีเอนไซม์ยูเรเอส Urease จะทาให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ (14 Co2) ซึ่งจะเข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นจะขับออกทางลมหายใจ ข้อดีคือไม่เจ็บปวด สามารถประเมินการเจริญเติบโตและแพร่กระจายเชื้อ เอช.ไพโลไรในกระเพาะอาหารได้ โดยมากใช้ตรวจติดตามหลังการรักษา 4. การตรวจอุจจาระ Fecal antigen test เป็นการตรวจหาแอนติเจนของ เอช.ไพโลไรในอุจจาระ ถือว่าเป็นวิธีที่ได้ผลดีในการตรวจเทียบเท่ากับการทดสอบยูเรีย ข้อดีคือไม่เจ็บปวด สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยเอช.ไพโลไรในการติดตามหลังการรักษาได้ดี การติดต่อของเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร สันนิษฐานกันว่าการถ่ายทอดของเชื้อเป็นจากคนสู่คน โดยผ่านทางปาก เชื้อแบคทีเรียดังกล่าวเข้าสู่ร่างกายตั้งแต่ยังเด็ก เมื่ออายุมากขึ้นจะมีความชุกของการติดเชื้อนี้เพิ่มขึ้น นอกจากนี้พบว่าการระบาดค่อนข้างสูงในชุมชนที่อยู่แออัดและในครอบครัวหรือ สถาบันเดียวกัน // สาหรับวิธีการแพร่เชื้อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งนั้นยังไม่ชัดเจน แต่คาดว่าน่าจะติดต่อกันทางน้าลาย (Oral-oral route) โดยอาจติดจากการกินอาหารโดยใช้ช้อนร่วมกัน การจูบปากกัน เป็นต้น ดังนั้น การติดต่อมักมาจากบุคคลในบ้านเป็นหลัก นอกจากนี้การกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระ (Fecal-oral route) ก็อาจทาให้ติดเชื้อได้ เพราะพบว่าสามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียเอชไพโลไร จากอุจจาระของผู้ที่มีเชื้อได้// พยาธิกาเนิดหรือกลไกในการติดเชื้อเอชไพโลไร ได้แก่ เมื่อคนเรากินอาหารที่มีเชื้อแบคทีเรียนี้เข้าไปแล้ว เชื้อก็จะเข้าสู่กระเพาะอาหารของเรา และใช้หนวดที่ยื่นยาว (Flagellum ) รวมถึงรูปร่างที่เป็นเกลียว ช่วยในการเคลื่อนไหวตัวเข้าไปอยู่ในชั้นเยื่อเมือก (Mucous) ที่เคลือบอยู่บนเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร และเข้าไปเกาะอยู่กับเซลล์เยื่อบุผิว ทั้งนี้การอยู่ในชั้นเยื่อเมือก จะช่วยป้ องกันไม่ให้แบคทีเรียถูกขับออกไปจากกระเพาะอาหาร จากการบีบรัดตัวของกระเพาะอาหารเวลาย่อยอาหาร อีกทั้งค่าความเป็นกรดในชั้นเยื่อเมือกนี้ก็จะไม่เป็นกรดมากเท่าบริเวณที่อยู่นอกชั้นเยื่อเมือก นอกจากนี้แบคทีเรียนี้ยังมีเอนไซม์ชื่อ Urease ที่สามารถย่อยสลายสารยูเรียที่มีอยู่ในกระเพาะอาหาร ให้กลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย ซึ่งช่วยให้เกิดภาวะความเป็นด่าง ช่วยทาให้ความเป็นกรดรอบๆตัวของแบคทีเรียอ่อนลงได้ แบคทีเรียชนิดนี้จึงสามารถเอาตัวรอดอาศัยอยู่ในกระเพาะอาหารของเราได้เมื่อมีแบคทีเรียเข้ามาในร่างกาย
  • 3. ร่างกายก็พยายามจะกาจัดเชื้อแบคทีเรีย ทั้งการส่งเม็ดเลือดขาว และสร้างแอนติบอดี/สารภูมิต้านทาน (Antibody) มาเพื่อทาลายแบคทีเรีย แต่ก็ไม่สามารถกาจัดแบคทีเรียนี้ได้ เชื้อ เอช ไพโลไร มีอยู่หลายชนิดย่อย แต่ละชนิดย่อยมีความแตกต่างในการสร้างชนิดโปรตีน และสารเคมีที่มีปฏิกิริยาต่อเซลล์เยื่อบุผิวที่แตกต่างกันไป แต่โดยภาพรวมแล้ว โปรตีนและสารเคมีที่สร้างขึ้นมา จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆที่อยู่ในกระแสเลือด เดินทางมาที่บริเวณเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร และปล่อยสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบออก มา เซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารก็จะเกิดการอักเสบ เชื้อชนิดย่อยๆบางชนิด สามารถกระตุ้นการอักเสบได้รุนแรง และทาให้มีโอกาสเป็นแผลในกระเพาะอาหารหรือในลาไส้เล็กส่วนต้นได้มาก กว่าชนิดย่อยๆอื่นๆ เช่น ชนิดย่อยที่มีสารพันธุกรรมที่เรียกว่า Cag pathology island (cag PAI ) ดังนั้นในผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไพโลไร ทุกราย จะมีการอักเสบของเซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารเกิดขึ้น เรียกว่า กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) ซึ่งการอักเสบจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อ และชนิดย่อยของเชื้อ ทั้งนี้ การอักเสบจะเกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีเชื้ออยู่ใน ขณะที่มีผู้ติดเชื้อเพียง 15% ที่จะเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (Gastric ulcer) หรือแผลในลา ไส้เล็กส่วนต้น (Duodenal ulcer) ที่รวมเรียกว่า แผลเปบติค (Peptic ulcer) หรือกลายเป็นมะ เร็งกระเพาะอาหาร ซึ่งการจะเกิดโรคเหล่านี้ ต้องมีปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน ทั้งปัจจัยจากเชื้อแบคทีเรีย ที่มักเกิดจากชนิดย่อยที่มีความรุนแรงในการทาให้เกิดการอักเสบ, ปัจจัยจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคในผู้ติดเชื้อแต่ละคน, และปัจจัยภายนอกอื่นๆที่ร่วมกระตุ้นให้เกิดโรคนั้นๆได้มากขึ้น เช่น การดื่มแอลกอฮอล์การดื่ม ชา กาแฟ การกินยาแก้ปวดลดอักเสบกลุ่ม เอ็นเสด (NSAIDs) การสูบบุหรี่ การกินอาหารที่มีสารไนโตรซามีน (Nitosa mine) ซึ่งมักพบในปลาเค็ม แหนม ไส้กรอก หมูยอ ปลาส้ม เป็นต้น กลไกในการเกิดแผลในลาไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum) เริ่มจากเมื่อมีการอักเสบของเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร โดยเฉพาะบริเวณกระเพาะอาหารส่วนปลาย (Antrum) ทาให้เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่สร้างฮอร์โมน Somatostatin มีจานวนลดลง ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้จะไปยับยั้งการทางานของฮอร์โมน Gastrin เมื่อการสร้างฮอร์โมน Somatostatin ลดลง ฮอร์โมน Gastrin ก็จะเพิ่มขึ้น ฮอร์โมน Gastrin นี้จะไปกระตุ้นเซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ให้หลั่งกรดมากขึ้น อา หารจากกระเพาะอาหารที่มีความเป็นกรดสูง ก็จะเคลื่อนสู่ลาไส้เล็กส่วนต้น โดยปกติเยื่อบุผิวของลาไส้เล็กจะไม่ทนต่อความเป็นกรดสูงๆ เมื่อโดนความเป็นกรดสูงๆจากอาหารเข้าบ่อยๆ ลา ไส้เล็กก็จะสร้างเซลล์เยื่อบุผิวขึ้นมาใหม่ ซึ่งมีรูปร่างและคุณสมบัติเช่นเดียวกับเซลล์เยื่อบุกระ เพาะอาหาร เรียกว่าเกิด Gastric metaplasia เชื้อเอช ไพโลไร จากกระเพาะอาหารก็จะเข้ามาเกาะที่เซลล์เยื่อบุผิวชนิดใหม่ที่ลาไส้เล็กส่วนต้นสร้างขึ้นนี้ และทาให้เกิดการอักเสบจนกลาย เป็นแผลได้ในที่สุด ในผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหาร เริ่มต้นจากมีการอักเสบของเยื่อบุผิวบริเวณกระเพาะอาหารส่วนกลาง (Corpus) หรือมีการอักเสบในทั้งสามส่วนของกระเพาะอาหาร (ทั้ง Fundus/ส่วนต้น, Corpus/ส่วนกลาง และ Antrum/ส่วนปลาย) เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ซึ่งอยู่บริ เวณกระเพาะอาหารส่วนต้นและส่วนกลาง จะมีปริมาณลดลง และทาให้การหลั่งกรดลดลงไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากผู้ป่วยที่มีแผลในลาไส้เล็กส่วนต้นที่การหลั่งกรดจะเพิ่มขึ้น แผลมักจะเกิดบริเวณรอยต่อของกระเพาะอาหารส่วนกลางและส่วนปลาย ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการอักเสบมาก
  • 4. เซลล์เยื่อบุผิวชนิดที่หลั่งกรด ยังมีหน้าที่หลั่งสารที่เรียกว่า Intrinsic factor ซึ่งมีหน้าที่ช่วยในการดูดซึมวิตามินบี 12 ที่ลาไส้เล็กส่วนปลาย ซึ่งวิตามินชนิดนี้ มีความสาคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ซึ่งเมื่อมีการอักเสบของกระเพาะอาหาร จึงมีจานวนเซลล์ชนิดนี้ลดลง จึงส่งผลให้การดูดซึมวิตามินบี 12 ลดลง ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจางชนิด Pernicious anemia (โลหิตจางจากขาดวิตามินบี 12) ได้นอกจากนี้ หากการหลั่งกรดลดลงมาก กระเพาะอาหารก็จะอยู่ในสภาพที่แทบไม่มีความเป็นกรด (Hypochlorhydria) ซึ่งมีผลให้การดูดซึมธาตุเหล็กที่ลาไส้เล็กลดลงเช่นกัน ส่งผลให้เกิดภาวะโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia) ร่วมได้อีกด้วย การอักเสบของเยื่อบุผิวของกระเพาะอาหารที่เกิดต่อเนื่องยาวนาน ทาให้สารพันธุกรรมบางตัวถูกทาให้เสียหาย หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงไป หากมีจานวนเซลล์ที่มีสารพันธุกรรมที่เสียหาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงนี้มากขึ้นเรื่อยๆ ก็มีโอกาสพัฒนากลายเป็นเซลล์มะเร็งได้ในที่ สุด โดยจะเกิดเป็นมะเร็งของเยื่อบุผิวชนิด Adenocarcinoma (มะเร็งกระเพาะอาหาร) หรือ มะ เร็งต่อมน้าเหลืองของกระเพาะอาหาร ชนิด Mucosa-associated lymphoid tissue lympho ma (MALT lymphoma) นอกจากนี้ มีรายงานว่า การติดเชื้อ H.pylori อาจมีความเกี่ยวข้องในการทาให้เกิดโรคอื่นๆด้วย เช่น โรค/ภาวะเกล็ดเลือดต่าชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Idiopathic thrombocytopenic purpura) โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมอง แต่หลักฐานและพยาธิสภาพในการเกิดโรคมะเร็งเหล่านี้ยังไม่ชัดเจน ต้องรอการศึกษาต่อไป การรักษาเพื่อกาจัดเชื้อ เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร การรักษาโดยทั่วไปในปัจจุบัน จะมีการตรวจหาเชื้อ เอช.ไพโลไร ในผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร จะมีการรักษาเพื่อกาจัดเชื้อเอช.ไพโลไร ด้วยเสมอ โดยการรักษาที่นิยมใช้กันมาก และมีประสิทธิภาพสูง ได้แก่ การใช้ยาลดการหลั่งกรด 1 ชนิด ร่วมกับยาปฏิชีวนะอีก 2 ชนิด เป็นระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ ซึ่งพบว่าสามารถกาจัดเชื้อได้มากกว่า 90% และภายหลังจากการหยุดรักษาไปแล้ว 4 สัปดาห์ ก็จะไม่พบเชื้อเอช.ไพโลไรนี้อีก // การรักษาโรคติดเชื้อเอชไพโลไร คือ การให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อ ร่วมกับการให้ยาลดกรด จะให้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการส่องกล้อง และตรวจพบแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น ร่วมกับการตรวจพบเชื้อเอช ไพโลไร หรือให้ในผู้ป่วยที่มีอาการของโรคกระเพาะอาหาร แล้วไม่ได้ส่องกล้องตรวจ แต่ตรวจพบเชื้อ เอช ไพโลไร ด้วยวิธีต่างๆดังกล่าวในหัวข้อ การวินิจ ฉัย ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาเชื้อแบคทีเรีย จะประกอบด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 2 ชนิด การใช้ยาชนิดเดียวพบว่า ไม่สามารถกาจัดเชื้อแบคทีเรียได้นอกจากนี้ จะต้องให้ยาลดกรดควบคู่ไปด้วย การให้ยาจะอยู่ในรูปแบบรับประทาน โดยให้นานประมาณ 7-14 วัน หลังจากนั้นประมาณ 1 เดือน จะตรวจดูอีกครั้งว่า ยังมีเชื้อแบคทีเรียอีกหรือไม่ ซึ่งอาจใช้วิธี Urea breath test หรือ Stool antigen test หากยังพบเชื้ออยู่จะต้องรักษาอีกครั้ง โดยเปลี่ยนชนิดยาปฏิชีวนะที่ให้ หลังจากนั้นก็จะตรวจซ้าเช่นเดิม หากยังไม่หาย ต้องมีการนาเชื้อแบคทีเรียไปเพาะเชื้อ เพื่อทด สอบความไวของยาปฏิชีวนะต่อเชื้อ
  • 5. สาหรับโรคมะเร็งต่อมน้าเหลืองของกระเพาะอาหารชนิด (MALT lymphoma) ที่ตรวจพบเชื้อ เอช ไพโลไร พบว่าการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ มีโอกาสทาให้โรคหายได้ส่วนโรคมะเร็งกระเพาะอาหารชนิด Adenocarcinoma การให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อไม่สามารถทาให้โรคหายได้ผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ การผ่าตัด การให้ยาเคมีบาบัด การฉายรังสีรักษา ทาอย่างไร เพื่อไม่ให้เป็นโรคกระเพาะอาหาร โรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น มักเป็นโรคเรื้อรังเมื่อรักษาแผลหายแล้วยังมีโอกาสเป็นซ้าได้อีก ทั้งนี้ควรปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้ - รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย - รับประทานอาหารตรงตามเวลาทุกมื้อ . - รับประทานอาหารจานวนน้อยๆ แต่บ่อย ไม่ควรรับประทานจนอิ่มในแต่ละมื้อ - หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ของดอง น้าอัดลม - งดบุหรี่ และงดดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ - ควรระมัดระวังการใช้ยาแอสไพริน และยาแก้ปวดข้อ ปวดกระดูกทุกชนิด รวมถึงควรอยู่ในความดูแลของแพทย์ - ผ่อนคลายความเครียดและวิตกกังวลทั้งหลาย - ควรพักผ่อนให้เพียงพอ - ถ้ามีอาการของภาวะแทรกซ้อน เช่น อาเจียนเป็นเลือด, ถ่ายอุจจาระดา, ปวดท้องอย่างรุนแรง หรือเบื่ออาหาร น้าหนักลดลงมาก ควรรีบไปพบแพทย์ // การดูแลตนเองและการป้ องกันการติดเชื้อเอชไพโลไร ได้แก่  การดูแลสุขอนามัยที่ดี ด้วยการรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) จะช่วยลดโอกาสในการติดเชื้อลงได้บ้าง  ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีเชื้อ เอช ไพโลไร และได้รับยาปฏิชีวนะรักษา การกินยาให้ครบตามจานวนวันที่กาหนด เป็นสิ่งสาคัญ เพราะเชื้อมีโอกาสดื้อยาได้ง่าย ทาให้การรักษาอาจไม่ได้ผล  มีการคิดค้นวัคซีนสาหรับป้ องกันการติดเชื้อ เอช ไพโลไร ซึ่งพบว่า มีประสิทธิ ภาพเพียงพอที่จะป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้น รวมทั้งมะเร็งของกระเพาะอาหารได้แต่เนื่องจากมีการศึกษาบางการศึกษา พบว่า ในกลุ่มผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไพโลไร มีอัตราการป่วยเป็นโรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal reflux disease, GERD) ลดลง รวมถึงโรคที่เกี่ยวเนื่องจากกรดไหลย้อน ซึ่งคือมะเร็งหลอดอาหารในส่วนล่างที่อยู่ติดกับกระ เพาะอาหาร ก็พบน้อยกว่าด้วย จึงเป็นไปได้ว่า เชื้อแบคทีเรีย เอช ไพโลไร สามารถป้ องกันการเกิดโรคเหล่านี้ได้ ทาให้การฉีดวัคซีนยังไม่ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวาง เนื่องจากหากนามาใช้จนผู้ที่ติดเชื้อแบคทีเรียมีจานวนลดน้อยลงมากแล้ว อาจพบโรคกรดไหลย้อนและมะเร็งของหลอดอาหารส่วนล่างเพิ่มมากขึ้นแทน อีกทั้งเชื้อชนิดนี้อาศัยอยู่กับมนุษย์มานานมากแล้ว การกาจัดเชื้อให้หมดไป อาจทาให้มนุษย์เราพบโรคบางอย่างอื่นๆเพิ่มมาแทนก็ได้
  • 6.  ด้วยเหตุผลเดียวกับข้างต้น การตรวจคัดกรองเพื่อหาเชื้อ H.pylori และ/หรือการกินยาปฏิชีวนะเพื่อป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก และมะเร็งกระเพาะอา หารในผู้ที่ตรวจพบเชื้อนั้น จึงไม่แนะนาให้ปฏิบัติ ข้อควรระวัง 1.ผู้ที่ได้รับยาปฏิชีวนะรักษาจนเชื้อแบคทีเรียหาย มีโอกาสติดเชื้อซ้าได้อีก แต่ค่อน ข้างน้อย โดยการติดเชื้อซ้ามักจะเกิดในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 2.ผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น แล้วไม่ได้รับการรักษา หากมีการเสียเลือดจากการมีเลือดออกจากแผล เป็นเวลานานๆ จะทาให้เกิดภาวะโลหิตจาง/ภาวะซีดได้ ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการ อ่อนเพลีย และเหนื่อยง่าย ในบางครั้งหากมีเลือดออกปริ มาณมาก ผู้ป่วยก็จะแน่นท้อง และอาจอาเจียนออกมาเห็นเป็นสีกาแฟได้เรียก Coffee ground ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการใจสั่น หน้ามืด มีความดันโลหิตต่า จนถึงช็อก หมดสติ ได้ ** ลักษณะทั่วไป คาว่า "โรคกระเพาะ" ตามความหมายของแพทย์ หมายถึง แผลที่เกิดบนเยื่อบุกระเพาะอาหาร (stomach) หรือลาไส้เล็กส่วนต้นหรือดูโอดีนัม (duodenum) ตรงกับคาว่า แผลเพ็ปติก (Peptic ulcer) แต่เนื่องจาก เรามักจะวินิจฉัย ผู้ที่มีอาการปวดท้องตรงยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ที่เกิดก่อนหรือหลังกินอาหารว่าเป็น "โรคกระเพาะ" โดยไม่มีการตรวจยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจ หรือเอกซเรย์โดยการกลืนแป้ งแบเรียม ดังนั้น จึงมีความหมาย ครอบคลุมกว้างขวางมากกว่า แผลเพ็ปติกเพียงอย่างเดียว และคงใกล้เคียงกับความหมายของคาว่า "อาหารไม ่่ย่อย" ซึ่งมีสาเหตุอันหลากหลายดังนั้นในที่นี้ จะขอใช้คาว่า แผลเพ็ปติก เมื่อกล่าวถึงโรคแผลที่ลาไส้เล็กส่วน ต้นหรือแผล ดียู(Duodenal ulcer/DU) และโรคแผลที่กระเพาะอาหาร หรือแผลจียู(Gastric ulcer/ GU) แผลเพ็ปติก เป็นโรคที่พบได้บ่อย ประมาณ 10-20% ของคนทั่วไปจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ในช่วงใดช่วง หนึ่งของชีวิต แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (ดียู) พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ประมาณ 2-4 เท่า และพบมากในช่วง อายุประมาณ 30-55 ปี ขณะที่แผลที่กระเพาะอาหาร พบในผู้ชายพอ ๆ กับผู้หญิง และพบในช่วงอายุประมาณ 55-70 ปี แต่ทั้ง 2 โรคนี้ก็สามารถพบได้ในคนทุกวัย สาเหตุ แผลเพ็ปติก เกิดจากความเสียสมดุลระหว่าง ปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรด ของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ ถ้าหากมีการหลั่งกรดมากเกิน หรือความต้านทานต่อกรดลดลง ก็ทาให้ เกิดแผลเพ็ปติกขึ้นได้ในปัจจุบัน พบว่าสาเหตุสาคัญของการเกิดแผลเพ็ปติก ได้แก่ 1. การติดเชื้อเอชไพโลไร (H. pylori) ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ สันนิษฐานว่า ติดต่อโดยการกินอาหาร หรือน้าดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อจากอุจจาระของผู้ติดเชื้อ แล้วเข้าไปฝังตัวอยู่ใต้เยื่อบุกระเพาะ ในระยะแรก อาจทา ให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบ ซึ่งจะเป็นเรื้อรังนานเป็นแรมปี หรือนับเป็นสิบ ๆ ปี ต่อมา ทาให้กลายเป็น แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (พบเชื้อนี้ในผู้ที่เป็นแผลชนิดนี้ ถึง 95-100%) และแผลที่กระเพาะอาหาร (พบเชื้อ
  • 7. นี้ในผู้ที่เป็นแผลชนิดนี้ถึง 75-85%) ในการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยแผลเพ็ปติกด้วยการส่องกล้องตรวจ กระเพาะอาหารและลาไส้ พบว่า การรักษาโรคแผลเพ็ปติกโดยวิธีดั้งเดิม (ให้ยาลดกรด และยาลดการสร้างกรด นั้น ผู้ป่วยจะมีแผลกาเริบถึง 70-85% ใน 1 ปี แต่ในกลุ่มที่ได้ยาปฏิชีวนะกาจัดเชื้อเอชไพโลไร ตามวิธีการรักษาแนวใหม่ จะมีแผลกาเริบน้อยกว่า 5% ใน 1 ปัดังนั้นในวงการแพทย์ปัจจุบัน จึงยอมรับว่าเชื้อ นี้เป็นตัวการสาคัญของโรคแผลเพ็ปติก ถึงแม้จะยังไม่มีความชัดเจน ในกลไกของการทาให้เกิดแผลเพ็ปติก จากเชื้อนี้ก็ตาม (บ้างสันนิษฐานว่า เชื้อชนิดนี้ ทาให้กลไกในการต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหาร ลดลง) 2. การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ได้แก่ แอสไพริน และกลุ่มยาแก้ปวดข้อ (เช่น อินโดเมทาซิน, ไอบูโพรเฟน, นาโพรเซน ฯลฯ) พบว่าผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้เป็นประจา จะมีโอกาสเป็น แผลที่กระเพาะอาหาร 10-30% และแผลที่ลาไส้ส่วนต้น 2-20% และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เลือดออก แผลทะลุ มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใช้ยากลุ่มนี้ถึง 3 เท่า ประมาณ 1-2% ของผู้ใช้ยากลุ่มนี้เป็นประจา จะเกิดภาวะ แทรกซ้อนภายใน 1 ปี ยานี้จะระคายต่อเยื่อบุกระเพาะอาหารโดยตรง และทาลายกลไกในการต้านทาน ต่อกรด ของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ กลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติกจากยากลุ่มนี้ ได้แก่ ผู้สูงอายุ, ผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้ในขนาดสูง, ผู้ที่ใช้ยากลุ่ม นี้นาน ๆ, ผู้ที่ใช้ยากลุ่มนี้ร่วมกับสเตอรอยด์, ผู้ที่มีประวัติเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อน, ผู้ที่มีภาวะเจ็บป่วย รุนแรง 3. ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ บางอย่างอาจมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคนี้ แต่บางอย่างอาจไม่มีความสัมพันธ์โดย ตรง เช่น - ประวัติการมีญาติพี่น้องเป็นแผลเพ็ปติก (อาจเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์) ทาให้มีโอกาสเป็นโรคนี้มากขึ้น เป็น 3 เท่า - การสูบบุหรี่ เพิ่มโอกาสของการเป็นแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ทาให้การรักษาได้ผลช้า และทาให้เกิดภาวะ แทรกซ้อนได้มากขึ้น - ผู้ที่มีเลือดกลุ่มโอ อาจเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นมากกว่าปกติ - ความเครียดทางอารมณ์ ยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนว่า เป็นสาเหตุของการเกิดแผลเพ็ปติกโดยฃตรง แต่เป็น ปัจจัยที่ทาให้ผู้ป่วยโรคนี้เป็นแผลกาเริบได้ - แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ยังอาจพบร่วมกับโรคอื่น ๆ เช่น ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากเกิน (Hyperparathyroidism) ซึ่งจะมีภาวะแคลเซียมสูง และแคลเซียมกระตุ้นให้กระเพาะ อาหารหลั่งกรดมาก, กลุ่มอาการซอลลิงเกอร์-เอลลิสัน (Zollinger-Ellison syndrome) ซึ่ง เป็นเนื้องอกในตับอ่อนและลาไส้เล็กส่วนต้น ทาให้มีการหลั่งกรดและน้าย่อยมากเกิน, ภาวะไตวาย เรื้อรัง, ตับแข็งจากพิษแอลกอฮอล์, ถุงลมพอง เป็นต้น - แอลกอฮอล์(ซึ่งเป็นสาเหตุของกระเพาะอักเสบชนิดเยื่อบุกร่อน ทาให้มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร) สเตอรอยด์และกาเฟอีน ยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นสาเหตุของแผลเพ็ปติกโดยตรง แต่ก็อาจทาให้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้เป็นแผลกาเริบได้จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเหล่านี้ในผู้ป่วยแผลเพ็ปติก - อาหารทุกชนิด ไม่เป็นสาเหตุโดยตรงของการเกิดแผลเพ็ปติก แต่ถ้ากินแล้วทาให้มีอาการกาเริบ
  • 8. (เช่นอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้าส้ม น้าผลไม้) ก็ควรจะหลีกเลี่ยง อาการ มักมีอาการปวดท้องเป็น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอก หรือใต้ลิ้นปี่ บางคนอาจค่อนมา ทางขวาหรือซ้ายก็ได้เวลาที่ปวดมักจะสัมพันธ์กับมื้ออาหาร เช่น ก่อนหรือหลังอาหาร ลักษณะการ ปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าวก่อนเวลาอาหาร บางครั้งอาจมีอาการ คลื่นไส้อาเจียน หรือเรอเปรี้ยวร่วมด้วย ในผู้ป่วยที่มีแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น มักมีอาการปวดท้อง หลังอาหารประมาณ 1-3 ชั่วโมง หรือขณะท้องว่าง โดยมากจะเริ่มปวดตอน สาย ๆ หลังกินข้าวแล้ว จะปวดมากขึ้น ในช่วงบ่าย ๆ เย็น ๆ และอาจปวดมากตอนดึก ๆ จนต้องตื่นนอนหรือนอนไม่หลับ อาการปวดมักจะดีขึ้น ทันทีหลังกินอาหาร ดื่มนม กินยาลดกรด หรืออาเจียน ถ้าแผลลุกลามไปที่ตับอ่อน อาจทาให้มีอาการปวดหลังร่วมด้วย และไม่หายปวดท้องหลังกินอาหาร ในผู้ป่วยที่มีแผลที่กระเพาะ อาหาร มักมีอาการปวดท้องหลังอาหาร ประมาณ 1/2-1 ชั่วโมง บางคนอาจมีอาการเบื่ออาหาร (ไม่อยากกิน เพราะกลัวปวดท้อง) และน้าหนักลด อาการปวดท้องมักเป็นอยู่นานหลายสัปดาห์ แล้ว อาจหายไปได้เอง แต่ก็มักจะมีอาการกาเริบภายใน 1-2 ปี เป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ลักษณะอาการของผู้ป่วยแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น กับแผลที่กระเพาะอาหาร บางครั้งก็ อาจจะแยกกันไม่ได้ชัดเจนเช่น อาการปวดท้องตอนดึก ก็อาจเกิดในผู้ป่วยแผลที่กระเพาะอาหารก็ได้ เช่นกัน ผู้ป่วยบางคนอาจเป็นแผลเพ็ปติกโดยไม่มีอาการแสดงก็ได้เช่น พบว่า กลุ่มที่เป็นแผลจาก ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ มีประมาณ 50% ที่ไม่ปรากฎอาการ หรือผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (เช่น ถ่ายดา) โดยไม่มีอาการปวดท้องมาก่อนก็ได้ การวินิจฉัยที่แน่นอน ต้องอาศัยการส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลาไส้ หรือเอกซเรย์โดยการ กลืนแป้ งแบเรียม สิ่งตรวจพบ ส่วนมากมักตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติอะไร บางคนอาจรู้สึกกดเจ็บเล็กน้อย ตรงบริเวณลิ้นปี่ ในรายที่มีเลือดออก (เช่น ถ่ายดา) อาจตรวจพบอาการซีด อาการแทรกซ้อน ถ้าปล่อยให้เป็นเรื้อรัง อาจมีอาการแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ที่พบบ่อย ก็คือ ภาวะเลือดออกใน กระเพาะอาหาร หรือ ลาไส้เล็กส่วนต้น ผู้ป่วยจะมีอาการอาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายอุจจาระดา ส่วนมากเลือดจะออกไม่มากและหยุดได้เอง ส่วนน้อยอาจมีเลือดออกมาก จนบางครั้งเกิด ภาวะช็อก ถ้าเลือดออกเรื้อรัง ก็อาจเกิดภาวะโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กได้บางราย แผลอาจกินลึกจนเป็นรูทะลุเรียกว่า แผลเพ็ปติกทะลุ (Peptic perforation) ซึ่งอาจทาฃให้ มีเยื่อบุช่องท้องอักเสบร่วมด้วยได้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องรุนแรง และหน้าท้องแข็ง ควร ได้รับการผ่าตัด แก้ไขโดยด่วน บางรายอาจมีภาวะกระเพาะหรือลาไส้ตีบตัน มีอาการปวด ท้องรุนแรง อาเจียนรุนแรง และท้องผูกในรายที่แผลกินลึกไปถึงตับอ่อน อาจทาให้มีอาการ
  • 9. ปวดหลัง หรือมีอาการของตับอ่อนอักเสบร่วมด้วย ผู้ที่เป็นแผลที่กระเพาะอาหารเรื้อรังจาก เชื้อเอชไพโลไร ก็อาจมีโอกาสกลายเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร ได้ การรักษา 1. ถ้ามีอาการอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดา ควรส่งโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง (ถ้ามีอา การหน้ามืดเป็นลม หรือช็อก ควรส่งโรงพยาบาลทันที) ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด แล้วทาการตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ 2. ถ้ามีอาการปวดท้องรุนแรง ปวดท้องติดต่อกันนานเกิน 6 ชั่วโมง อาเจียนรุนแรง หรือมี อาการท้องแข็งควรส่งโรงพยาบาลด่วน ถ้าตรวจพบว่ามีภาวะแผลเพ็ปติกทะลุ หรือ กระเพาะ หรือลาไส้ตีบตัน จาเป็นต้องผ่าตัดด่วน 3. ถ้ามีอาการปวดแสบ หรือจุกเสียดตรงใต้ลิ้นปี่ก่อนหรือหลังอาหาร หรือตอนดึก ๆ เป็นครั้ง แรก ให้ยาลดกรด ร่วมกับยาลดการสร้างกรด-ไซเมทิดีน นาน 2 สัปดาห์ ถ้าดีขึ้นกินต่อจน ครบ 6-8 สัปดาห์ ถ้าไม่ดีขึ้น หรือมีอาการกาเริบ หรือน้าหนักลด ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจหาสาเหตุในการวินิจฉัยแผลเพ็ปติก จาเป็นต้องอาศัยการตรวจพิเศษ เช่น การส่อง กล้อง (endoscope) ตรวจดูกระเพาะอาหาร และลาไส้, การเอกซเรย์กระเพาะลาไส้โดยการ กลืนแป้ งแบเรียม, การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์ (biopsy),การเพาะเชื้อหาเชื้อเอชไพโลไร เป็นต้น การรักษานอกจากให้ยาลดกรด บรรเทาอาการแล้ว ยังต้องให้ยารักษาแผลเพ็ปติกกลุ่มอื่น ๆ ซึ่งขึ้นกับสาเหตุของ การเกิดโรค ตามแนวทางโดยคร่าว ๆ ดังนี้ ก. แผลเพ็ปติกที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไพโลไร การรักษามีจุดมุ่งหมายเพื่อบรรเทาอาการ ปวดท้องรักษาแผลให้หายและกาจัดเชื้อเอชไพโลไร โดยให้ยาดังนี้ (1) ยาลดการสร้างกรดออกฤทธิ์แรง (กลุ่ม proton pump inhibitors) ได้แก่ โอเมพราโซล (Omeprazole) มีชื่อทางการค้า เช่น โลเซก (Losec), ไมราซิด (Miracid) ครั้งละ 20 มก. (1 แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็นร่วมกัน (2) ยาปฏิชีวนะ 2 ชนิดร่วมกัน สูตรใดสูตรหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (โดยกินพร้อมอาหาร) (2.1) เมโทรไนดาโซล ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้ง และคลาริโทรไมซิน (Clarithromycin) ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้ง หรือ (2.2) อะม็อกซีซิลลิน ครั้งละ 1,000 มก. วันละ 2 ครั้ง และคลาริโทรไมซิน ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้งหรือ (2.3) อะม็อกซีซิลลิน ครั้งละ 1,000 มก. วันละ 2 ครั้ง และเมโทรไนดาโซล ครั้งละ 500 มก. วันละ 2 ครั้ง (2.4) เตตราไซคลีน 500 มก. วันละ 4 ครั้ง และเมโทรไนดาโซล ครั้งละ 250 มก. วันละ 4 ครั้ง ร่วมกับบิสมัท ซับซาลิไซเลต (Bismuth subsalicylate) ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง ทั้งหมดนี้ กินทุกวัน ติดต่อกันนาน 7 วัน หลังจากนั้น ให้กินโอเมพราโซล หรือ ยาต้านเอช-2 (เช่น ไซเมทิดีน, รานิทิดีน) นาน 4-8 สัปดาห์ ข. แผลเพ็ปติกที่ไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไพโลไร เป็นแผลเพ็ปติกที่ตรวจไม่พบการอักเสบจากเชื้อ
  • 10. เอชไพโลไร อาจมีสาเหตุจากการใช้ยาแอสไพริน หรือยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ควรให้การ รักษาด้วยยาชนิดใดชนิดหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (1) โอเมพราโซล 20 มก. วันละครั้ง นาน 4 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น ที่ไม่มีภาวะ แทรกซ้อน) หรือ 20 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 6-8 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่กระเพาะอาหาร หรือ แผลเพ็ปติกที่มีภาวะแทรกซ้อน) (2) ยาต้านเอช-2 เช่น ไซเมทิดีน 800 มก. หรือรานิทิดีน (Ranitidine) 300 มก. วันละครั้ง ก่อนนอนนาน 6 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน) หรือไซเมทิดีน 400 มก. หรือรานิทิดีน 150 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 8-12 สัปดาห์ (สาหรับแผลที่กระเพาะอาหาร) ส่วนแผลเพ็ปติกที่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่แนะนาให้ใช้ยากลุ่มนี้ (3) ซูคราลเฟต (Sucralfate) ซึ่งเป็นยาปกป้ องเยื่อบุกระเพาะลาไส้ ให้ครั้งละ 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง สาหรับแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ค. ในรายที่เป็นเรื้อรัง หรือเคยมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น หรือผู้สูงอายุ หรือยังสูบบุหรี่ อาจจาเป็นต้อง กินยาต้านเอช-2 เช่น ไซเมทิดีน 400-800 มก. หรือรานิทิดีน 150-300 มก. วันละครั้ง ก่อนนอน ทุกวันติดต่อกันไปอีกสักระยะหนึ่ง (3-6 เดือนหรือเป็นปี) และอาจต้องใช้กล้องส่องตรวจ และตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์ซ้า จนกว่าแผลจะหายดี ถ้าแผลเรื้อรัง ไม่ยอมหาย อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ข้อแนะนา 1. ผู้ป่วยที่เริ่มให้การรักษาด้วยยารักษาแผลเพ็ปติก ถ้ายังมีอาการปวดท้อง ควรให้ยาลดกรด ช่วย บรรเทาอาการครั้งละ 15-30 มล. เวลามีอาการ ร่วมกับยารักษาแผลเพ็ปติกกลุ่มอื่น ๆ จนกว่าจะ หายปวดท้อง 2. สาหรับผู้ป่วย ควรมีข้อปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 กินอาหารให้ตรงเวลาทุกมื้อ อย่าปล่อยให้หิว 2.2 งดบุหรี่ แอลกอฮอล์ชา กาแฟหรือเครื่องดื่มกาเฟอีน น้าอัดลม 2.3 หลีกเลี่ยงการใช้แอสไพริน ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตอรอยด์, ยาสเตอรอยด์ 2.4 อาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้าส้ม น้าผลไม้ถ้ากินแล้วมีอาการปวดท้องกาเริบ ควรงดจน กว่าจะหายดี 2.5 ออกกาลังกายเป็นประจา และหาวิธีผ่อนคลายความเครียด (ถ้าเครียด) 2.6 ควรกินยาอย่างต่อเนื่อง และพบแพทย์ตามนัด การกินยาไม่ต่อเนื่อง อาจทาให้กลายเป็น แผลเรื้อรังและรักษายาก หรือมีภาวะแทรกซ้อนได้ การป้ องกัน ผู้ป่วยที่กินยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติก (เช่น ผู้สูงอายุ, ผู้ที่ต้องใช้ยานี้ในขนาดสูง หรือนาน ๆ หรือใช้ร่วมกับยาสเตอรอยด์, ผู้ที่เคยเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อน ) ควรให้กินยาป้ องกันควบคู่ด้วย เช่น ไมโซพรอสตอล (Misoprostol) 100- 200 ไมโครกรัม วันละ 4 ครั้ง ยานี้จัดอยู่ในกลุ่มพรอสตาแกลนดิน กินแล้วอาจทาให้ปวดท้อง ท้องเดิน และไม่ควร
  • 11. ใช้ในหญิงตั้งครรภ์เพราะอาจทาให้แท้งได้ในกรณีที่ผู้ป่วยกินยาดังกล่าวไม่ได้หรือมีผลข้างเคียง มาก ให้ใช้โอเมพราโซลครั้งละ 20 มก. วันละ 2 ครั้ง หรือ กินยาลดกรด 30 มล. วันละ 7 ครั้ง นอกจากนี้ ยังอาจจาเป็นต้องเปลี่ยนไปใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ตัวใหม่ ๆ ที่มีผลต่อการ เกิดแผลเพ็ปติกน้อย เช่นซาลซาเลต (Salsalate), อีโทโดแล็ก (Etodolac), นาบูมีโทน (Nabumetone) เป็นต้น