SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
1
ระบบสารสนเทศการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
Electronic Documents Management System (EDOC) [CEO-EDOC V 8.0]
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการทางานขององค์กรหรือหน่วยงาน ไม่
ว่าจะเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชนเป็นอย่างมากจากการสารวจองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ที่นา
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งานในหน่วยงานนั้นๆ จะทาให้เกิดการทางานที่ประสิทธิภาพมากขึ้น
โดยเฉพาะการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยงานในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
มีระบบค้นหาข้อมูลที่สะดวก จัดเก็บอย่างมีมาตรฐาน และมีการทางานที่รวดเร็ว เอกสารในองค์กร
หรือหน่วยงาน ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่นิยมนาระบบสารเสนเทศเข้ามาจัดเก็บเพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
ค้นหาข้อมูลได้สะดวก เวลาต้องการเอกสารสามารถเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว และประหยัด
ทรัพยากรธรรมชาติที่สิ้นเปลื้องช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่งด้วย
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบที่ถูกพัฒนาและ
ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการในการจัดเก็บเอกสารที่อยู่ในรูปของกระดาษที่เป็นแผ่นๆ ที่
พวกเราเคยชินกัน ให้เปลี่ยนเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บไว้ในระบบสารเสนเทศ มีระบบจัดเก็บ
อย่างเป็นระบบและปลอดภัย สามารถค้นหาและใช้งานได้ตลอดเวลา เมื่อผู้งานสามารถเข้าถึงระบบ
สารสนเทศได้ นอกจากนี้ยังมีระบบรายงานเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของการใช้งานและการเข้าถึง
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ด้านความปลอดภัย ระบบสามารถกาหนดสิทธิ์ระดับการเข้าถึงเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยสามารถกาหนดเป็นแต่ล่ะแผนกและตามระดับสถานะผู้ใช้งานได้
ความสามารถทางด้านการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
1. สามารถจัดการตู้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
2. สามารถจัดการชั้นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
3. สามารถจัดการแฟ้มเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
4. สามารถจัดการสถานที่เก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
5. สามารถจัดการสถานะเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
6. สามารถจัดการไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้
7. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบส่วนตัวได้
8. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบหน่วยงานได้
9. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบส่วนตัวแล้วอนุมัติเป็นของหน่วยงานได้
10. สามารถตรวจสอบเอกสารก่อนที่จะอนุญาตให้เผยแพร่ได้
11. สามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงเอกสารให้กับแต่ล่ะหน่วยงานได้
12. สามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงเอกสารให้กับสมาชิกและบุคคลทั่วไปได้
13. สามารถจัดเก็บเอกสารที่สนใจไว้ในตู้เก็บส่วนตัวได้
14. สามารถส่งออกเอกสารที่สนใจในรูปแบบ Index HTML รวมถึงไฟล์แนบได้
2
ตัวอย่างระบบระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์(e-document)
หนังสือทะเบียนรับ-ส่ง และการรับ-ส่งอีเมล
วิธีการและขั้นตอนการสร้างระบบ
การรับ – ส่งหนังสือ
1. ทาทะเบียนรับ-ส่ง ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน โดยใช้ระบบ e-document
2. ร่าง – โต้ตอบ
- หนังสือจากภายในและภายนอกสถาบัน ตามที่ได้รับมอบหมาย
- พิมพ์หนังสือราชการทั้งภายในและภายนอกและจัดทาสาเนาไว้เป็นหลักฐาน
ประชาสัมพันธ์งานคณะต่างๆ เช่น การอบรม การบรรยายพิเศษ งานกิจกรรมคณะ
จัดเก็บ – ค้นหา และทาลายเอกสาร
- จัดเก็บหนังสือราชการให้เป็นหมวดหมู่ตามระเบียบงานสารบรรณ
- จัดเก็บและบันทึกงานสารบรรณลงในระบบคอมพิวเตอร์ไว้เป็นฐานข้อมูล
- ทาทะเบียนคาสั่ง ประกาศของคณะ พร้อมจัดเก็บต้นฉบับ
- บริการค้นหาหนังสือราชการ เช่น บันทึก ประกาศ คาสั่ง
โทรศัพท์กลางของคณะ
- รับโทรศัพท์กลางของคณะ เพื่อให้ข้อมูลต่าง ๆ และเก็บรวบรวมรายชื่อและ
เบอร์โทรศัพท์อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของคณะ
ตรวจสอบวันลาของบุคลากรของคณะ
- รวบรวมแบบฟอร์มใบลาต่าง ๆ ลงในฐานข้อมูล (MIS) และควบคุมโดยบันทึกใน
สมุดทะเบียนเพื่อตัดยอดวันลารวบรวม และสรุปเวลาปฏิบัติราชการของบุคลากรของคณะ
- ทาสรุปลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และนาเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับขั้น
จัดทาหนังสือรับรองการมีสิทธิเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และเสนอลงนาม
ในแบบฟอร์มเบิกค่ารักษาพยาบาล
- พิมพ์แบบฟอร์มรับรองการมีสิทธิเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ
เพื่อเสนอคณบดีลงนาม และส่งให้ผู้ขอใช้สิทธินาไปยื่นที่โรงพยาบาลที่เข้ารักษา
- เสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้นลงนามในใบรับรองเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล
รับหนังสือราชการจากหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันทางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- รับเรื่องจากหน่วยงานภายในสถาบัน เสนอเรื่องถึงเลขานุการคณะเพื่อพิจารณา
- เลขานุการคณะพิจารณาเรื่องต่าง ๆ เรียบร้อย ปิดงานในระบบเป็นเรื่อง ๆ ไป
- ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สามารถค้นหาข้อมูลและเรียกดูได้จากเอกสาร
ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของคณะ
- ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของคณะในการจัดส่งเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ
แจ้งเพื่อทราบแก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของคณะ
รวบรวมรายชื่อและหน่วยงานเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการศึกษาต่อเนื่อง
- เตรียมรายชื่อเพื่อส่งประชาสัมพันธ์ และประสานงานกับผู้ที่ได้รับมอบหมายให้
ออกจดหมายประชาสัมพันธ์
- รวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรม ชาระเงินทางธนาณัติ หรือโอนเงินผ่าน
3
ธนาคารแล้ว แจ้งผู้สมัครว่ามีสิทธิเข้ารับการอบรม
- ติดประกาศเอกสารประชาสัมพันธ์ ณ บอร์ดชั้นต่าง ๆ ของคณะ
งานอื่น ๆ
- ซื้ออุปกรณ์ เครื่องดื่ม เช่น กาแฟ น้าอัดลม และน้าดื่ม และคุมยอดบัญชีเครื่องดื่ม
- ควบคุมดูแลการจัดเลี้ยงอาหารและของว่างในการสอบต่างๆ เช่นสอบปากเปล่า
สอบสัมภาษณ์ การบรรยายพิเศษ และพบปะสังสรรค์ระหว่างอาจารย์ เจ้าหน้าที่
และนักศึกษา
- ทาหน้าที่เป็นเลขานุการอาจารย์ตามที่ได้รับมอบหมาย
- ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
อ้างอิง
http://www.dlib.org/dlib/january00/01hodge.html
จิดาภัส สัมพันธ์สมโภชน์ และชัยยงค์ อู่ประสิทธิ์วงศ์. 2539. ระบบข่าวสารเพื่อการบริหาร.
กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์วังอักษร.
web.schq.mi.th/~suttisak/html/edm.html เข้าถึง 1 เมษายน 2550
21
ระบบการสืบค้นข้อมูลข่าวสาร
การสืบค้นและการใช้โปรแกรมค้นหาข้อมูล
แต่เดิม อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงวิชาการในรูปแบบของนิวส์กรุ๊ป
(news group) ซึ่งสมาชิกของกลุ่มสามารถเข้าไปอ่านและเขียนข้อความได้ ต่อมามีข่าวสารประเภทนี้
เพิ่มมากขึ้น จึงมีการจัดประเภทและมีเครื่องมือช่วยค้นหาที่มีชื่อว่าโกเฟอร์(gophor) ต่อมาได้มี
นวัตกรรมเกิดขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต นั่นคือระบบเวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Web:WWW)
เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในระบบ www ประกอบด้วย
1. ภาษาHTML(Hypertext MarkupLanguage) ที่กาหนดรูปแบบการแสดงผลบนจอภาพ
2. ซอฟต์แวร์เว็บเซอร์เวอร์ (Web Sever Software) ที่จัดการเกี่ยวกับการรับและส่ง
แฟ้มข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
3. โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ทาหน้าที่จัดรูปแบบข้อมูล
ตามที่ระบุในคาสั่งภาษา HTML และนาไปแสดงบนผลจอ เว็บบราวเซอร์เช่น Safari 5, Internet
Explorer 9 Beta, Mozilla Firefox 4 Beta, Google Chrome, Opera 10.6+
4. ระบบไฮเปอร์ลิงค์(Hyperlink) ที่สามารถทาการเชื่อมโยงเอกสารต่า ๆ ๖ทั้งที่เป็น
ข้อความและภาพ) ที่เก็บไว้ต่างที่กัน
5. ภาพกราฟริก เป็นข้อมูลรูปแบบใหม่ที่สามารถรับส่งผ่านเครือข่ายและโปรแกรมเว็บ
บราวเซอร์ สามารถนาไปแสดงบนจอภาพได้
6. ภาพกราฟิกสามารถทาให้เป็นภาพเคลื่อนไหวได้
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เว็บไซต์ (Web site)เกิดขึ้นมากมาย
ทั่วโลกและโลกทั้งโลกกลายเป็นโลกไร้พรมแดนสาหรับข้อมูลข่าวสารที่อยู่ภายในเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์แต่ละแห่งมีที่ชื่อ-ที่อยู่เรียกว่า URL (Universal Resource Locator)ซึ่งจะบ่งชี้
ถึงแหล่งที่อยู่ของเว็บไซต์นั้นอินเตอร์เน็ตเช่น http://www.google.com ผู้ใช้จะเข้าถึงเว็บไซต์ที่
ต้องการได้โดยการพิมพ์ URL ลงไปในช่อง address ของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์(web
site) แต่ละแห่งจะมีเอกสารที่เรียกว่า เว็บเพจ(web page) เก็บข้อมูลเป็นจานวนมากเอกสารเหลานี้
อาจจะมีองค์ประกอบเป็น ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีทัศน์และอาจมีการ
เชื่อมโยงด้วยระบบไฮเปอร์ลิงค์ไปยังเอกสารอื่น ๆ อีก
วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ด้วยการใช้ Search Engine เป็นการบริการค้นหาข้อมูลที่
ต้องการโดยมีโปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวม
รายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้ว
ป้อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อ ๆ
และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะ ปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ
Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ
Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ
Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป
22
1. การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้คาที่มีความหมายตรงกับ
ความต้องการ โดยมากจะนิยมใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อเรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล มีวิธีการ
ค้นหาได้ดังนี้
1.1 เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล ตัวอย่างเช่น
http://www.google.co.th เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดีคือ ค้นหาง่าย เร็ว
http://www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูลง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บ
ของ http://www.yahoo.comจะมีฟรีเว็บไซต์ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมี
จานวนเว็บมากมาย ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะhttp://www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย
http://www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย โดยพิมพ์ช่องเว็บที่ช่อง Address ดังตัวอย่างซึ่ง
ใช้ http://www.google.co.th
1.2 ที่ช่อง ค้นหา พิมพ์ข้อความต้องการจะค้นหา ในตัวอย่างจะพิมพ์คาว่า แหล่ง
ท่องเที่ยวเมืองโคราช
1.3 คลิกปุ่ม ค้นหาด้วย Google
1.4 จากนั้นจะปรากฏรายชื่อของเว็บที่มี
1.5 คลิกเว็บที่จะเรียกดูข้อมูล
2.หลักการใช้คาในการค้นหาข้อมูล
การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด เช่น ถ้าต้องการจะสืบค้นเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความ
เป็นมาของเครื่องคอมพิวเตอร์ การค้นหาจึงต้องการเนื้อหาที่เจาะลึก การสร้างคาคีย์เวิร์ด ต้องใช้คาที่
เจาะลึกลงไปเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เฉพาะคามากยิ่งขึ้น
2.1 การใช้คาที่คิดว่าจะมีในเว็บที่ต้องการจะค้นหา เช่น ต้องการจะหาข้อมูล
เกี่ยวกับ บุคคล ที่ชื่อว่า นาย อุบล ถ้าเราพิมพ์ข้อมูลที่ช่อง Search ว่า อุบล แล้วทาการค้นข้อมูล
Search Engine จะทาการค้นหาคา โดยจะค้นหารวมทั้งคาว่า จังหวัดอุบล อุบลราชธานี คนอุบล
วิทยาลัยเกษตรอุบล เทคโนโลยีอุบล ซึ่งเราจะเจอะ ข้อมูลจานวนมาก ดังนั้นการใช้คาในการค้นหา
ข้อมูลจึงต้องใช้คาเฉพาะเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่น้อยลง เช่น อาจจะพิมพ์คาว่า นาย อุบล พิมลวรรณ ซึ่ง
ข้อมูลจะมีจานวนที่น้อยลง
2.2 ใช้เครื่องหมาย คาพูด (“ _ ”) เพื่อกาหนดให้เป็นกลุ่มคา เช่น จะค้นหาคา ชื่อ
หนังสื่อที่ชื่อว่า โปรแกรม PhotoShop สังเกตว่าคาที่จะค้นหา จะเป็นคาที่ต้องเว้นวรรค แต่เมื่อมี
การสืบค้นด้วย Search Engine ระบบจะค้นหาคาแบ่งเป็นสองคา คือคาว่า โปรแกรม และคาว่า
PhotoShop จึงทาให้ข้อมูลที่ได้ผิดพลาด ดังนั้นการสร้างคา จึงต้องกาหนดคาด้วยเครื่องหมายคาพูด
จึงใช้คาว่า “โปรแกรม PhotoShop” ในการค้นหาแทน
2.3 ใช้เครื่องหมาย ลบ (-) ไว้หน้าคาที่ไม่ต้องการจะให้ปรากฏอยู่ในรายการแสดงผล
ของการค้นหา เช่น ต้องการหาชื่อโรงเรียน แต่ทราบแล้วว่าโรงเรียนที่จะค้นหาไม่ใช้โรงเรียนอนุบาล
จึงต้องยกเลิกคาว่าอนุบาล โดยพิมพ์คาว่า โรงเรียน -อนุบาล ผลที่ได้จะทาให้มีเฉพาะคาว่า โรงเรียน
ทั้งหมดแต่จะค้นหาคาว่า อนุบาล (*การพิมพ์เครื่องหมาย ลบกับคาที่จะยกเลิกต้องติดกัน มิฉะนั้น
ระบบจะเข้าใจว่าจะค้นหาคา 3 คา คือ คาว่า โรงเรียน คาว่า + และคาว่า อนุบาล*)
23
การสืบค้นข้อมูลภาพในกรณีที่นักเรียนต้องการที่จะค้นหาข้อมูลที่เป็นภาพ เพื่อนามาประกอบกับ
รายงาน มีวิธีการค้นหาไฟล์ภาพได้ดังนี้
1. เปิดเว็บ http://www.google.co.th
2. คลิกตัวเลือก รูปภาพ
3. พิมพ์กลุ่มชื่อภาพที่ต้องการจะค้นหา (ตัวอย่างทดลองหาภาพเกี่ยวกับ ปราสาทหินพิมาย)
4. คลิกปุ่ม ค้นหา
5. ภาพทีค้นหาพบ
6. การนาภาพมาใช้งานให้คลิกเมาส์ด้านขวาภาพ > Save Picture asหรือ save image as
7. กาหนดตาแหน่งที่จะบันทึกที่ช่อง Save in
8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name
9. คลิกปุ่ม Save
ประโยชน์
การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประโยชน์อยู่หลายด้านด้วยกัน เช่น
1. ประหยัดเวลา :: อย่างที่รู้กันอยู่แล้วว่า มีทุกอย่างอยู่ในอินเทอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับว่าเราจะมี
วิธีการค้นหาและนามาใช้ได้อย่างไร โดยไม่ต้องเสียเวลาไปเสาะหาข้อมูลจากแหล่งความรู้จริง เช่น
ห้องสมุดหนังสือ วารสาร หรือจากบุคคลผู้รู้อื่น ๆ
2. ได้ข้อมูลครบถ้วน :: เนื่องจากการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น เราสามารถสืบค้น
ข้อมูลได้อย่างหลากวิธีแบบ เช่น ข้อมูลข้อความ ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลมัลติมีเดีย หรืออื่น ๆในเนื้อหา
หนึ่ง ๆ ก็สามารถนาข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบมาอ้างอิงได้อย่างหลากหลาย
3. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน :: ชุมชนในการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นชุมชนที่มี
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ในลักษณะให้ฟรี หรือมีค่าใช้จ่ายบ้าง ถ้าหากเรามีการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างกัน ย่อมทาให้การค้นหาข้อมูลที่สาคัญมีความหลากหลายมากขึ้น แหล่งที่สามารถ
สืบค้นข้อมูลได้ ได้แก่ เว็บไซต์ที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ หรือ เว็บไซต์ที่มีเว็บบอร์ดเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน เป็นต้น
ตัวอย่างระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร
การสืบค้นข้อมูลในรูปแบบต่างๆด้วย GOOGLE SEARCH
รูปแบบการสืบค้น
เสิร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหาและคือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหา
ข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง
ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการ
แต่ละราย เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะ
แสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิลจะ
บันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนาประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วย
กรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
24
หลักการใช้คา, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา
การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการน าทางการค้นหา อย่างเดียว
แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทาให้ขอบเขตการค้นหา ของ Google แคบลง ทา
ให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น เครื่องหมายที่ สามารถนามาช่วยในการค้นหาได้ มี
ดังนี้
การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคา
โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการ
พิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คาง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where,
how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคาเหล่านี้เป็นคาสาคัญของประโยคที่ผู้ใช้จาเป็น ต้อง
ค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะช่วยเชื่อมคา โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมี การเว้น
วรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้
พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทาการค้นหาแยกคาโดย ไม่สนใจคาว่า of และจะ
ค้นหาคาว่า Age หรือ Empire เพียงสองคา แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทาการ
ค้นหาทั้งคาว่า Age, of และ Empire
ตัดบางคาที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - )
จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้
ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้อง กับจังหวัดตาก
ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้า
เครื่องหมายด้วย) Google จะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัดตากเข้ามา
เกี่ยวข้อง
25
การค้นหาด้วยเครื่องหมายคาพูด ("...")
เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคา ที่ผู้ใช้
ต้องการให้แสดงผลทุกคาในประโยค โดยไม่แยกคา เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บไซต์ เกี่ยวกับเพลงที่มี
ชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทาการค้นหาประโยค " If I Let
You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยกคาค้นหา
ไม่ต้องใช้คาว่า " AND" ในการแยกคาค้นหา
แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คาในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคา ผู้ใช้
จาเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคาเหล่านั้น ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้ว เพราะ Google จะทาการ
แยกคาให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทาการเว้นวรรคคาเหล่านั้น เช่น ถ้า ผู้ใช้พิมพ์คาว่า Thai Travel
Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือ เนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคาว่า Thai
,Travel และ Nature อยู่ในนั้นด้วย
26
การค้นหาด้วยคาว่า OR
เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่
เกี่ยวกับ การล่องแก่ง ทั้งในจังหวัดตาก และปราจีนบุรี ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่อง แก่ง
ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่งทั้งใน จังหวัดตาก และ
กาญจนบุรี
Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word
คาศัพท์พื้นๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และอื่นๆ รวมทั้งตัวเลขและ
ตัวอักษร เดี่ยวๆ Google มักไม่ให้ความสาคัญและใส่ใจที่จะค้นหาครับ เนื่องจากเครื่องมือ
ที่ Google ใช้จัดเก็บและรวบรวมเว็บทั่วโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มี คาเหล่านี้
(ซึ่งมีเยอะมากๆ) แต่ถ้าหากจาเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการ เชื่อมคาเหล่านี้ด้วย หรือ
อีกทางก็คือผู้ใช้อาจจะระบุคาที่ต้องค้นหาทั้งหมดในรูป ของวลีภายใต้เครื่องหมาย " ……. "
การสืบค้นข้อมูล, ไฟล์เอกสาร, รูปภาพ, แผนที่, เว็บไซต์
การสืบค้นไฟล์เอกสาร
Google ค้นหาไฟล์ได้ Google สามารถค้นหาไฟล์เอกสารที่สาคัญๆ ได้ดังนี้
Adobe Portable Document Format ( ไฟล์นามสกุล . pdf)
Adobe PostScript ( ไฟล์นามสกุล . ps)
Lotus 1-2-3 ( ไฟล์นามสกุล . wk1, .wk2, .wk3, .wk4, .wk5, .wki, .wks และ . wku)
Lotus WordPro ( ไฟล์นามสกุล . lwp)
MacWrite ( ไฟล์นามสกุล . mw)
Microsoft Excel ( ไฟล์นามสกุล . xls)
Microsoft PowerPoint ( ไฟล์นามสกุล . ppt)
Microsoft Word ( ไฟล์นามสกุล . doc)
Microsoft Works ( ไฟล์นามสกุล . wks, .wps, .wdb)
27
Microsoft Write ( ไฟล์นามสกุล . wri) Rich Text Format ( ไฟล์นามสกุล . rtf)
Shockwave Flash ( ไฟล์นามสกุล . swf)
Text ( ไฟล์นามสกุล . ans, .txt)
รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสาร" filetype: นามสกุลของ
ไฟล์ ในช่อง Google ตัวอย่างเช่น "การเลี้ยงไก่" filetype:doc ซึ่งหมายถึง การ ค้นหาไฟล์เอกสารที่
มีนามสกุล . doc เรื่อง การเลี้ยงไก่ นั่นเอง
การสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูล
ขั้นตอนการสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูลด้วย Search Engine
1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.google.co.th/
2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “เว็บ”
3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
4. กดที่ปุ่ม “ค้นหา”
5. ระบบจะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงออกมาใน
รูปแบบของลิงค์พร้อม
การสืบค้นรูปภาพ
ขั้นตอนการสืบค้นรูปภาพด้วย Search Engine
1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.google.co.th/
2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “รูปภาพ”
3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
4. กดที่ปุ่ม “ค้นหา”
5. ระบบจะทาการค้นหารูปภาพที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงรูปภาพที่
ค้นหาพบ
28
การสืบค้นวีดิโอ
ขั้นตอนการสืบค้นวีดิโอด้วย Search Engine
1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.youtube.com/
2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
3. กดที่ปุ่ม “search”
4. ระบบจะทาการค้นหาวีดิโอที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงวีดิโอที่ค้นหาพบ
29
การสืบค้นคาศัพท์
ขั้นตอนการสืบค้นคาศัพท์ด้วย Search Engine
1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://dict.longdo.com
2. พิมพ์คาศัพท์ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
3. เลือกบริการ “dictionary”
4. กดที่ปุ่ม “submit”
5. ระบบจะทาการค้นหาคาศัพท์ที่ต้องการพร้อมคาแปล
เทคนิคการใช้งาน Google ให้มากกว่าการใช้สืบค้นข้อมูล
1. เช็คเที่ยวบินขาเข้า และขาออกคุณสามารถตรวจสอบ Search Google ไฟล์ทเครื่องบินได้
ทั้งหมด ทั้งขาเข้า และขาออก เพียงแค่พิมพ์ สายการบิน และตามด้วยหมายเลขไฟล์ทนั้นๆ
ยกตัวอย่าง เช่น "Nok Air DD8302" หรือ "Thai Airways TG920" เป็นต้น เราจะเห็นรายละเอียด
ของเที่ยวบินอย่างละเอียดเลย
30
2. ค้นหาไฟล์เอกสาร นามสกุลต่างๆ
ในกรณีที่คุณต้องการค้นหาเอกสารต่างๆ ในรูปแบบ .PDF, .DOC หรือนามสกุลอื่นๆ สามารถทาได้
โดยพิมพ์คาค้นหา ตามด้วย นามสกุลของไฟล์นั้นๆ เช่น "การใช้คอมพิวเตอร์ .PDF" หรือ
"คณิตศาสตร์ ป.3 .DOC" ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะเป็นไฟล์เอกสารที่ถูกจัดเก็บไว้บนอินเตอร์เน็ตนั่นเอง
31
3. ค้นหาสินค้า ในช่วงราคาที่ต้องการข้อนี้อธิบายยากหน่อยครับ เป็นการค้นหาสิ่งของ หรือวัตถุ
ด้วยตัวเลขในช่วงที่ต้องการ เช่น "โน้ตบุ๊ค Dell 20,000 ... 25,000" หรือ "โปรโมชั่นเดือน ก.ค. ...
ส.ค."
4. ค้นหารอบหนัง และรีวิวหนัง
ค้นหารอบหนัง รีวิวภาพยนตร์ ง่ายๆ ได้โดยพิมพ์ชื่อภาพยนตร์ลงไปครับ เช่น "Despicable Me
2" หรือ "World War Z" Google ก็จะแสดงรายละเอียดรอบหนัง ซึ่งเราคลิกเข้าไปของได้เลย
รวมถึงรีวิหนังให้เราอ่านแบบคร่าวๆ ด้วยนะ
5. เช็คคะแนน สกอร์ ผลการแข่งขัน กีฬาโปรดพิมพ์ชื่อนักกีฬา หรือชื่อทีม เพียงเท่านี้ Google ก็
จะค้นหาการแข่งขันล่าสุด ตารางแข่ง รวมถึงรายละเอียดอื่นๆ มาให้เรารับชมถึงที่เลยครับ
32
6. ตรวจสอบสภาพอากาศเช็คสภาพอากาศก่อนออกไปข้างนอกได้ง่ายๆ เพียงพิมพ์ Weather แล้ว
ตามด้วยสถานที่นั้นๆ เช่น "Weather สาทร" หรือ "พยากรณ์อากาศ ภูเก็ต" แต่ว่าสาหรับการ
พยากรณ์อากาศในประเทศไทยนั้นอาจจะยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่นะครับ
7. แปลงหน่วยได้สารพัดหน่วยระบบ Search Google สามารถแปลงหน่วยได้แทบทุกหน่วยเลย
ครับ เช่น "1 GB = MB" หรือ "10 KM = Miles"
33
8. ดูกระแสหุ้น และตลาดหลักทรัพย์"สาหรับคนเล่นหุ้น ต้องการที่จะติดตามข่าวสารอย่างรวดเร็ว
การ Search Google เป็นอีกหนึ่งวิธีที่น่าสนใจเลยทีเดียวครับ เช่น "NASDAQ GOOG
9. เครื่องคิดเลขออนไลน์
คุณสามารถใส่ตัวเลขที่ต้องการคานวณในช่อง Search Google ได้ เช่น "(10*9)+(4*7)" คาตอบก็
จะออกมาภายในพริบตาเลยจ้า
34
10. Local Search
ค้นหาสิ่งที่ต้องการ โดยจากัดขอบเขตบริเวณของสถานที่ที่ต้องการ ตามด้วย : และสิ่งที่ต้องการค้นหา
เช่น "สีลม: ร้านอาหารญี่ปุ่น" หรือ "ปทุมวัน: สระว่ายน้า"
35
11. ค้นหาคานิยาม
เหมือนฟีเจอร์นี้จะใช้ได้ดีกับภาษาอังกฤษเท่านั้น วิธีการใช้ก็คือ Define: ตามด้วยคาที่ต้องทราบ เช่น
"define: Microsoft Surface" หรือ "define: Smart TV"
12. ค้นหาเจาะจงเฉพาะเว็บไซต์
เวลาต้องการค้นหาสิ่งที่ต้องการเฉพาะในเว็บไซต์เดียว สามารถทาได้โดย พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหาตาม
ด้วยเว็บไซต์ เช่น "โปรแกรมแต่งรูป thaiware.com" หรือ "LINE PC thaiware.com" ผลลัพธ์ที่ได้
ก็จะมากจากเว็บ thaiware.com เท่านั้น
13. ดูการจราจรบนแผนที่
เลือกเส้นทางการขับขี่ที่เร็วที่สุดและประมาณระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางตามสภาพการจราจรใน
ปัจจุบัน
36
ดูข้อมูลการจราจร
1. เปิด Google แผนที่ใหม่
2. พิมพ์ "การจราจร" หรือ "การจราจรใกล้ชลบุรี" ในช่องค้นหา
3. กด Enter
คุณยังสามารถดูสภาพการจราจรในบริเวณรอบๆ ในขณะที่ดูเส้นทางบนแผนที่ คลิกที่ แสดงสภาพ
การจราจร บนบัตรข้อมูลเส้นทางเมื่อคุณค้นหาเส้นทาง
ความหมายของสี
สีต่างๆ ระบุถึงความเร็วของการจราจรบนถนนเมื่อเทียบกับสภาพการจราจรที่รถวิ่งได้
คล่องตัว สาหรับทางหลวง สีเขียวหมายความว่าการจราจรมีความเร็วปกติ ยิ่งถนนเปลี่ยนเป็นสีแดง
มากขึ้นเท่าไหร่ ยิ่งแสดงว่าการจราจรมีความเร็วช้าลงเท่านั้น
ดูการจราจรโดยทั่วไปของพื้นที่
ถ้าคุณกาลังวางแผนจะเดินทางท่องเที่ยวโดยใช้ถนนในวันหยุดสุดสัปดาห์นี้ คุณสามารถดู
การจราจรโดยทั่วไปของพื้นที่ใดๆ ตามวันและเวลาของสัปดาห์ได้
1. พิมพ์ "การจราจร" หรือ "การจราจรใกล้ชลบุรี" ในช่องค้นหา
2. กด Enter
3. คลิกปุ่มที่อยู่ถัดจาก "การจราจรโดยทั่วไป"
4. เลือกวันและเวลาโดยการคลิกและเลื่อน วันและเวลาที่เลือกจะปรากฏใต้ "การจราจร
โดยทั่วไป"
ปัญหาการจราจร
ขณะใช้มุมมองการจราจร เส้นทาง หรือการนาทาง คุณสามารถดูปัญหาการจราจรได้จากบนแผนที่
ปัญหาการจราจรได้แก่เหตุการณ์ที่ทาให้การจราจรล่าช้า ดังต่อไปนี้
· อุบัติเหตุ
· ก่อสร้าง
· การปิดถนน
· ปัญหาอื่น
37
อ้างอิง
อานวย เดชชัยศรี และคณะ. 2553. เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์วัฒนา
พานิช จากัด.
พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์ และคณะ. 2551. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จากัด.
http://www.pachirarat.com/network.html
https://sites.google.com/site/minkmingkamon/rabb-kherux-khay-khxmphiwtexr
http://www.thaigoodview.com/node/118154
http://krusorndee.net/group/4/page/1
http://packlovelove.blogspot.com/
http://taegees.blogspot.com/
http://www.thaigoodview.com/node/161438
http://home.kku.ac.th/regis/student/success/hardware_1.html
http://flukky42138.blogspot.com/2014/11/input.html
38
ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากการวิวัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี
สารสนเทศและระบบการสื่อสารโทรคมนาคม
ความหมาย “สื่ออิเล็กทรอนิกส์”
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็กเช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน
(floppy disk) และสื่อประเภทจานแสง(optical disk)บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้
ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกและอ่านข้อมูลเป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจาก
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ
เรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia) แสดงผลออกมา
หลายรูปแบบตามที่โปรแกรมไว้ เช่น มีเสียง เป็นภาพเคลื่อนไหว สามารถให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
ปัจจุบันสื่อประเภทนี้มีหลายลักษณะ
ประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1.คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI CAI ย่อมาจากคาว่า COMPUTER-ASSISTED หมายถึง สื่อการ
เรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสื่อ
ประสม ได้แก้ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วีดีทัศน์ภาพเคลื่อนไหวและเสียง
2.WBI (Web-based Instruction) คือ บทเรียนที่สร้างขึ้นสาหรับการเรียนผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตโดยนาจุดเด่นของวิธีการให้บริการข้อมูลแบบ www มาประยุกต์ใช้ Web Base
Instructionจึงเป็นบทเรียนประเภท CAI แบบ On-line ในที่นี้หมายความว่า ผู้เรียนเรียนอยู่หน้าจอ
คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อผ่านเครือกับเครื่องแม่ข่ายที่บรรจุบทเรียน
3.การเรียนอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตเป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความ
สนใจของตนโดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วยข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ มัลติมีเดียอื่นๆ
4.E-book เป็นคาภาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่
สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูล
ที่สามารถอ่านเอกสารทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์
5. E-Training E-Training หมายถึง กระบวนการการฝึกอบรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็น
กระบวนการจัดการฝึกทักษะ เพิ่มพูนสาระความรู้ ที่เน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมนั้นเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้
เข้าอบรมมีอิสระในการเข้าศึกษา เรียนรู้ตามเวลา โอกาสที่ผู้ฝึกอบรมต้องการโดยเนื้อหาขององค์
39
ความรู้จะถูกออกแบบมาให้ศึกษาเรียนรู้ได้โดยง่าย ในรูปแบบมัลติมีเดียซึ่งประกอบด้วยสื่อที่เป็น
ข้อความรูป หรืออาจมีภาพเคลื่อนไหว
6.Learning Object หมายถึง การจัดรูปแบบสาระการเรียนรู้เป็นหน่วยที่เป็นอิสระใช้เวลา
สาหรับการเรียนรู้ เป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 2 ถึง 15 นาที และถึงแม้ว่าจะเป็นการเรียนรู้แบบหน่วย
ย่อยก็ตาม Learning Object จะมีความสมบรูณ์ในตัวเอง ซึ่งในแต่ละเนื้อหาจะประกอบชื่อเรื่อง
คาอธิบาย คาสาคัญ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ประการหนึ่งคือ
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
ข้อดี
1. ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกหนทุกแห่ง จากห้องเรียนปกติไปยังบ้าน และที่
ทางาน ทาให้ไม่เสียเวลาในการเดินทาง
2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนรอบโลกในสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ร่วมมือกันได้มีโอกาส
เรียนรู้พร้อมกัน
3. ผู้เรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ และความสามารถของตนอง
4. การสื่อสารโดยใช้ อีเมล์ กระดานข่าว การพูดคุยสด ฯลฯ ทาให้การเรียนรู้มีชีวิตชีวาขึ้น
กว่าเดิม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยเหลือกันในการเรียน
5. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม และก่อให้เกิดการเรียนแบบร่วมมือ ซึ่งที่จริงแล้ว
การเรียนแบบร่วมมือสามารถขยายขอบเขตจากห้องเรียนหนึ่งไปยังห้องเรียนอื่น ๆ ได้โดย
การเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ต
6. การเรียนด้วยสื่อหลายมิติทาให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวกโดยไม่ต้องรียง
ลาดับกัน
7. ข้อมูลของหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย
8. การเรียนการสอนมีให้เลือกทั้งแบบประสานเวลา คือเรียน และพบกับผู้สอนเพื่อปรึกษา หรือ
ถามปัญหาได้ในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และแบบต่างเวลา (Asynchronous) คือ
เรียนจากเนื้อหาในเว็บ และติดต่อผู้สอนทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
9. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้
ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และ
ตลอดเวลา การสอนบนเว็บตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้งมีทักษะ ในการ
ตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. การสอนบนเว็บเป็นวิธีที่ดีเยี่ยมในการให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ของสถานการณ์จาลอง ทั้งนี้
เพราะสามารถใช้ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพ 3 มิติ ในลักษณะที่
ใกล้เคียงกับชีวิตจริงได้
40
ข้อจากัด
1. การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นยังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรม
เพื่อใช้ในวงการ อื่น ๆ ทาให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจานวน และขอบเขตจากัดที่จะ
นามาใช้เรียนในวิชาต่างๆ
2. การที่จะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเองนั้น นับว่าเป็น
งานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทาให้เป็นการเพิ่มภาระของ
ผู้สอนให้มีมากยิ่งขึ้น
3. เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลาดับขั้นตอนใน
การสอนทุกอย่างตามที่วางไว้ ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงไม่สามารถช่วยในการ
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้
4. ผู้เรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียงตาม
ขั้นตอน ทาให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้
ขั้นตอนการสร้างระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
โดยมีลักษณะสาคัญ 4 ประการ ซึ่งเรียกย่อๆ ว่า 4-I คือ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระที่ได้รับการเรียบเรียง ทาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ผู้สร้างได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้ การนาเสนออาจ
เป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมก็ได้ ทางตรงได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทติวเตอร์
เช่นการอ่าน จา ทาความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนาเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประเภทเกมและการจาลอง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualized) หมายถึง ต้องตอบสนองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล คือลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหนึ่ง
จึงต้องได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากที่สุด
การโต้ตอบ (Interactive) คือการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การเรียน การสอนรูปแบบที่ดีที่สุดก็คือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้มากที่สุด
การให้ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลป้อนกลับหรือการให้คาตอบนี้ถือเป็นการ
เสริมแรงอย่างหนึ่ง การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถึงการที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่
สมบูรณ์จะต้องมีการ ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาหรือทักษะต่าง ๆ ตาม
องค์ประกอบสาคัญของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
1. เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คาถาม ภาพเคลื่อนไหว
2. ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคาตอบ
41
3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
4. ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลาดับต่อไป
ประเภทของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
1. บทเรียน (Tutorial) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาในลักษณะของบทเรียนโปรแกรมที่เสนอ
เนื้อหาความรู้เป็นส่วนย่อย ๆเลียนแบบการสอนของครู
2. ฝึกทักษะและปฏิบัติ (Drill and Practice) ส่วนใหญ่ใช้เสริมการสอน ลักษณะที่นิยมกัน
มากคือ การจับคู่ ถูก-ผิด เลือกข้อถูกจากตัวเลือก
3. จาลองแบบ (Simulation) นิยมใช้กับบทเรียนที่ไม่สามารถทาให้เห็นจริงได้
4. เกมทางการศึกษา (Educational Game)
5. การสาธิต (Demonstration) นิยมใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
6. การทดสอบ (Testing) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
7. การไต่ถาม (Inquiry) ใช้เพื่อการค้นหาข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด
8. การแก้ปัญหา (Problem Solving) เน้นการให้ฝึกการคิดการตัดสินใจ
9. แบบรวมวิธีต่าง ๆ เข้าด้วย (Combination) ประยุกต์เอาวิธีสอนหลายแบบมารวมกันตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ประโยชน์ของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
1. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของตนเอง โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
2. นักเรียนได้เรียนเป็นขั้นตอนจากง่ายไปหายากอย่างเป็นระบบ
3. มีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน
4. ไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาเรียน นักเรียนสามารถศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วย
สอน ขณะที่อยู่ที่บ้านหรืออยู่ที่โรงเรียน
5. ลดเวลาในการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคล ซึ่งนักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการวัดผลและประเมินผลไปพร้อมๆ กัน และยังช่วยนักเรียนที่มีปัญหา
ในการเรียน โดยการจัดโปรแกรมเสริมในส่วนที่เป็นปัญหาหรือใช้เสริมความรู้ให้กับนักเรียน ที่เรียนรู้
ได้เร็ว โดยไม่ต้องคอยเพื่อนในชั้นเรียน
6. สร้างทัศนคติที่ดีให้แก่นักเรียน โดยนักเรียนต้องฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ในการเรียน
และสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนด้วย
7. ทาในสิ่งที่สื่ออื่น ๆ ทาไม่ได้ เช่น การตัดสินใจเสนอเนื้อหาใหม่ ๆ หรือการตัดสินใจ เรียน
ซ้าในเนื้อหาเดิม
8. ลดเวลาในการสอนของครู ในการเรียนวิชาที่มีการฝึกทักษะ ครูจะเสียเวลาในช่วงนี้มาก
เพราะแต่ละคนมี ความสามารถแตกต่างกัน ครูสามารถให้นักเรียนแต่ละคนได้ฝึกทักษะจาก
คอมพิวเตอร์แทน
42
9. ทาให้ครูได้มีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ และมีการนาสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา
ใช้ ในการเรียนการสอนมากขึ้น
10. สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแม้จะมีประโยชน์หลาย ๆ ด้านก็ตาม แต่ในการนาเอาบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในการ เรียนการสอนนั้น จะต้องคานึงถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นด้วย เพราะ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่สามารถ ที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ เนื่อง จาก คอมพิวเตอร์เป็นเพียงอุปกรณ์
ชนิดหนึ่งที่ช่วยในการเรียนการสอนเท่านั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้มีประสิทธิภาพสูงนั้น
จะต้องอาศัย บุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน
คุณค่าของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
การนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาใช้ในการเรียนการสอนพบว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีคุณค่าทาง การ
สอน คือ
1. ให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างรวดเร็ว เมื่อนักเรียนมีปัญหา หรือไม่เข้าใจในบทเรียนหรือเมื่อ
นักเรียนตอบคาถามได้ถูกต้องเครื่องจะรายงาน ผลให้ทราบทันที ซึ่งเป็นการกระตุ้น ให้ผู้เรียนมีความ
ต้องการ ที่จะเรียนต่อไป
2. ลดปัญหาระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียน เพราะเป็นการเรียน
แบบ เอกัตบุคคลผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทันกันได้
3. ผู้เรียนที่เรียนดี จะเรียนได้เร็วกว่าการสอนปกติ และช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา โดยการจัด
โปรแกรมเสริมในส่วนที่ยังไม่เข้าใจและยังเป็นอุปกรณ์เสริมสาหรับนักเรียนที่ เรียนเก่งให้สามารถ
ศึกษาได้ด้วยตนเอง
4. เป็นสื่อการสอนที่ดี เพราะสื่อการสอนชนิดอื่นไม่สามารถทาได้ เช่น การสร้างสถานการณ์
จาลอง การเลียนแบบของจริง ตลอดจนการช่วยตัดสินใจการเสนอเนื้อหาใหม่ ๆ หรือจะให้ผู้เรียน
ศึกษาเนื้อหาเดิมอีก ก็ได้
5. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปรับปรุงเนื้อหาบทเรียนสามารถทา
ได้รวดเร็ว
6. ความทันสมัยของคอมพิวเตอร์จะช่วยให้สื่อน่าสนใจยิ่งขึ้น
7. สามารถใช้สื่ออื่น ๆ ร่วมกันได้ เช่น เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
8. สามารถสื่อสาร และถ่ายโอนข้อมูลในระบบสารสนเทศได้ดี
จากคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังกล่าว ทาให้แตกต่างไปจากสื่อการสอนอื่น ๆ คือ
สามารถโต้ตอบ และแสดงผลลัพธ์ บางอย่างให้ผู้เรียนดูได้ทันที ทาให้น่าตื่นเต้น สนุกสนาน เร้าความ
สนใจให้ อยากเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงมีการศึกษาผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งพอสรุปได้ว่า
การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มีส่วนเสริมให้มีการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผลดีกว่าการสอนแบบอื่น
43
การประยุกต์ใช้ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
การนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้งาน สามารถกระทาได้หลายลักษณะ ได้แก่
1. ใช้สอนแทนผู้สอน ทั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน, บททบทวน และสอนเสริม
2. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางไกล ผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น ผ่านดาวเทียม เป็นต้น
3. ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อน ไม่สามารถแสดงข้องจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร
4. เป็นสื่อช่วยสอน วิชาที่อันตราย โดยการสร้างสถานการณ์จาลอง เช่น การสอนขับ
เครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ่
5. เป็นสื่อแสดงลาดับขั้น ของเหตุการณ์ที่ต้องการให้เห็นผลอย่างชัดเจน และช้า เช่น การ
ทางานของมอเตอร์รถยนต์ หรือหัวเทียน
6. เป็นสื่อฝึกอบรมพนักงานใหม่ โดยไม่ต้องเสียเวลาสอนซ้าหลายๆ หน
7. สร้างมาตรฐานการสอน
ลักษณะของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรมีลักษณะการนาเสนอเป็นตอน ตอนสั้นๆ ที่เรียกว่า เฟรม
หรือ กรอบ เรียงลาดับไปเรื่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง (Self Learning) และควร
จัดทาปุ่มควบคุม หรือรายการควบคุมการทางาน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่น
มีส่วนที่เป็นบททบทวน หรือแบบฝึกปฏิบัติ แบบทดสอบ หลังจากที่มีการนาเสนอไปแต่ละตอน หรือ
แต่ละช่วง ควรตั้งคาถาม เพื่อเป็นการทบทวน หรือเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ในเนื้อหาใหม่ที่นาเสนอ
แก่ผู้เรียน สาหรับการตอบสนองต่อการตอบคาถาม ควรใช้เสียง หรือคาบรรยาย หรือภาพกราฟิก
เพื่อสร้างแรงจูงใจ ความมั่นใจในการเรียนรู้ โดยเฉพาะเนื้อหาสาหรับเด็กเล็ก นอกจากนี้ควรมีส่วนที่
เสริมความเข้าใจ ในกรณีที่ผู้เรียนตอบคาถามผิด ไม่ควรข้ามเนื้อหา โดยไม่ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับเรื่องเวลาในการเรียน ควรให้อิสระต่อผู้เรียน ไม่ควรจากัดเวลา เพื่อเปิดโอกาสให้เรียนตาม
ความต้องการของผู้เรียนเอง เนื้อหาบทเรียนควรมีทางเลือกหลากหลาย เช่น ถ้าผู้เรียนรับรู้ได้เร็ว ก็
สามารถข้ามเนื้อหาบางช่วงได้ เป็นต้น
ส่วนประกอบในการจัดทาบทเรียนระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
การจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จะต้องมีการวางแผน โดยคานึงถึงส่วนประกอบในการจัดทา
ดังนี้
1. บทนาเรื่อง (Title) เป็นส่วนแรกของบทเรียน ช่วยกระตุ้น เร้าความสนใจ ให้ผู้เรียนอยาก
ติดต่อเนื้อหาต่อไป
2. คาชี้แจงบทเรียน (Instruction) ส่วนนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการใช้บทเรียน การทางานของ
บทเรียน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียน
3. วัตถุประสงค์บทเรียน (Objective) แนะนา อธิบายความคาดหวังของบทเรียน
4. รายการเมนูหลัก (Main Menu) แสดงหัวเรื่องย่อยของบทเรียนที่จะให้ผู้เรียนศึกษา
5. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre Test) ส่วนประเมินความรู้ขั้นต้นของผู้เรียน เพื่อดูว่าผู้เรียนมี
44
ความรู้พื้นฐานในระดับใด
6. เนื้อหาบทเรียน (Information) ส่วนสาคัญที่สุดของบทเรียน โดยนาเสนอเนื้อหาที่จะ
นาเสนอ
7. แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post Test) ส่วนนี้จะนาเสนอเพื่อตรวจผลวัดสัมฤทธิ์การ
เรียนรู้ของผู้เรียน
8. บทสรุป และการนาไปใช้งาน (Summary – Application) ส่วนนี้จะสรุปประเด็นต่างๆ ที่
จาเป็น และยกตัวอย่างการนาไปใช้งาน
การออกแบบหน้าจอของบทเรียน
เนื่องจากการจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการ
ออกแบบหน้าจอ จึงเป็นประเด็นสาคัญด้วย เพื่อดึงดูดความสนใจ และช่วยให้จัดรูปแบบการนาเสนอ
ที่สมดุลกันขององค์ประกอบต่างๆ บนจอภาพ เพราะถ้าเนื้อหาถึงจะดีเพียงใดก็ตาม หากหน้าจอไม่ดี
หรือไม่ดึงดูด ก็ส่งผลต่อการใช้โปรแกรมได้ คุณค่าของสื่อก็จะลดลงด้วย โดยองค์ประกอบเกี่ยวกับการ
ออกแบบหน้าจอ ได้แก่
ความละเอียดของจอภาพ ปัจจุบันความละเอียดของจอภาพที่นิยมใช้ จะมีสองค่า คือ
640×480 pixel และ 800×600 pixel ดังนั้นควรพิจารณาถึงความละเอียดที่จะดีที่สุด เพราะหาก
ออกแบบหน้าจอ สาหรับจอภาพ 800×600 pixel แต่นามาใช้กับจอภาพ 640×480 pixel จะทาให้
เนื้อหาตกขอบจอได้ แต่ถ้าหากจัดทาด้วยค่า 640×480 pixel หากนาเสนอผ่านจอ 800×600 pixel
จะปรากฎพื้นที่ว่างรอบเฟรมเนื้อหาที่นาเสนอ
การใช้สี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนั่งดู และศึกษาบทเรียนได้ดี ควรใช้สีในโทนเย็น หรืออาจจะ
พิจารณาองค์ประกอบร่วมกัน คือ สีของพื้น (Background) ควรเป็นสีขาว, สีเทาอ่อน ในขณะที่สี
ข้อความ ควรเป็นสีในโทนเย็น เช่น สีน้าเงินเข้ม, สีเขียวเข้ม หรือสีที่ตัดกับสีพื้น จะมีการใช้สีโทนร้อน
กับข้อความที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษเท่านั้น และไม่ควรใช้สีเกิน 4 สีกับเนื้อหาข้อความ ไม่ควรสลับสี
ไปมาในแต่ละเฟรม
รูปแบบของการจัดหน้าจอ รูปแบบของการจัดหน้าจอ ที่สมดุลกันระหว่างเมนู, รายการ
เลือก, เนื้อหา, ภาพประกอบ จะช่วยให้ผู้ใช้สนใจเนื้อหาได้มาก โดยมากมักจะแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ
ได้แก่ ส่วนแสดงหัวเรื่อง, ส่วนแสดงเนื้อหา, ส่วนแสดงภาพประกอบ, ส่วนควบคุมบทเรียน, ส่วน
ตรวจสอบเนื้อหา, ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น นาฬิกาแสดงเวลา, หมายเลขเฟรมลาดับเนื้อหา, คะแนน
เป็นต้น
การนาเสนอเนื้อหาที่เป็นข้อความ ซึ่งแรกที่ควรคานึงถึงคือ ฟอนต์ที่นามาใช้งาน ควรเป็น
ฟอนต์มาตรฐาน มีรูปแบบที่ชัดเจน มีการกาหนดขนาดที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย นาเสนอด้วย
ข้อความนาแบบสั้นๆ เพื่อดึงเข้าเนื้อหาจริง หลีกเลี่ยงการนาเสนอแบบจัดกึ่งกลาง ควรนาเสนอภาพ
พอประมาณ ไม่มาก หรือน้อยเกินไป จุดเน้นให้ใช้การตีกรอบสี หรือเน้นด้วยสีตัวอักษรด้วยสีโทนร้อน
รูปแบบการนาเสนอ และควบคุมบทเรียน รูปแบบการนาเสนอ อาจจะใช้แบบรายการเลือก
45
หรือแบบเรียงลาดับเนื้อหา หรืออาจจะใช้การคลิกไปยังส่วนประกอบต่างๆ ของภาพที่นาเสนอก็ได้
ขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่นาเสนอนั้นๆ
ลักษณะของการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ดี มีดังนี้
1. สร้างขึ้นตามจุดประสงค์ของการสอน
2. เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
3. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนให้มากที่สุด
4. มีลักษณะเป็นการสอนรายบุคคล
5. คานึงถึงความสนใจของผู้เรียน
6. สร้างความรู้สึกในทางบวกกับผู้เรียน
7. จัดทาบทเรียนให้สามารถแสดงผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนให้มาก ๆ
8. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน
9. มีวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เรียนอย่างเหมาะสม
10. ใช้สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ และหลีกเลี่ยงข้อจากัดบางอย่างของ
เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่บนพื้นฐานของการออกแบบการสอนคล้ายกับการผลิตสื่อชนิดอื่น ๆควรมีการ
ประเมินผล ทุกแง่ทุกมุม
ตัวอย่างระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
46
47
48
49
โปรแกรมก็จะจัดการข้อมูลตามที่เราเลือกจนสิ้นสุดการใช้งาน
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้

More Related Content

What's hot

หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7nunzaza
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลพัน พัน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูลpop Jaturong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204Presenr seminar-google drive-wipadab5272204
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204SUT GLOBAL
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 

What's hot (20)

หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204Presenr seminar-google drive-wipadab5272204
Presenr seminar-google drive-wipadab5272204
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
work 3 -6
work 3 -6work 3 -6
work 3 -6
 

Similar to เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งานkwangslideshare
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4ratiporn555
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4niramon_gam
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 

Similar to เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้

  • 1. 1 ระบบสารสนเทศการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Documents Management System (EDOC) [CEO-EDOC V 8.0] ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการทางานขององค์กรหรือหน่วยงาน ไม่ ว่าจะเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชนเป็นอย่างมากจากการสารวจองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ที่นา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งานในหน่วยงานนั้นๆ จะทาให้เกิดการทางานที่ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยงานในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย มีระบบค้นหาข้อมูลที่สะดวก จัดเก็บอย่างมีมาตรฐาน และมีการทางานที่รวดเร็ว เอกสารในองค์กร หรือหน่วยงาน ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่นิยมนาระบบสารเสนเทศเข้ามาจัดเก็บเพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ค้นหาข้อมูลได้สะดวก เวลาต้องการเอกสารสามารถเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว และประหยัด ทรัพยากรธรรมชาติที่สิ้นเปลื้องช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่งด้วย ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบที่ถูกพัฒนาและ ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการในการจัดเก็บเอกสารที่อยู่ในรูปของกระดาษที่เป็นแผ่นๆ ที่ พวกเราเคยชินกัน ให้เปลี่ยนเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บไว้ในระบบสารเสนเทศ มีระบบจัดเก็บ อย่างเป็นระบบและปลอดภัย สามารถค้นหาและใช้งานได้ตลอดเวลา เมื่อผู้งานสามารถเข้าถึงระบบ สารสนเทศได้ นอกจากนี้ยังมีระบบรายงานเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของการใช้งานและการเข้าถึง เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ด้านความปลอดภัย ระบบสามารถกาหนดสิทธิ์ระดับการเข้าถึงเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยสามารถกาหนดเป็นแต่ล่ะแผนกและตามระดับสถานะผู้ใช้งานได้ ความสามารถทางด้านการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 1. สามารถจัดการตู้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 2. สามารถจัดการชั้นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 3. สามารถจัดการแฟ้มเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 4. สามารถจัดการสถานที่เก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 5. สามารถจัดการสถานะเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 6. สามารถจัดการไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 7. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบส่วนตัวได้ 8. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบหน่วยงานได้ 9. สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบส่วนตัวแล้วอนุมัติเป็นของหน่วยงานได้ 10. สามารถตรวจสอบเอกสารก่อนที่จะอนุญาตให้เผยแพร่ได้ 11. สามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงเอกสารให้กับแต่ล่ะหน่วยงานได้ 12. สามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงเอกสารให้กับสมาชิกและบุคคลทั่วไปได้ 13. สามารถจัดเก็บเอกสารที่สนใจไว้ในตู้เก็บส่วนตัวได้ 14. สามารถส่งออกเอกสารที่สนใจในรูปแบบ Index HTML รวมถึงไฟล์แนบได้
  • 2. 2 ตัวอย่างระบบระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์(e-document) หนังสือทะเบียนรับ-ส่ง และการรับ-ส่งอีเมล วิธีการและขั้นตอนการสร้างระบบ การรับ – ส่งหนังสือ 1. ทาทะเบียนรับ-ส่ง ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน โดยใช้ระบบ e-document 2. ร่าง – โต้ตอบ - หนังสือจากภายในและภายนอกสถาบัน ตามที่ได้รับมอบหมาย - พิมพ์หนังสือราชการทั้งภายในและภายนอกและจัดทาสาเนาไว้เป็นหลักฐาน ประชาสัมพันธ์งานคณะต่างๆ เช่น การอบรม การบรรยายพิเศษ งานกิจกรรมคณะ จัดเก็บ – ค้นหา และทาลายเอกสาร - จัดเก็บหนังสือราชการให้เป็นหมวดหมู่ตามระเบียบงานสารบรรณ - จัดเก็บและบันทึกงานสารบรรณลงในระบบคอมพิวเตอร์ไว้เป็นฐานข้อมูล - ทาทะเบียนคาสั่ง ประกาศของคณะ พร้อมจัดเก็บต้นฉบับ - บริการค้นหาหนังสือราชการ เช่น บันทึก ประกาศ คาสั่ง โทรศัพท์กลางของคณะ - รับโทรศัพท์กลางของคณะ เพื่อให้ข้อมูลต่าง ๆ และเก็บรวบรวมรายชื่อและ เบอร์โทรศัพท์อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของคณะ ตรวจสอบวันลาของบุคลากรของคณะ - รวบรวมแบบฟอร์มใบลาต่าง ๆ ลงในฐานข้อมูล (MIS) และควบคุมโดยบันทึกใน สมุดทะเบียนเพื่อตัดยอดวันลารวบรวม และสรุปเวลาปฏิบัติราชการของบุคลากรของคณะ - ทาสรุปลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และนาเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับขั้น จัดทาหนังสือรับรองการมีสิทธิเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และเสนอลงนาม ในแบบฟอร์มเบิกค่ารักษาพยาบาล - พิมพ์แบบฟอร์มรับรองการมีสิทธิเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม และส่งให้ผู้ขอใช้สิทธินาไปยื่นที่โรงพยาบาลที่เข้ารักษา - เสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้นลงนามในใบรับรองเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล รับหนังสือราชการจากหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันทางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ - รับเรื่องจากหน่วยงานภายในสถาบัน เสนอเรื่องถึงเลขานุการคณะเพื่อพิจารณา - เลขานุการคณะพิจารณาเรื่องต่าง ๆ เรียบร้อย ปิดงานในระบบเป็นเรื่อง ๆ ไป - ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สามารถค้นหาข้อมูลและเรียกดูได้จากเอกสาร ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของคณะ - ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของคณะในการจัดส่งเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือ แจ้งเพื่อทราบแก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของคณะ รวบรวมรายชื่อและหน่วยงานเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการศึกษาต่อเนื่อง - เตรียมรายชื่อเพื่อส่งประชาสัมพันธ์ และประสานงานกับผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ ออกจดหมายประชาสัมพันธ์ - รวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรม ชาระเงินทางธนาณัติ หรือโอนเงินผ่าน
  • 3. 3 ธนาคารแล้ว แจ้งผู้สมัครว่ามีสิทธิเข้ารับการอบรม - ติดประกาศเอกสารประชาสัมพันธ์ ณ บอร์ดชั้นต่าง ๆ ของคณะ งานอื่น ๆ - ซื้ออุปกรณ์ เครื่องดื่ม เช่น กาแฟ น้าอัดลม และน้าดื่ม และคุมยอดบัญชีเครื่องดื่ม - ควบคุมดูแลการจัดเลี้ยงอาหารและของว่างในการสอบต่างๆ เช่นสอบปากเปล่า สอบสัมภาษณ์ การบรรยายพิเศษ และพบปะสังสรรค์ระหว่างอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา - ทาหน้าที่เป็นเลขานุการอาจารย์ตามที่ได้รับมอบหมาย - ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20 อ้างอิง http://www.dlib.org/dlib/january00/01hodge.html จิดาภัส สัมพันธ์สมโภชน์ และชัยยงค์ อู่ประสิทธิ์วงศ์. 2539. ระบบข่าวสารเพื่อการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์วังอักษร. web.schq.mi.th/~suttisak/html/edm.html เข้าถึง 1 เมษายน 2550
  • 21. 21 ระบบการสืบค้นข้อมูลข่าวสาร การสืบค้นและการใช้โปรแกรมค้นหาข้อมูล แต่เดิม อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงวิชาการในรูปแบบของนิวส์กรุ๊ป (news group) ซึ่งสมาชิกของกลุ่มสามารถเข้าไปอ่านและเขียนข้อความได้ ต่อมามีข่าวสารประเภทนี้ เพิ่มมากขึ้น จึงมีการจัดประเภทและมีเครื่องมือช่วยค้นหาที่มีชื่อว่าโกเฟอร์(gophor) ต่อมาได้มี นวัตกรรมเกิดขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต นั่นคือระบบเวิลด์ไวด์เว็บ(World Wide Web:WWW) เทคโนโลยีใหม่ที่นามาใช้ในระบบ www ประกอบด้วย 1. ภาษาHTML(Hypertext MarkupLanguage) ที่กาหนดรูปแบบการแสดงผลบนจอภาพ 2. ซอฟต์แวร์เว็บเซอร์เวอร์ (Web Sever Software) ที่จัดการเกี่ยวกับการรับและส่ง แฟ้มข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 3. โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ที่ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ทาหน้าที่จัดรูปแบบข้อมูล ตามที่ระบุในคาสั่งภาษา HTML และนาไปแสดงบนผลจอ เว็บบราวเซอร์เช่น Safari 5, Internet Explorer 9 Beta, Mozilla Firefox 4 Beta, Google Chrome, Opera 10.6+ 4. ระบบไฮเปอร์ลิงค์(Hyperlink) ที่สามารถทาการเชื่อมโยงเอกสารต่า ๆ ๖ทั้งที่เป็น ข้อความและภาพ) ที่เก็บไว้ต่างที่กัน 5. ภาพกราฟริก เป็นข้อมูลรูปแบบใหม่ที่สามารถรับส่งผ่านเครือข่ายและโปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ สามารถนาไปแสดงบนจอภาพได้ 6. ภาพกราฟิกสามารถทาให้เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เว็บไซต์ (Web site)เกิดขึ้นมากมาย ทั่วโลกและโลกทั้งโลกกลายเป็นโลกไร้พรมแดนสาหรับข้อมูลข่าวสารที่อยู่ภายในเครือข่าย อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์แต่ละแห่งมีที่ชื่อ-ที่อยู่เรียกว่า URL (Universal Resource Locator)ซึ่งจะบ่งชี้ ถึงแหล่งที่อยู่ของเว็บไซต์นั้นอินเตอร์เน็ตเช่น http://www.google.com ผู้ใช้จะเข้าถึงเว็บไซต์ที่ ต้องการได้โดยการพิมพ์ URL ลงไปในช่อง address ของโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์(web site) แต่ละแห่งจะมีเอกสารที่เรียกว่า เว็บเพจ(web page) เก็บข้อมูลเป็นจานวนมากเอกสารเหลานี้ อาจจะมีองค์ประกอบเป็น ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดีทัศน์และอาจมีการ เชื่อมโยงด้วยระบบไฮเปอร์ลิงค์ไปยังเอกสารอื่น ๆ อีก วิธีการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ด้วยการใช้ Search Engine เป็นการบริการค้นหาข้อมูลที่ ต้องการโดยมีโปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า โปรแกรมเรียกค้นข้อมูล Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวม รายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้ว ป้อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะ ปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยเราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป
  • 22. 22 1. การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้คาที่มีความหมายตรงกับ ความต้องการ โดยมากจะนิยมใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อเรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล มีวิธีการ ค้นหาได้ดังนี้ 1.1 เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล ตัวอย่างเช่น http://www.google.co.th เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดีคือ ค้นหาง่าย เร็ว http://www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูลง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บ ของ http://www.yahoo.comจะมีฟรีเว็บไซต์ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมี จานวนเว็บมากมาย ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะhttp://www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย http://www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย โดยพิมพ์ช่องเว็บที่ช่อง Address ดังตัวอย่างซึ่ง ใช้ http://www.google.co.th 1.2 ที่ช่อง ค้นหา พิมพ์ข้อความต้องการจะค้นหา ในตัวอย่างจะพิมพ์คาว่า แหล่ง ท่องเที่ยวเมืองโคราช 1.3 คลิกปุ่ม ค้นหาด้วย Google 1.4 จากนั้นจะปรากฏรายชื่อของเว็บที่มี 1.5 คลิกเว็บที่จะเรียกดูข้อมูล 2.หลักการใช้คาในการค้นหาข้อมูล การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด เช่น ถ้าต้องการจะสืบค้นเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ความ เป็นมาของเครื่องคอมพิวเตอร์ การค้นหาจึงต้องการเนื้อหาที่เจาะลึก การสร้างคาคีย์เวิร์ด ต้องใช้คาที่ เจาะลึกลงไปเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เฉพาะคามากยิ่งขึ้น 2.1 การใช้คาที่คิดว่าจะมีในเว็บที่ต้องการจะค้นหา เช่น ต้องการจะหาข้อมูล เกี่ยวกับ บุคคล ที่ชื่อว่า นาย อุบล ถ้าเราพิมพ์ข้อมูลที่ช่อง Search ว่า อุบล แล้วทาการค้นข้อมูล Search Engine จะทาการค้นหาคา โดยจะค้นหารวมทั้งคาว่า จังหวัดอุบล อุบลราชธานี คนอุบล วิทยาลัยเกษตรอุบล เทคโนโลยีอุบล ซึ่งเราจะเจอะ ข้อมูลจานวนมาก ดังนั้นการใช้คาในการค้นหา ข้อมูลจึงต้องใช้คาเฉพาะเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่น้อยลง เช่น อาจจะพิมพ์คาว่า นาย อุบล พิมลวรรณ ซึ่ง ข้อมูลจะมีจานวนที่น้อยลง 2.2 ใช้เครื่องหมาย คาพูด (“ _ ”) เพื่อกาหนดให้เป็นกลุ่มคา เช่น จะค้นหาคา ชื่อ หนังสื่อที่ชื่อว่า โปรแกรม PhotoShop สังเกตว่าคาที่จะค้นหา จะเป็นคาที่ต้องเว้นวรรค แต่เมื่อมี การสืบค้นด้วย Search Engine ระบบจะค้นหาคาแบ่งเป็นสองคา คือคาว่า โปรแกรม และคาว่า PhotoShop จึงทาให้ข้อมูลที่ได้ผิดพลาด ดังนั้นการสร้างคา จึงต้องกาหนดคาด้วยเครื่องหมายคาพูด จึงใช้คาว่า “โปรแกรม PhotoShop” ในการค้นหาแทน 2.3 ใช้เครื่องหมาย ลบ (-) ไว้หน้าคาที่ไม่ต้องการจะให้ปรากฏอยู่ในรายการแสดงผล ของการค้นหา เช่น ต้องการหาชื่อโรงเรียน แต่ทราบแล้วว่าโรงเรียนที่จะค้นหาไม่ใช้โรงเรียนอนุบาล จึงต้องยกเลิกคาว่าอนุบาล โดยพิมพ์คาว่า โรงเรียน -อนุบาล ผลที่ได้จะทาให้มีเฉพาะคาว่า โรงเรียน ทั้งหมดแต่จะค้นหาคาว่า อนุบาล (*การพิมพ์เครื่องหมาย ลบกับคาที่จะยกเลิกต้องติดกัน มิฉะนั้น ระบบจะเข้าใจว่าจะค้นหาคา 3 คา คือ คาว่า โรงเรียน คาว่า + และคาว่า อนุบาล*)
  • 23. 23 การสืบค้นข้อมูลภาพในกรณีที่นักเรียนต้องการที่จะค้นหาข้อมูลที่เป็นภาพ เพื่อนามาประกอบกับ รายงาน มีวิธีการค้นหาไฟล์ภาพได้ดังนี้ 1. เปิดเว็บ http://www.google.co.th 2. คลิกตัวเลือก รูปภาพ 3. พิมพ์กลุ่มชื่อภาพที่ต้องการจะค้นหา (ตัวอย่างทดลองหาภาพเกี่ยวกับ ปราสาทหินพิมาย) 4. คลิกปุ่ม ค้นหา 5. ภาพทีค้นหาพบ 6. การนาภาพมาใช้งานให้คลิกเมาส์ด้านขวาภาพ > Save Picture asหรือ save image as 7. กาหนดตาแหน่งที่จะบันทึกที่ช่อง Save in 8. กาหนดชื่อที่ช่อง File Name 9. คลิกปุ่ม Save ประโยชน์ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น มีประโยชน์อยู่หลายด้านด้วยกัน เช่น 1. ประหยัดเวลา :: อย่างที่รู้กันอยู่แล้วว่า มีทุกอย่างอยู่ในอินเทอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับว่าเราจะมี วิธีการค้นหาและนามาใช้ได้อย่างไร โดยไม่ต้องเสียเวลาไปเสาะหาข้อมูลจากแหล่งความรู้จริง เช่น ห้องสมุดหนังสือ วารสาร หรือจากบุคคลผู้รู้อื่น ๆ 2. ได้ข้อมูลครบถ้วน :: เนื่องจากการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตนั้น เราสามารถสืบค้น ข้อมูลได้อย่างหลากวิธีแบบ เช่น ข้อมูลข้อความ ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลมัลติมีเดีย หรืออื่น ๆในเนื้อหา หนึ่ง ๆ ก็สามารถนาข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบมาอ้างอิงได้อย่างหลากหลาย 3. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน :: ชุมชนในการเรียนรู้บนอินเทอร์เน็ตนั้น เป็นชุมชนที่มี การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ในลักษณะให้ฟรี หรือมีค่าใช้จ่ายบ้าง ถ้าหากเรามีการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกัน ย่อมทาให้การค้นหาข้อมูลที่สาคัญมีความหลากหลายมากขึ้น แหล่งที่สามารถ สืบค้นข้อมูลได้ ได้แก่ เว็บไซต์ที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ หรือ เว็บไซต์ที่มีเว็บบอร์ดเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน เป็นต้น ตัวอย่างระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร การสืบค้นข้อมูลในรูปแบบต่างๆด้วย GOOGLE SEARCH รูปแบบการสืบค้น เสิร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหาและคือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหา ข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการ แต่ละราย เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะ แสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิลจะ บันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนาประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วย กรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
  • 24. 24 หลักการใช้คา, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Keyword เป็นเครื่องมือในการน าทางการค้นหา อย่างเดียว แต่ถ้าผู้ใช้รู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทาให้ขอบเขตการค้นหา ของ Google แคบลง ทา ให้ผู้ใช้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น เครื่องหมายที่ สามารถนามาช่วยในการค้นหาได้ มี ดังนี้ การใช้เครื่องหมายบวก (+) เชื่อมคา โดยปกติ Google จะไม่ใส่ใจในในการค้นหาข้อมูลจากการ พิมพ์ Keyword ประเภท Common Word( คาง่ายๆ ) เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of แต่เนื่องจากเป็นบางครั้งคาเหล่านี้เป็นคาสาคัญของประโยคที่ผู้ใช้จาเป็น ต้อง ค้นหา ดังนั้นเครื่องหมาย + จะช่วยเชื่อมคา โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเครื่องหมาย + ต้องมี การเว้น วรรค 1 เคาะด้วย เช่น หากต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ที่มีชื่อว่า Age of Empire ถ้าผู้ใช้ พิมพ์ Keyword Age of Empire Google ก็จะทาการค้นหาแยกคาโดย ไม่สนใจคาว่า of และจะ ค้นหาคาว่า Age หรือ Empire เพียงสองคา แต่ถ้าผู้ใช้ระบุว่า Age +of Empire Google จะทาการ ค้นหาทั้งคาว่า Age, of และ Empire ตัดบางคาที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - ) จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตัดเรื่องที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ เช่น ถ้าผู้ใช้ ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เกี่ยวข้อง กับจังหวัดตาก ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้า เครื่องหมายด้วย) Google จะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการ ล่องแก่ง แต่ไม่มีจังหวัดตากเข้ามา เกี่ยวข้อง
  • 25. 25 การค้นหาด้วยเครื่องหมายคาพูด ("...") เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคา ที่ผู้ใช้ ต้องการให้แสดงผลทุกคาในประโยค โดยไม่แยกคา เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บไซต์ เกี่ยวกับเพลงที่มี ชื่อว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า " If I Let You Go" Google จะทาการค้นหาประโยค " If I Let You Go" ทั้งประโยคโดยไม่แยกคาค้นหา ไม่ต้องใช้คาว่า " AND" ในการแยกคาค้นหา แต่เดิมการใช้ Keyword ที่มากกว่า 1 คาในการค้นหาเว็บไซต์แบบแยกคา ผู้ใช้ จาเป็นต้องใช้ AND ในการแยกคาเหล่านั้น ปัจจุบันไม่ต้องใช้ AND แล้ว เพราะ Google จะทาการ แยกคาให้โดยอัตโนมัติเมื่อผู้ใช้ทาการเว้นวรรคคาเหล่านั้น เช่น ถ้า ผู้ใช้พิมพ์คาว่า Thai Travel Nature เมื่อคลิกปุ่มค้นหา ก็จะพบว่าในรายชื่อหรือ เนื้อหาของเว็บที่ปรากฏจะมีคาว่า Thai ,Travel และ Nature อยู่ในนั้นด้วย
  • 26. 26 การค้นหาด้วยคาว่า OR เป็นการสั่งให้ Google ค้นหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการค้นหาเว็บไซต์ที่ เกี่ยวกับ การล่องแก่ง ทั้งในจังหวัดตาก และปราจีนบุรี ให้ผู้ใช้พิมพ์ Keyword ว่า ล่อง แก่ง ตาก OR ปราจีนบุรี Google จะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการล่องแก่งทั้งใน จังหวัดตาก และ กาญจนบุรี Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word คาศัพท์พื้นๆ อย่าง the, where, is, how, a, to และอื่นๆ รวมทั้งตัวเลขและ ตัวอักษร เดี่ยวๆ Google มักไม่ให้ความสาคัญและใส่ใจที่จะค้นหาครับ เนื่องจากเครื่องมือ ที่ Google ใช้จัดเก็บและรวบรวมเว็บทั่วโลกจะค่อนข้างเสียเวลาในการเก็บรวบรวมเว็บที่มี คาเหล่านี้ (ซึ่งมีเยอะมากๆ) แต่ถ้าหากจาเป็น ผู้ใช้จะต้องใช้เครื่องหมาย " + " ในการ เชื่อมคาเหล่านี้ด้วย หรือ อีกทางก็คือผู้ใช้อาจจะระบุคาที่ต้องค้นหาทั้งหมดในรูป ของวลีภายใต้เครื่องหมาย " ……. " การสืบค้นข้อมูล, ไฟล์เอกสาร, รูปภาพ, แผนที่, เว็บไซต์ การสืบค้นไฟล์เอกสาร Google ค้นหาไฟล์ได้ Google สามารถค้นหาไฟล์เอกสารที่สาคัญๆ ได้ดังนี้ Adobe Portable Document Format ( ไฟล์นามสกุล . pdf) Adobe PostScript ( ไฟล์นามสกุล . ps) Lotus 1-2-3 ( ไฟล์นามสกุล . wk1, .wk2, .wk3, .wk4, .wk5, .wki, .wks และ . wku) Lotus WordPro ( ไฟล์นามสกุล . lwp) MacWrite ( ไฟล์นามสกุล . mw) Microsoft Excel ( ไฟล์นามสกุล . xls) Microsoft PowerPoint ( ไฟล์นามสกุล . ppt) Microsoft Word ( ไฟล์นามสกุล . doc) Microsoft Works ( ไฟล์นามสกุล . wks, .wps, .wdb)
  • 27. 27 Microsoft Write ( ไฟล์นามสกุล . wri) Rich Text Format ( ไฟล์นามสกุล . rtf) Shockwave Flash ( ไฟล์นามสกุล . swf) Text ( ไฟล์นามสกุล . ans, .txt) รูปแบบของการค้นหาคือ ให้ผู้ใช้พิมพ์ "ชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสาร" filetype: นามสกุลของ ไฟล์ ในช่อง Google ตัวอย่างเช่น "การเลี้ยงไก่" filetype:doc ซึ่งหมายถึง การ ค้นหาไฟล์เอกสารที่ มีนามสกุล . doc เรื่อง การเลี้ยงไก่ นั่นเอง การสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูล ขั้นตอนการสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูลด้วย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.google.co.th/ 2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “เว็บ” 3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box 4. กดที่ปุ่ม “ค้นหา” 5. ระบบจะทาการค้นหาเว็บไซต์ที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงออกมาใน รูปแบบของลิงค์พร้อม การสืบค้นรูปภาพ ขั้นตอนการสืบค้นรูปภาพด้วย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.google.co.th/ 2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “รูปภาพ” 3. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box 4. กดที่ปุ่ม “ค้นหา” 5. ระบบจะทาการค้นหารูปภาพที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงรูปภาพที่ ค้นหาพบ
  • 28. 28 การสืบค้นวีดิโอ ขั้นตอนการสืบค้นวีดิโอด้วย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.youtube.com/ 2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box 3. กดที่ปุ่ม “search” 4. ระบบจะทาการค้นหาวีดิโอที่ตรงกับ keyword ที่ต้องการ และแสดงวีดิโอที่ค้นหาพบ
  • 29. 29 การสืบค้นคาศัพท์ ขั้นตอนการสืบค้นคาศัพท์ด้วย Search Engine 1. ทาการเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://dict.longdo.com 2. พิมพ์คาศัพท์ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box 3. เลือกบริการ “dictionary” 4. กดที่ปุ่ม “submit” 5. ระบบจะทาการค้นหาคาศัพท์ที่ต้องการพร้อมคาแปล เทคนิคการใช้งาน Google ให้มากกว่าการใช้สืบค้นข้อมูล 1. เช็คเที่ยวบินขาเข้า และขาออกคุณสามารถตรวจสอบ Search Google ไฟล์ทเครื่องบินได้ ทั้งหมด ทั้งขาเข้า และขาออก เพียงแค่พิมพ์ สายการบิน และตามด้วยหมายเลขไฟล์ทนั้นๆ ยกตัวอย่าง เช่น "Nok Air DD8302" หรือ "Thai Airways TG920" เป็นต้น เราจะเห็นรายละเอียด ของเที่ยวบินอย่างละเอียดเลย
  • 30. 30 2. ค้นหาไฟล์เอกสาร นามสกุลต่างๆ ในกรณีที่คุณต้องการค้นหาเอกสารต่างๆ ในรูปแบบ .PDF, .DOC หรือนามสกุลอื่นๆ สามารถทาได้ โดยพิมพ์คาค้นหา ตามด้วย นามสกุลของไฟล์นั้นๆ เช่น "การใช้คอมพิวเตอร์ .PDF" หรือ "คณิตศาสตร์ ป.3 .DOC" ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะเป็นไฟล์เอกสารที่ถูกจัดเก็บไว้บนอินเตอร์เน็ตนั่นเอง
  • 31. 31 3. ค้นหาสินค้า ในช่วงราคาที่ต้องการข้อนี้อธิบายยากหน่อยครับ เป็นการค้นหาสิ่งของ หรือวัตถุ ด้วยตัวเลขในช่วงที่ต้องการ เช่น "โน้ตบุ๊ค Dell 20,000 ... 25,000" หรือ "โปรโมชั่นเดือน ก.ค. ... ส.ค." 4. ค้นหารอบหนัง และรีวิวหนัง ค้นหารอบหนัง รีวิวภาพยนตร์ ง่ายๆ ได้โดยพิมพ์ชื่อภาพยนตร์ลงไปครับ เช่น "Despicable Me 2" หรือ "World War Z" Google ก็จะแสดงรายละเอียดรอบหนัง ซึ่งเราคลิกเข้าไปของได้เลย รวมถึงรีวิหนังให้เราอ่านแบบคร่าวๆ ด้วยนะ 5. เช็คคะแนน สกอร์ ผลการแข่งขัน กีฬาโปรดพิมพ์ชื่อนักกีฬา หรือชื่อทีม เพียงเท่านี้ Google ก็ จะค้นหาการแข่งขันล่าสุด ตารางแข่ง รวมถึงรายละเอียดอื่นๆ มาให้เรารับชมถึงที่เลยครับ
  • 32. 32 6. ตรวจสอบสภาพอากาศเช็คสภาพอากาศก่อนออกไปข้างนอกได้ง่ายๆ เพียงพิมพ์ Weather แล้ว ตามด้วยสถานที่นั้นๆ เช่น "Weather สาทร" หรือ "พยากรณ์อากาศ ภูเก็ต" แต่ว่าสาหรับการ พยากรณ์อากาศในประเทศไทยนั้นอาจจะยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่นะครับ 7. แปลงหน่วยได้สารพัดหน่วยระบบ Search Google สามารถแปลงหน่วยได้แทบทุกหน่วยเลย ครับ เช่น "1 GB = MB" หรือ "10 KM = Miles"
  • 33. 33 8. ดูกระแสหุ้น และตลาดหลักทรัพย์"สาหรับคนเล่นหุ้น ต้องการที่จะติดตามข่าวสารอย่างรวดเร็ว การ Search Google เป็นอีกหนึ่งวิธีที่น่าสนใจเลยทีเดียวครับ เช่น "NASDAQ GOOG 9. เครื่องคิดเลขออนไลน์ คุณสามารถใส่ตัวเลขที่ต้องการคานวณในช่อง Search Google ได้ เช่น "(10*9)+(4*7)" คาตอบก็ จะออกมาภายในพริบตาเลยจ้า
  • 34. 34 10. Local Search ค้นหาสิ่งที่ต้องการ โดยจากัดขอบเขตบริเวณของสถานที่ที่ต้องการ ตามด้วย : และสิ่งที่ต้องการค้นหา เช่น "สีลม: ร้านอาหารญี่ปุ่น" หรือ "ปทุมวัน: สระว่ายน้า"
  • 35. 35 11. ค้นหาคานิยาม เหมือนฟีเจอร์นี้จะใช้ได้ดีกับภาษาอังกฤษเท่านั้น วิธีการใช้ก็คือ Define: ตามด้วยคาที่ต้องทราบ เช่น "define: Microsoft Surface" หรือ "define: Smart TV" 12. ค้นหาเจาะจงเฉพาะเว็บไซต์ เวลาต้องการค้นหาสิ่งที่ต้องการเฉพาะในเว็บไซต์เดียว สามารถทาได้โดย พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหาตาม ด้วยเว็บไซต์ เช่น "โปรแกรมแต่งรูป thaiware.com" หรือ "LINE PC thaiware.com" ผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะมากจากเว็บ thaiware.com เท่านั้น 13. ดูการจราจรบนแผนที่ เลือกเส้นทางการขับขี่ที่เร็วที่สุดและประมาณระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางตามสภาพการจราจรใน ปัจจุบัน
  • 36. 36 ดูข้อมูลการจราจร 1. เปิด Google แผนที่ใหม่ 2. พิมพ์ "การจราจร" หรือ "การจราจรใกล้ชลบุรี" ในช่องค้นหา 3. กด Enter คุณยังสามารถดูสภาพการจราจรในบริเวณรอบๆ ในขณะที่ดูเส้นทางบนแผนที่ คลิกที่ แสดงสภาพ การจราจร บนบัตรข้อมูลเส้นทางเมื่อคุณค้นหาเส้นทาง ความหมายของสี สีต่างๆ ระบุถึงความเร็วของการจราจรบนถนนเมื่อเทียบกับสภาพการจราจรที่รถวิ่งได้ คล่องตัว สาหรับทางหลวง สีเขียวหมายความว่าการจราจรมีความเร็วปกติ ยิ่งถนนเปลี่ยนเป็นสีแดง มากขึ้นเท่าไหร่ ยิ่งแสดงว่าการจราจรมีความเร็วช้าลงเท่านั้น ดูการจราจรโดยทั่วไปของพื้นที่ ถ้าคุณกาลังวางแผนจะเดินทางท่องเที่ยวโดยใช้ถนนในวันหยุดสุดสัปดาห์นี้ คุณสามารถดู การจราจรโดยทั่วไปของพื้นที่ใดๆ ตามวันและเวลาของสัปดาห์ได้ 1. พิมพ์ "การจราจร" หรือ "การจราจรใกล้ชลบุรี" ในช่องค้นหา 2. กด Enter 3. คลิกปุ่มที่อยู่ถัดจาก "การจราจรโดยทั่วไป" 4. เลือกวันและเวลาโดยการคลิกและเลื่อน วันและเวลาที่เลือกจะปรากฏใต้ "การจราจร โดยทั่วไป" ปัญหาการจราจร ขณะใช้มุมมองการจราจร เส้นทาง หรือการนาทาง คุณสามารถดูปัญหาการจราจรได้จากบนแผนที่ ปัญหาการจราจรได้แก่เหตุการณ์ที่ทาให้การจราจรล่าช้า ดังต่อไปนี้ · อุบัติเหตุ · ก่อสร้าง · การปิดถนน · ปัญหาอื่น
  • 37. 37 อ้างอิง อานวย เดชชัยศรี และคณะ. 2553. เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์วัฒนา พานิช จากัด. พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์ และคณะ. 2551. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท.จากัด. http://www.pachirarat.com/network.html https://sites.google.com/site/minkmingkamon/rabb-kherux-khay-khxmphiwtexr http://www.thaigoodview.com/node/118154 http://krusorndee.net/group/4/page/1 http://packlovelove.blogspot.com/ http://taegees.blogspot.com/ http://www.thaigoodview.com/node/161438 http://home.kku.ac.th/regis/student/success/hardware_1.html http://flukky42138.blogspot.com/2014/11/input.html
  • 38. 38 ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากการวิวัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี สารสนเทศและระบบการสื่อสารโทรคมนาคม ความหมาย “สื่ออิเล็กทรอนิกส์” สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็กเช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่อประเภทจานแสง(optical disk)บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกและอ่านข้อมูลเป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจาก วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ เรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia) แสดงผลออกมา หลายรูปแบบตามที่โปรแกรมไว้ เช่น มีเสียง เป็นภาพเคลื่อนไหว สามารถให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ปัจจุบันสื่อประเภทนี้มีหลายลักษณะ ประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 1.คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI CAI ย่อมาจากคาว่า COMPUTER-ASSISTED หมายถึง สื่อการ เรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสื่อ ประสม ได้แก้ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วีดีทัศน์ภาพเคลื่อนไหวและเสียง 2.WBI (Web-based Instruction) คือ บทเรียนที่สร้างขึ้นสาหรับการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตโดยนาจุดเด่นของวิธีการให้บริการข้อมูลแบบ www มาประยุกต์ใช้ Web Base Instructionจึงเป็นบทเรียนประเภท CAI แบบ On-line ในที่นี้หมายความว่า ผู้เรียนเรียนอยู่หน้าจอ คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อผ่านเครือกับเครื่องแม่ข่ายที่บรรจุบทเรียน 3.การเรียนอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตเป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความ สนใจของตนโดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วยข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ มัลติมีเดียอื่นๆ 4.E-book เป็นคาภาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่ สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูล ที่สามารถอ่านเอกสารทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ 5. E-Training E-Training หมายถึง กระบวนการการฝึกอบรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็น กระบวนการจัดการฝึกทักษะ เพิ่มพูนสาระความรู้ ที่เน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมนั้นเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้ เข้าอบรมมีอิสระในการเข้าศึกษา เรียนรู้ตามเวลา โอกาสที่ผู้ฝึกอบรมต้องการโดยเนื้อหาขององค์
  • 39. 39 ความรู้จะถูกออกแบบมาให้ศึกษาเรียนรู้ได้โดยง่าย ในรูปแบบมัลติมีเดียซึ่งประกอบด้วยสื่อที่เป็น ข้อความรูป หรืออาจมีภาพเคลื่อนไหว 6.Learning Object หมายถึง การจัดรูปแบบสาระการเรียนรู้เป็นหน่วยที่เป็นอิสระใช้เวลา สาหรับการเรียนรู้ เป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 2 ถึง 15 นาที และถึงแม้ว่าจะเป็นการเรียนรู้แบบหน่วย ย่อยก็ตาม Learning Object จะมีความสมบรูณ์ในตัวเอง ซึ่งในแต่ละเนื้อหาจะประกอบชื่อเรื่อง คาอธิบาย คาสาคัญ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ข้อดี 1. ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกหนทุกแห่ง จากห้องเรียนปกติไปยังบ้าน และที่ ทางาน ทาให้ไม่เสียเวลาในการเดินทาง 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนรอบโลกในสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ร่วมมือกันได้มีโอกาส เรียนรู้พร้อมกัน 3. ผู้เรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ และความสามารถของตนอง 4. การสื่อสารโดยใช้ อีเมล์ กระดานข่าว การพูดคุยสด ฯลฯ ทาให้การเรียนรู้มีชีวิตชีวาขึ้น กว่าเดิม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยเหลือกันในการเรียน 5. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม และก่อให้เกิดการเรียนแบบร่วมมือ ซึ่งที่จริงแล้ว การเรียนแบบร่วมมือสามารถขยายขอบเขตจากห้องเรียนหนึ่งไปยังห้องเรียนอื่น ๆ ได้โดย การเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ต 6. การเรียนด้วยสื่อหลายมิติทาให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวกโดยไม่ต้องรียง ลาดับกัน 7. ข้อมูลของหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย 8. การเรียนการสอนมีให้เลือกทั้งแบบประสานเวลา คือเรียน และพบกับผู้สอนเพื่อปรึกษา หรือ ถามปัญหาได้ในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และแบบต่างเวลา (Asynchronous) คือ เรียนจากเนื้อหาในเว็บ และติดต่อผู้สอนทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 9. ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และ ตลอดเวลา การสอนบนเว็บตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้งมีทักษะ ในการ ตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10. การสอนบนเว็บเป็นวิธีที่ดีเยี่ยมในการให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ของสถานการณ์จาลอง ทั้งนี้ เพราะสามารถใช้ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพ 3 มิติ ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับชีวิตจริงได้
  • 40. 40 ข้อจากัด 1. การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นยังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรม เพื่อใช้ในวงการ อื่น ๆ ทาให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจานวน และขอบเขตจากัดที่จะ นามาใช้เรียนในวิชาต่างๆ 2. การที่จะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเองนั้น นับว่าเป็น งานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทาให้เป็นการเพิ่มภาระของ ผู้สอนให้มีมากยิ่งขึ้น 3. เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลาดับขั้นตอนใน การสอนทุกอย่างตามที่วางไว้ ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงไม่สามารถช่วยในการ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้ 4. ผู้เรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่ อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียงตาม ขั้นตอน ทาให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้ ขั้นตอนการสร้างระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีลักษณะสาคัญ 4 ประการ ซึ่งเรียกย่อๆ ว่า 4-I คือ สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระที่ได้รับการเรียบเรียง ทาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ผู้สร้างได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้ การนาเสนออาจ เป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมก็ได้ ทางตรงได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทติวเตอร์ เช่นการอ่าน จา ทาความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนาเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกมและการจาลอง ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualized) หมายถึง ต้องตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล คือลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ช่วย สอน บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหนึ่ง จึงต้องได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากที่สุด การโต้ตอบ (Interactive) คือการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียน การสอนรูปแบบที่ดีที่สุดก็คือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้มากที่สุด การให้ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลป้อนกลับหรือการให้คาตอบนี้ถือเป็นการ เสริมแรงอย่างหนึ่ง การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถึงการที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ สมบูรณ์จะต้องมีการ ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาหรือทักษะต่าง ๆ ตาม องค์ประกอบสาคัญของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คาถาม ภาพเคลื่อนไหว 2. ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคาตอบ
  • 41. 41 3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน 4. ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลาดับต่อไป ประเภทของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. บทเรียน (Tutorial) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาในลักษณะของบทเรียนโปรแกรมที่เสนอ เนื้อหาความรู้เป็นส่วนย่อย ๆเลียนแบบการสอนของครู 2. ฝึกทักษะและปฏิบัติ (Drill and Practice) ส่วนใหญ่ใช้เสริมการสอน ลักษณะที่นิยมกัน มากคือ การจับคู่ ถูก-ผิด เลือกข้อถูกจากตัวเลือก 3. จาลองแบบ (Simulation) นิยมใช้กับบทเรียนที่ไม่สามารถทาให้เห็นจริงได้ 4. เกมทางการศึกษา (Educational Game) 5. การสาธิต (Demonstration) นิยมใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 6. การทดสอบ (Testing) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 7. การไต่ถาม (Inquiry) ใช้เพื่อการค้นหาข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด 8. การแก้ปัญหา (Problem Solving) เน้นการให้ฝึกการคิดการตัดสินใจ 9. แบบรวมวิธีต่าง ๆ เข้าด้วย (Combination) ประยุกต์เอาวิธีสอนหลายแบบมารวมกันตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการ ประโยชน์ของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของตนเอง โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล 2. นักเรียนได้เรียนเป็นขั้นตอนจากง่ายไปหายากอย่างเป็นระบบ 3. มีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน 4. ไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาเรียน นักเรียนสามารถศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน ขณะที่อยู่ที่บ้านหรืออยู่ที่โรงเรียน 5. ลดเวลาในการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นการเรียนการสอนแบบเอกัตบุคคล ซึ่งนักเรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการวัดผลและประเมินผลไปพร้อมๆ กัน และยังช่วยนักเรียนที่มีปัญหา ในการเรียน โดยการจัดโปรแกรมเสริมในส่วนที่เป็นปัญหาหรือใช้เสริมความรู้ให้กับนักเรียน ที่เรียนรู้ ได้เร็ว โดยไม่ต้องคอยเพื่อนในชั้นเรียน 6. สร้างทัศนคติที่ดีให้แก่นักเรียน โดยนักเรียนต้องฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ในการเรียน และสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนด้วย 7. ทาในสิ่งที่สื่ออื่น ๆ ทาไม่ได้ เช่น การตัดสินใจเสนอเนื้อหาใหม่ ๆ หรือการตัดสินใจ เรียน ซ้าในเนื้อหาเดิม 8. ลดเวลาในการสอนของครู ในการเรียนวิชาที่มีการฝึกทักษะ ครูจะเสียเวลาในช่วงนี้มาก เพราะแต่ละคนมี ความสามารถแตกต่างกัน ครูสามารถให้นักเรียนแต่ละคนได้ฝึกทักษะจาก คอมพิวเตอร์แทน
  • 42. 42 9. ทาให้ครูได้มีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ และมีการนาสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา ใช้ ในการเรียนการสอนมากขึ้น 10. สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแม้จะมีประโยชน์หลาย ๆ ด้านก็ตาม แต่ในการนาเอาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในการ เรียนการสอนนั้น จะต้องคานึงถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นด้วย เพราะ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่สามารถ ที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ เนื่อง จาก คอมพิวเตอร์เป็นเพียงอุปกรณ์ ชนิดหนึ่งที่ช่วยในการเรียนการสอนเท่านั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้มีประสิทธิภาพสูงนั้น จะต้องอาศัย บุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน คุณค่าของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ การนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาใช้ในการเรียนการสอนพบว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีคุณค่าทาง การ สอน คือ 1. ให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างรวดเร็ว เมื่อนักเรียนมีปัญหา หรือไม่เข้าใจในบทเรียนหรือเมื่อ นักเรียนตอบคาถามได้ถูกต้องเครื่องจะรายงาน ผลให้ทราบทันที ซึ่งเป็นการกระตุ้น ให้ผู้เรียนมีความ ต้องการ ที่จะเรียนต่อไป 2. ลดปัญหาระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียน เพราะเป็นการเรียน แบบ เอกัตบุคคลผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทันกันได้ 3. ผู้เรียนที่เรียนดี จะเรียนได้เร็วกว่าการสอนปกติ และช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา โดยการจัด โปรแกรมเสริมในส่วนที่ยังไม่เข้าใจและยังเป็นอุปกรณ์เสริมสาหรับนักเรียนที่ เรียนเก่งให้สามารถ ศึกษาได้ด้วยตนเอง 4. เป็นสื่อการสอนที่ดี เพราะสื่อการสอนชนิดอื่นไม่สามารถทาได้ เช่น การสร้างสถานการณ์ จาลอง การเลียนแบบของจริง ตลอดจนการช่วยตัดสินใจการเสนอเนื้อหาใหม่ ๆ หรือจะให้ผู้เรียน ศึกษาเนื้อหาเดิมอีก ก็ได้ 5. ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการปรับปรุงเนื้อหาบทเรียนสามารถทา ได้รวดเร็ว 6. ความทันสมัยของคอมพิวเตอร์จะช่วยให้สื่อน่าสนใจยิ่งขึ้น 7. สามารถใช้สื่ออื่น ๆ ร่วมกันได้ เช่น เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น 8. สามารถสื่อสาร และถ่ายโอนข้อมูลในระบบสารสนเทศได้ดี จากคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังกล่าว ทาให้แตกต่างไปจากสื่อการสอนอื่น ๆ คือ สามารถโต้ตอบ และแสดงผลลัพธ์ บางอย่างให้ผู้เรียนดูได้ทันที ทาให้น่าตื่นเต้น สนุกสนาน เร้าความ สนใจให้ อยากเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงมีการศึกษาผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งพอสรุปได้ว่า การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน มีส่วนเสริมให้มีการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลดีกว่าการสอนแบบอื่น
  • 43. 43 การประยุกต์ใช้ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ การนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้งาน สามารถกระทาได้หลายลักษณะ ได้แก่ 1. ใช้สอนแทนผู้สอน ทั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน, บททบทวน และสอนเสริม 2. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางไกล ผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น ผ่านดาวเทียม เป็นต้น 3. ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อน ไม่สามารถแสดงข้องจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร 4. เป็นสื่อช่วยสอน วิชาที่อันตราย โดยการสร้างสถานการณ์จาลอง เช่น การสอนขับ เครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ 5. เป็นสื่อแสดงลาดับขั้น ของเหตุการณ์ที่ต้องการให้เห็นผลอย่างชัดเจน และช้า เช่น การ ทางานของมอเตอร์รถยนต์ หรือหัวเทียน 6. เป็นสื่อฝึกอบรมพนักงานใหม่ โดยไม่ต้องเสียเวลาสอนซ้าหลายๆ หน 7. สร้างมาตรฐานการสอน ลักษณะของระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรมีลักษณะการนาเสนอเป็นตอน ตอนสั้นๆ ที่เรียกว่า เฟรม หรือ กรอบ เรียงลาดับไปเรื่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง (Self Learning) และควร จัดทาปุ่มควบคุม หรือรายการควบคุมการทางาน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่น มีส่วนที่เป็นบททบทวน หรือแบบฝึกปฏิบัติ แบบทดสอบ หลังจากที่มีการนาเสนอไปแต่ละตอน หรือ แต่ละช่วง ควรตั้งคาถาม เพื่อเป็นการทบทวน หรือเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ในเนื้อหาใหม่ที่นาเสนอ แก่ผู้เรียน สาหรับการตอบสนองต่อการตอบคาถาม ควรใช้เสียง หรือคาบรรยาย หรือภาพกราฟิก เพื่อสร้างแรงจูงใจ ความมั่นใจในการเรียนรู้ โดยเฉพาะเนื้อหาสาหรับเด็กเล็ก นอกจากนี้ควรมีส่วนที่ เสริมความเข้าใจ ในกรณีที่ผู้เรียนตอบคาถามผิด ไม่ควรข้ามเนื้อหา โดยไม่ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้อง เกี่ยวกับเรื่องเวลาในการเรียน ควรให้อิสระต่อผู้เรียน ไม่ควรจากัดเวลา เพื่อเปิดโอกาสให้เรียนตาม ความต้องการของผู้เรียนเอง เนื้อหาบทเรียนควรมีทางเลือกหลากหลาย เช่น ถ้าผู้เรียนรับรู้ได้เร็ว ก็ สามารถข้ามเนื้อหาบางช่วงได้ เป็นต้น ส่วนประกอบในการจัดทาบทเรียนระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ การจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จะต้องมีการวางแผน โดยคานึงถึงส่วนประกอบในการจัดทา ดังนี้ 1. บทนาเรื่อง (Title) เป็นส่วนแรกของบทเรียน ช่วยกระตุ้น เร้าความสนใจ ให้ผู้เรียนอยาก ติดต่อเนื้อหาต่อไป 2. คาชี้แจงบทเรียน (Instruction) ส่วนนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการใช้บทเรียน การทางานของ บทเรียน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียน 3. วัตถุประสงค์บทเรียน (Objective) แนะนา อธิบายความคาดหวังของบทเรียน 4. รายการเมนูหลัก (Main Menu) แสดงหัวเรื่องย่อยของบทเรียนที่จะให้ผู้เรียนศึกษา 5. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre Test) ส่วนประเมินความรู้ขั้นต้นของผู้เรียน เพื่อดูว่าผู้เรียนมี
  • 44. 44 ความรู้พื้นฐานในระดับใด 6. เนื้อหาบทเรียน (Information) ส่วนสาคัญที่สุดของบทเรียน โดยนาเสนอเนื้อหาที่จะ นาเสนอ 7. แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post Test) ส่วนนี้จะนาเสนอเพื่อตรวจผลวัดสัมฤทธิ์การ เรียนรู้ของผู้เรียน 8. บทสรุป และการนาไปใช้งาน (Summary – Application) ส่วนนี้จะสรุปประเด็นต่างๆ ที่ จาเป็น และยกตัวอย่างการนาไปใช้งาน การออกแบบหน้าจอของบทเรียน เนื่องจากการจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการ ออกแบบหน้าจอ จึงเป็นประเด็นสาคัญด้วย เพื่อดึงดูดความสนใจ และช่วยให้จัดรูปแบบการนาเสนอ ที่สมดุลกันขององค์ประกอบต่างๆ บนจอภาพ เพราะถ้าเนื้อหาถึงจะดีเพียงใดก็ตาม หากหน้าจอไม่ดี หรือไม่ดึงดูด ก็ส่งผลต่อการใช้โปรแกรมได้ คุณค่าของสื่อก็จะลดลงด้วย โดยองค์ประกอบเกี่ยวกับการ ออกแบบหน้าจอ ได้แก่ ความละเอียดของจอภาพ ปัจจุบันความละเอียดของจอภาพที่นิยมใช้ จะมีสองค่า คือ 640×480 pixel และ 800×600 pixel ดังนั้นควรพิจารณาถึงความละเอียดที่จะดีที่สุด เพราะหาก ออกแบบหน้าจอ สาหรับจอภาพ 800×600 pixel แต่นามาใช้กับจอภาพ 640×480 pixel จะทาให้ เนื้อหาตกขอบจอได้ แต่ถ้าหากจัดทาด้วยค่า 640×480 pixel หากนาเสนอผ่านจอ 800×600 pixel จะปรากฎพื้นที่ว่างรอบเฟรมเนื้อหาที่นาเสนอ การใช้สี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนั่งดู และศึกษาบทเรียนได้ดี ควรใช้สีในโทนเย็น หรืออาจจะ พิจารณาองค์ประกอบร่วมกัน คือ สีของพื้น (Background) ควรเป็นสีขาว, สีเทาอ่อน ในขณะที่สี ข้อความ ควรเป็นสีในโทนเย็น เช่น สีน้าเงินเข้ม, สีเขียวเข้ม หรือสีที่ตัดกับสีพื้น จะมีการใช้สีโทนร้อน กับข้อความที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษเท่านั้น และไม่ควรใช้สีเกิน 4 สีกับเนื้อหาข้อความ ไม่ควรสลับสี ไปมาในแต่ละเฟรม รูปแบบของการจัดหน้าจอ รูปแบบของการจัดหน้าจอ ที่สมดุลกันระหว่างเมนู, รายการ เลือก, เนื้อหา, ภาพประกอบ จะช่วยให้ผู้ใช้สนใจเนื้อหาได้มาก โดยมากมักจะแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ ได้แก่ ส่วนแสดงหัวเรื่อง, ส่วนแสดงเนื้อหา, ส่วนแสดงภาพประกอบ, ส่วนควบคุมบทเรียน, ส่วน ตรวจสอบเนื้อหา, ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น นาฬิกาแสดงเวลา, หมายเลขเฟรมลาดับเนื้อหา, คะแนน เป็นต้น การนาเสนอเนื้อหาที่เป็นข้อความ ซึ่งแรกที่ควรคานึงถึงคือ ฟอนต์ที่นามาใช้งาน ควรเป็น ฟอนต์มาตรฐาน มีรูปแบบที่ชัดเจน มีการกาหนดขนาดที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย นาเสนอด้วย ข้อความนาแบบสั้นๆ เพื่อดึงเข้าเนื้อหาจริง หลีกเลี่ยงการนาเสนอแบบจัดกึ่งกลาง ควรนาเสนอภาพ พอประมาณ ไม่มาก หรือน้อยเกินไป จุดเน้นให้ใช้การตีกรอบสี หรือเน้นด้วยสีตัวอักษรด้วยสีโทนร้อน รูปแบบการนาเสนอ และควบคุมบทเรียน รูปแบบการนาเสนอ อาจจะใช้แบบรายการเลือก
  • 45. 45 หรือแบบเรียงลาดับเนื้อหา หรืออาจจะใช้การคลิกไปยังส่วนประกอบต่างๆ ของภาพที่นาเสนอก็ได้ ขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่นาเสนอนั้นๆ ลักษณะของการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ดี มีดังนี้ 1. สร้างขึ้นตามจุดประสงค์ของการสอน 2. เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน 3. มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนให้มากที่สุด 4. มีลักษณะเป็นการสอนรายบุคคล 5. คานึงถึงความสนใจของผู้เรียน 6. สร้างความรู้สึกในทางบวกกับผู้เรียน 7. จัดทาบทเรียนให้สามารถแสดงผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนให้มาก ๆ 8. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน 9. มีวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เรียนอย่างเหมาะสม 10. ใช้สมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ และหลีกเลี่ยงข้อจากัดบางอย่างของ เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่บนพื้นฐานของการออกแบบการสอนคล้ายกับการผลิตสื่อชนิดอื่น ๆควรมีการ ประเมินผล ทุกแง่ทุกมุม ตัวอย่างระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 46. 46
  • 47. 47
  • 48. 48