SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นางสาวกนกพร ไชยโย เลขที่ 8
นายสิงขร ไชยถา เลขที่ 46
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ที่มา http://nampinggfc071.blogspot.com/2015/07/3.html
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอน
จะมีความสาคัญต่อความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การคัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควรเป็นไป
ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง การสารวจและ
การเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของการทาโครงงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทารายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
ที่มา https://sites.google.com/site/wasanacom551/to-dos
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่
ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะ
ได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง
ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว
อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้
- เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน
- ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึง
ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
ที่มา http://siriwimon44126.blogspot.com/2016/01/3_25.html
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ
คาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการ
กาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะ
ศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน
การศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีก
แหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก
เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูน
ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิด
ที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ตัวอย่าง
เว็บไซต์ เช่น
1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน
3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการ
แข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล
ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์
ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน หรือต่อยอดได้
5) http://www.ipthailand.org เป็นเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
6) http://www.bangcare.net เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ที่
อานวยความสะดวกให้กับคนพิการ
ที่มา http://phaitongg.blogspot.com/2015/07/blog-post.html
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้
3.1 กาหนดขอบเขตงาน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามา
กาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงาน
3.2 การออกแบบการพัฒนา
การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่
ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น
การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความ
เป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจาก
การปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็น
ทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ
3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่
ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทา
โครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
ขั้นตอนการจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
ที่มา http://flps.com/science-fair-2014/
เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา
โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ใน
การทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุด
บันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ
ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร
รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จ
ก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และ
ถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก
ข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการ
ทางาน
4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้
แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วย
ประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้น
กะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการ
อภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ
ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงาน
ของผู้อื่นมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่
สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การจัดทารายงาน
เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และ
สรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการ
พัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและ
ข้อเสนอแนะต่างๆ
เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย
ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนา
ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก
1.2 ใบรองปก
1.3 ปกใน
1.4 บทคัดย่อ
1.5 กิตติกรรมประกาศ
1.6 สารบัญ
1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
2. ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย
2.1 บทที่ 1 บทนา
2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ
2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน
3. ส่วนอ้างอิง
เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิง
หรือบรรณานุกรม และภาคผนวก
3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้
ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
- ชื่อผลงาน
- ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุ
รายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
- ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์
ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
- คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่
อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก
- วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด
หรือกดปุ่มใด
- ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดี
ที่สุด
คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์
หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้
เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการเขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบ
ดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่
สาคัญที่สุดที่
ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่
ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง
ของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทา
โครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้
ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วย
คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามา
เสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการใน
ประเด็นต่อไปนี้
1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่าง
ตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย
2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจ
ต้องใช้ในการตอบคาถาม
3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน
4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน
5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่
ทางานได้เป็นอย่างดี

More Related Content

What's hot

โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์Chalermkiat Aum
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์woobingirlfriend
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน0910797083
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4dannttml
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4iverin
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4thunnattapat
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Dom Pisit
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์wetpisit poomirat
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Paphatsara Rueancome
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่Nattaporn Bunmak
 
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์Ploy Pony
 
งานคอมสวย
งานคอมสวยงานคอมสวย
งานคอมสวยfahsrisakul
 

What's hot (19)

โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Projectcom2
Projectcom2Projectcom2
Projectcom2
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
Com3
 Com3 Com3
Com3
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kk3
Kk3Kk3
Kk3
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่
 
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมสวย
งานคอมสวยงานคอมสวย
งานคอมสวย
 

Similar to ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์

Computer project3
Computer project3Computer project3
Computer project3ning1414
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
Num
NumNum
Numnpyp
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์French Natthawut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
Activities3
Activities3Activities3
Activities3tataaaz
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4Thunyakan Intrawut
 
แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2Wuttipong Thachai
 
ขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานKrooIndy Csaru
 
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ xzodialol
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer projectjungkookjin
 

Similar to ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

Computer project3
Computer project3Computer project3
Computer project3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
Num
NumNum
Num
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Daranath
DaranathDaranath
Daranath
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Activities3
Activities3Activities3
Activities3
 
03 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation303 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation3
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2
 
ขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Fahji
FahjiFahji
Fahji
 
Type of computer project
Type of computer projectType of computer project
Type of computer project
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
Work2.39
Work2.39Work2.39
Work2.39
 
Computer3
Computer3Computer3
Computer3
 

More from qnlivyatan

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5qnlivyatan
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1qnlivyatan
 
ขี้คาน
ขี้คานขี้คาน
ขี้คานqnlivyatan
 
604 2560 pongsakon_31
604 2560 pongsakon_31604 2560 pongsakon_31
604 2560 pongsakon_31qnlivyatan
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560qnlivyatan
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองqnlivyatan
 

More from qnlivyatan (7)

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
ขี้คาน
ขี้คานขี้คาน
ขี้คาน
 
604 2560 pongsakon_31
604 2560 pongsakon_31604 2560 pongsakon_31
604 2560 pongsakon_31
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวกนกพร ไชยโย เลขที่ 8 นายสิงขร ไชยถา เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
  • 2. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ที่มา http://nampinggfc071.blogspot.com/2015/07/3.html โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอน จะมีความสาคัญต่อความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การคัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควรเป็นไป ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง การสารวจและ การเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของการทาโครงงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทารายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
  • 3. ที่มา https://sites.google.com/site/wasanacom551/to-dos 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะ ได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้ - เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน - ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
  • 4. - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึง ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ที่มา http://siriwimon44126.blogspot.com/2016/01/3_25.html การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ คาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการ กาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะ ศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน การศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีก แหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูน ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิด
  • 5. ที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ตัวอย่าง เว็บไซต์ เช่น 1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน 3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการ แข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา 4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน หรือต่อยอดได้ 5) http://www.ipthailand.org เป็นเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา 6) http://www.bangcare.net เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ที่ อานวยความสะดวกให้กับคนพิการ ที่มา http://phaitongg.blogspot.com/2015/07/blog-post.html
  • 6. 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้ 3.1 กาหนดขอบเขตงาน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามา กาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงาน 3.2 การออกแบบการพัฒนา การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน 3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความ เป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจาก การปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็น ทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ 3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทา โครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
  • 7. ขั้นตอนการจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน ที่มา http://flps.com/science-fair-2014/ เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ใน การทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุด บันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
  • 8. 4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จ ก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และ ถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก ข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการ ทางาน 4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้ แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วย ประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้น กะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการ อภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงาน ของผู้อื่นมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่ สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 9. 5. การจัดทารายงาน เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และ สรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการ พัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและ ข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนนา ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ 1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ 1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี) 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย 2.1 บทที่ 1 บทนา 2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
  • 10. 2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน 3. ส่วนอ้างอิง เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิง หรือบรรณานุกรม และภาคผนวก 3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก 3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี) หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย - ชื่อผลงาน - ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุ รายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ - ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ - คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่ อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก - วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด - ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดี ที่สุด คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้ เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการเขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบ ดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่ สาคัญที่สุดที่
  • 11. ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง ของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทา โครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วย คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามา เสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการใน ประเด็นต่อไปนี้ 1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่าง ตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย 2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจ ต้องใช้ในการตอบคาถาม 3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน
  • 12. 4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่ ทางานได้เป็นอย่างดี