SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ไดออกซิน (dioxins) เป็นผลิตผลทางเคมีที่เกิดขึ้น
มาโดยมิได้ตั้งใจผลิตขึ้น (unintentional products)
จากกระบวนการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็น
สารประกอบในกลุ่มคลอริเนตเตท อะโรเมติก
(chlorinated aromatic compounds) ทีมีออกซิเจน
                                        ่
(O) และคลอรีน (Cl) เป็นองค์ประกอบ 1 ถึง 8
อะตอม ไดออกซิน มีชื่อเรียกเต็ม คือ โพลีคลอริเนต
เตท ไดเบนโซ พารา-ไดออกซิน (polychlorinated
dibenzo-para-dioxins: PCDDs) มีทงหมด 75
                                     ั้
ชนิด
โครงสร้างของสารไดออกซิน/ฟิวแรน ทีประกอบ
                                          ่
ด้วยคลอรีนอะตอมเกาะเกี่ยวด้วยพันธะทางเคมีกับ
วงแหวนเบนซีน ละลายได้ดีในไขมัน ทำาให้สารใน
กลุ่มนีมความคงทนสูงอยู่ในสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต
       ้ ี
ละลายนำ้าได้นอย สามารถถ่ายทอดและสะสมได้ใน
              ้
ห่วงโซ่อาหาร (food chain) สามารถเคลื่อนย้ายและ
แพร่กระจายในอากาศและตกลงสู่ดิน รวมทังแหล่ง
                                        ้
นำ้า สามารถเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ทงทางตรงและทาง
                                ั้
อ้อม มีความเป็นพิษโดยมีการจัดการลำาดับความเป็น
พิษของ WHO ซึ่งเทียบให้เป็นสารทีมความเป็นพิษ
                                   ่ ี
ระดับ 1
สารกลุ่มไดออกซิน/ฟิวแรนทีเกิดขึ้น
                          ่
ในรูปของผลผลิตพลอยได้จากหลาย
กระบวนการและแพร่กระจายสู่
สิงแวดล้อม สามารถสรุปได้ ดังนี้
  ่

1. กระบวนการผลิตเคมีภณฑ์ทมคลอรีนโบรมีน ฟี
                       ั    ี่ ี
นอล เป็นองค์ประกอบ
2. กระบวนการเผาไหม้จากเตาเผาอุณหภูมสูง
                                    ิ
(incinerator)
3. กระบวนการทางธรรมชาติ หรือ กิจกรรมของ
มนุษย์ทมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ
        ี่
4. กระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีแสง
dioxins เข้าสู่ร่างกายได้โดยถูกดูดซึมทางผิวหนัง
และทางปาก คนและสัตว์ได้รับ dioxins จากสิ่ง
แวดล้อม เช่น ดิน อากาศ นำ้า รวมทั้งจากอาหาร มา
เป็นเวลานานแล้ว มีการประมาณว่า 90% ของ
dioxins ทีคนได้รับมาจากอาหาร โดยเฉพาะเนือสัตว์
          ่                                  ้
ปลา และผลิตภัณฑ์นม ร่างกายคนและสัตว์สามารถ
กำาจัด dioxins ออกได้บางส่วน แต่ส่วนใหญ่จะสะสม
อยู่ในตับและไขมัน ร่างกายคนและสัตว์ขับ dioxins
ออกทางนำ้านมและผ่านรกได้ half life ของ dioxins
ในคนมีค่าประมาณ 2 – 6 ปี ซึ่งนานกว่าในสัตว์มาก
1. พิษ เฉีย บพลัน ไดออกซิน ไม่ท ำา ให้เ กิด
อาการพิษ หรือ ตายอย่า งเฉีย บพลัน แต่อ าการ
จะค่อ ยๆเกิด ขึ้น และทวีความรุนแรงจนถึงแก่ชีวิต
ได้ภายในเวลา 14 – 28 ชั่วโมง อาการที่จัดเป็น
ลักษณะของพิษทีเกิดจากสาร
                   ่
ไดออกซินคือ อาการทีเรียกว่า “Wasting
                      ่
Syndrome” โดยลักษณะอาการแบบนีจะเกิดการสูญ
                                    ้
เสียนำ้าหนักตัวอย่างรวดเร็วจากการได้รับสารเป็น
2-3 วัน
2. พิษ เรื้อ รัง ไดออกซิน /ฟิว แรน จะทำา ให้น ำ้า
หนัก ตัว ลดลงและเกิด ความผิด ปกติท ต ับ ทำาให้
                                       ี่
เซลล์ตับตาย และเกิดอาการโรคผิวหนังอักเสบ
1. การกระจายสู่แหล่งนำ้า
2. การกระจายสู่ดินไดออกซินสามารถปนเปื้อนได้
ในดินจากกระบวนการเผาไหม้และการทับถม
(deposition) ของไดออกซินและฟิวแรน ซึ่งพบได้ที่
ชั้นบนสุดของผิวหน้าดินเนืองจากไดออกซินมีความ
                         ่
สามารถในการละลายนำ้า(water solubility) ตำ่า
3. การปะปนของไดออกซินในนำ้าทิงจาก้
กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
4. การแพร่กระจายจากสัตว์นำ้า
5. การแพร่กระจายจากการเผาไหม้นำ้ามันเชื้อเพลิง
6. การแพร่กระจายของไดออกซินจากการเผาไหม้
วัสดุที่มคลอรีนในการเผาไหม้วัสดุหรือมูลฝอยที่มี
         ี
7. การแพร่กระจายสารไดออกซินจากการไม้ฟนใน ื
ครัวเรือน
8. การแพร่กระจายของสารไดออกซินในนมมารดา
9. การแพร่กระจายของไดออกซินในอาหารจากการ
ปนเปื้อนของไดออกซินในอาหารเลี้ยงสัตว์ (animal
feed) ผ่านทางห่วงโซ่อาหารและเข้าสูร่างกายของ
                                  ่
มนุษย์
นอกจากนี้ยงสามารถพบ
           ั
ไดออกซินในนำ้าลาย (saliva)
 ของมนุษย์ดวย้
การตรวจวิเคราะห์สารได
ออกซินนันสามารถอ้างอิงได้
           ้
หลายวิธี ซึ่งวิธีมาตรฐาน
เหล่านั้นจะเปลี่ยนแปลงไป
ตามตัวอย่างประเภทต่างๆ
เช่น ตัวอย่างอากาศจาก
ปล่อง ตัวอย่างในบรรยากาศ
ตัวอย่างนำ้าทิง ตัวอย่าง
               ้
ชีวภาพ ตัวอย่างอาหาร ฯลฯ
นอกจากนันแต่ละประเทศก็
             ้
จะมีมาตรฐานการวิเคราะห์
ด้วยวิธีต่างๆ กัน
วิธีการตรวจวัดสารไดออกซินต่างๆ สรุปได้ดังนี้
1. วิธีสกัดโดยเทคนิคต่างๆ
2. วิธีการกำาจัดสิงสกปรกออกจากตัวอย่าง (clean
                  ่
up)
3. การควบคุมคุณภาพการวิเคราะห์ (Quality
control and Quality assurance)
4. การวิเคราะห์ทางปริมาณ (Quantitative
analysis)
5. การรายงานผล (report) เป็นพิโคกรัม
(pictogram : pg )
วิธีจัดการกากของเสียไดออกซินที่มผลกระทบต่อสิ่ง
                                  ี
แวดล้อมน้อยและเป็นวิธีที่ USEPA แนะนำาคือ
การเผา (Incineration) โดยเตาเผาทีเหมาะสมมี 3
                                    ่
แบบ คือ
1. Rotary kiln อุณหภูมิ 850-1,600 °C ระยะเวลาที่
กากของเสียอยูในเตาเผาเป็นวินาที สำาหรับกากของ
               ่
เสียทีเป็นของเหลวหรือก๊าซและเป็นชั่วโมงสำาหรับ
       ่
ของแข็ง
2. Fluidized bed อุณหภูมิ 450-980 °C ระยะเวลา
ทีกากของเสียในเตาเผาเช่นเดียวกับเตาเผาชนิด
  ่
Rotary kiln
3. Liquid injection อุณหภูมิ 650-1,600 °C ระยะ
ประเทศไทยเริ่มมีการกำาหนดให้เตาเผามูลฝอยเป็น
แหล่งกำาเนิดมลพิษ ที่จะต้องควบคุมการปล่อยอากาศ
เสียออกสูบรรยากาศและกำาหนดมาตรฐานควบคุม
         ่
การปล่อยทิงอากาศเสีย โดยจัดทำาเป็นประกาศ 4
           ้
ฉบับ

ฉบับที่ 1 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2540 เรื่อง กำาหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย
                  ้
ซึงกำาหนดค่าสารประกอบไดออกซินรวมไม่เกิน 30
  ่
นาโน
กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ฉบับ ที่ 2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545
เรื่อง กำาหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีปล่อย
                                        ่
ออกจากเตาเผา สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไม่ใช้แล้วทีเป็น
                                 ี่          ่
อันตรายจากอุตสาหกรรม กำาหนดค่าปริมาณของ
สารเจือปนในอากาศประเภทไดออกซินและฟิวราน
(Dioxins/Furans I- TEQ) ไม่เกิน 0.5 นาโนกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร

ฉบับ ที่ 3 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิงแวดล้อม พ.ศ. 2548 เรื่องกำาหนดมาตรฐาน
  ่
ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติด
                   ้
เชื้อ พ.ศ. 2546 ค่าสารประกอบไดออกซิน ซึ่ง
ฉบับ ที่ 4 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิงแวดล้อม พ.ศ. 2549 เรื่อง กำาหนดมาตรฐาน
  ่
ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากโรงงานปูนซิเมน
                  ้
ต์ทใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการ
    ี่
ผลิตค่าสารประกอบไดออกซิน ซึ่งคำานวณผลในรูป
ของหน่วยความเข้มข้นเทียบเคียงความเป็นพิษต่อ
มนุษย์ (Dioxins/Furans I- TEQ) ไม่เกิน 0.5 นาโน
กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP)
และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้มความเห็น
                                    ี
สอดคล้องกันคือ ต้องการให้มกลไกทางกฎหมาย
                               ี
ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมการปลดปล่อยสารมลพิษ
ทีตกค้างยาวนาน (Persistent Organic
  ่
Pollutants : POPs) เบื้องต้น 12 ชนิด คือ อัลดริน
(aldrin) คลอเดน(chlordane) ดีดีที (DDT)
ดิลดริน (dieldrin) เอนดริน (endrin) เฮปตะคลอ
(heptachlor) เอชซีบี (hexachlorobenzene)
ไมเร็กซ์ (mirex)
ท็อกซาฟิน (toxaphene) พีซบี (polychlorinated
                             ี
Biphenyls : PCBs) ไดออกซิน(Polychlorinated
โดยพันธกรณีสำาคัญทีภาคีต้องปฏิบัติ หลังจาก
                     ่
อนุสัญญา POPs มีผลบังคับใช้แล้ว มีดงนี้
                                     ั
1. ใช้มาตรการทางกฎหมายและการบริหารในการ
ห้ามผลิตและใช้สาร POPs 9 ชนิดแรก
2. จะนำาเข้า/ ส่งออกสาร POPs ได้ก็เฉพาะตาม
วัตถุประสงค์ทอนุญาตให้ทำาได้ เช่น มีข้อยกเว้น
               ี่
พิเศษเพือนำามาใช้เป็นสารกำาจัดปลวก สารกำาจัด
        ่
แมลง เป็นต้น
3. ต้องจัดทำาแผนปฏิบัติการในการลดหรือเลิกการ
ปล่อยสาร POPs จากกระบวนการผลิตภายใน 2 ปี
หลังจากอนุสัญญา POPs บังคับใช้
4. ส่งเสริมการใช้สารทดแทน แนวปฏิบัติทางด้านสิง่
4. ส่งเสริมการใช้สารทดแทน แนวปฏิบัติทางด้านสิง ่
แวดล้อม และเทคนิคทีดีทสุด
                      ่ ี่
5. ประกันว่าคลังสินค้าทีมสาร POPs ต้องได้รับการ
                        ่ ี
ดูแลไม่ให้ส่งผลต่อสุขภาพมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมรวม
ทังต้องดูแลจัดการของเสียทีเกิดจากสาร POPs ใน
  ้                         ่
ทำานองเดียวกัน
6. กำาหนดแผนและปฏิบัติตามแผนเพือเป็นไปตาม
                                  ่
อนุสัญญา POPs และส่งรายงานให้ทประชุมภาคี
                                    ี่
ภายใน 2 ปีหลังจากอนุสัญญา POPs มีผลบังคับใช้
7. ให้ผู้บริหารและผู้กำาหนดนโยบายมีความเข้าใจ
เรื่อง POPs
8. ให้ความรู้เกี่ยวกับ POPs แก่สาธารณชน
9. สนับสนุนให้มการวิจัยเรื่องผลกระทบต่างๆ จาก
                  ี
สาร POPs ทังในระดับชาติและระหว่างประเทศ
              ้
10. ตั้งศูนย์ประสานงานระดับชาติเพื่อทำาหน้าทีใน
                                             ่
การแลกเปลี่ยนข้อมูลและหน้าที่อื่นๆ

More Related Content

Similar to Dioxin

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
N'apple Naja
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
Thitiporn Klainil
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลสารภี
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
AKii Fam
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
Nong Max Z Kamilia
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วิศิษฏ์ ชูทอง
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
Nithimar Or
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
eakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Eakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Eakarat Sumpavaman
 

Similar to Dioxin (20)

Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 1
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
 

Dioxin

  • 1.
  • 2.
  • 3. ไดออกซิน (dioxins) เป็นผลิตผลทางเคมีที่เกิดขึ้น มาโดยมิได้ตั้งใจผลิตขึ้น (unintentional products) จากกระบวนการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็น สารประกอบในกลุ่มคลอริเนตเตท อะโรเมติก (chlorinated aromatic compounds) ทีมีออกซิเจน ่ (O) และคลอรีน (Cl) เป็นองค์ประกอบ 1 ถึง 8 อะตอม ไดออกซิน มีชื่อเรียกเต็ม คือ โพลีคลอริเนต เตท ไดเบนโซ พารา-ไดออกซิน (polychlorinated dibenzo-para-dioxins: PCDDs) มีทงหมด 75 ั้ ชนิด
  • 4. โครงสร้างของสารไดออกซิน/ฟิวแรน ทีประกอบ ่ ด้วยคลอรีนอะตอมเกาะเกี่ยวด้วยพันธะทางเคมีกับ วงแหวนเบนซีน ละลายได้ดีในไขมัน ทำาให้สารใน กลุ่มนีมความคงทนสูงอยู่ในสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต ้ ี ละลายนำ้าได้นอย สามารถถ่ายทอดและสะสมได้ใน ้ ห่วงโซ่อาหาร (food chain) สามารถเคลื่อนย้ายและ แพร่กระจายในอากาศและตกลงสู่ดิน รวมทังแหล่ง ้ นำ้า สามารถเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ทงทางตรงและทาง ั้ อ้อม มีความเป็นพิษโดยมีการจัดการลำาดับความเป็น พิษของ WHO ซึ่งเทียบให้เป็นสารทีมความเป็นพิษ ่ ี ระดับ 1
  • 5. สารกลุ่มไดออกซิน/ฟิวแรนทีเกิดขึ้น ่ ในรูปของผลผลิตพลอยได้จากหลาย กระบวนการและแพร่กระจายสู่ สิงแวดล้อม สามารถสรุปได้ ดังนี้ ่ 1. กระบวนการผลิตเคมีภณฑ์ทมคลอรีนโบรมีน ฟี ั ี่ ี นอล เป็นองค์ประกอบ 2. กระบวนการเผาไหม้จากเตาเผาอุณหภูมสูง ิ (incinerator) 3. กระบวนการทางธรรมชาติ หรือ กิจกรรมของ มนุษย์ทมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ ี่ 4. กระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีแสง
  • 6. dioxins เข้าสู่ร่างกายได้โดยถูกดูดซึมทางผิวหนัง และทางปาก คนและสัตว์ได้รับ dioxins จากสิ่ง แวดล้อม เช่น ดิน อากาศ นำ้า รวมทั้งจากอาหาร มา เป็นเวลานานแล้ว มีการประมาณว่า 90% ของ dioxins ทีคนได้รับมาจากอาหาร โดยเฉพาะเนือสัตว์ ่ ้ ปลา และผลิตภัณฑ์นม ร่างกายคนและสัตว์สามารถ กำาจัด dioxins ออกได้บางส่วน แต่ส่วนใหญ่จะสะสม อยู่ในตับและไขมัน ร่างกายคนและสัตว์ขับ dioxins ออกทางนำ้านมและผ่านรกได้ half life ของ dioxins ในคนมีค่าประมาณ 2 – 6 ปี ซึ่งนานกว่าในสัตว์มาก
  • 7. 1. พิษ เฉีย บพลัน ไดออกซิน ไม่ท ำา ให้เ กิด อาการพิษ หรือ ตายอย่า งเฉีย บพลัน แต่อ าการ จะค่อ ยๆเกิด ขึ้น และทวีความรุนแรงจนถึงแก่ชีวิต ได้ภายในเวลา 14 – 28 ชั่วโมง อาการที่จัดเป็น ลักษณะของพิษทีเกิดจากสาร ่ ไดออกซินคือ อาการทีเรียกว่า “Wasting ่ Syndrome” โดยลักษณะอาการแบบนีจะเกิดการสูญ ้ เสียนำ้าหนักตัวอย่างรวดเร็วจากการได้รับสารเป็น 2-3 วัน 2. พิษ เรื้อ รัง ไดออกซิน /ฟิว แรน จะทำา ให้น ำ้า หนัก ตัว ลดลงและเกิด ความผิด ปกติท ต ับ ทำาให้ ี่ เซลล์ตับตาย และเกิดอาการโรคผิวหนังอักเสบ
  • 8. 1. การกระจายสู่แหล่งนำ้า 2. การกระจายสู่ดินไดออกซินสามารถปนเปื้อนได้ ในดินจากกระบวนการเผาไหม้และการทับถม (deposition) ของไดออกซินและฟิวแรน ซึ่งพบได้ที่ ชั้นบนสุดของผิวหน้าดินเนืองจากไดออกซินมีความ ่ สามารถในการละลายนำ้า(water solubility) ตำ่า 3. การปะปนของไดออกซินในนำ้าทิงจาก้ กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม 4. การแพร่กระจายจากสัตว์นำ้า 5. การแพร่กระจายจากการเผาไหม้นำ้ามันเชื้อเพลิง 6. การแพร่กระจายของไดออกซินจากการเผาไหม้ วัสดุที่มคลอรีนในการเผาไหม้วัสดุหรือมูลฝอยที่มี ี
  • 9. 7. การแพร่กระจายสารไดออกซินจากการไม้ฟนใน ื ครัวเรือน 8. การแพร่กระจายของสารไดออกซินในนมมารดา 9. การแพร่กระจายของไดออกซินในอาหารจากการ ปนเปื้อนของไดออกซินในอาหารเลี้ยงสัตว์ (animal feed) ผ่านทางห่วงโซ่อาหารและเข้าสูร่างกายของ ่ มนุษย์ นอกจากนี้ยงสามารถพบ ั ไดออกซินในนำ้าลาย (saliva) ของมนุษย์ดวย้
  • 10. การตรวจวิเคราะห์สารได ออกซินนันสามารถอ้างอิงได้ ้ หลายวิธี ซึ่งวิธีมาตรฐาน เหล่านั้นจะเปลี่ยนแปลงไป ตามตัวอย่างประเภทต่างๆ เช่น ตัวอย่างอากาศจาก ปล่อง ตัวอย่างในบรรยากาศ ตัวอย่างนำ้าทิง ตัวอย่าง ้ ชีวภาพ ตัวอย่างอาหาร ฯลฯ นอกจากนันแต่ละประเทศก็ ้ จะมีมาตรฐานการวิเคราะห์ ด้วยวิธีต่างๆ กัน
  • 11. วิธีการตรวจวัดสารไดออกซินต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1. วิธีสกัดโดยเทคนิคต่างๆ 2. วิธีการกำาจัดสิงสกปรกออกจากตัวอย่าง (clean ่ up) 3. การควบคุมคุณภาพการวิเคราะห์ (Quality control and Quality assurance) 4. การวิเคราะห์ทางปริมาณ (Quantitative analysis) 5. การรายงานผล (report) เป็นพิโคกรัม (pictogram : pg )
  • 12. วิธีจัดการกากของเสียไดออกซินที่มผลกระทบต่อสิ่ง ี แวดล้อมน้อยและเป็นวิธีที่ USEPA แนะนำาคือ การเผา (Incineration) โดยเตาเผาทีเหมาะสมมี 3 ่ แบบ คือ 1. Rotary kiln อุณหภูมิ 850-1,600 °C ระยะเวลาที่ กากของเสียอยูในเตาเผาเป็นวินาที สำาหรับกากของ ่ เสียทีเป็นของเหลวหรือก๊าซและเป็นชั่วโมงสำาหรับ ่ ของแข็ง 2. Fluidized bed อุณหภูมิ 450-980 °C ระยะเวลา ทีกากของเสียในเตาเผาเช่นเดียวกับเตาเผาชนิด ่ Rotary kiln 3. Liquid injection อุณหภูมิ 650-1,600 °C ระยะ
  • 13. ประเทศไทยเริ่มมีการกำาหนดให้เตาเผามูลฝอยเป็น แหล่งกำาเนิดมลพิษ ที่จะต้องควบคุมการปล่อยอากาศ เสียออกสูบรรยากาศและกำาหนดมาตรฐานควบคุม ่ การปล่อยทิงอากาศเสีย โดยจัดทำาเป็นประกาศ 4 ้ ฉบับ ฉบับที่ 1 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2540 เรื่อง กำาหนดมาตรฐาน ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ้ ซึงกำาหนดค่าสารประกอบไดออกซินรวมไม่เกิน 30 ่ นาโน กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
  • 14. ฉบับ ที่ 2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545 เรื่อง กำาหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีปล่อย ่ ออกจากเตาเผา สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไม่ใช้แล้วทีเป็น ี่ ่ อันตรายจากอุตสาหกรรม กำาหนดค่าปริมาณของ สารเจือปนในอากาศประเภทไดออกซินและฟิวราน (Dioxins/Furans I- TEQ) ไม่เกิน 0.5 นาโนกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ฉบับ ที่ 3 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม พ.ศ. 2548 เรื่องกำาหนดมาตรฐาน ่ ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติด ้ เชื้อ พ.ศ. 2546 ค่าสารประกอบไดออกซิน ซึ่ง
  • 15. ฉบับ ที่ 4 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม พ.ศ. 2549 เรื่อง กำาหนดมาตรฐาน ่ ควบคุมการปล่อยทิงอากาศเสียจากโรงงานปูนซิเมน ้ ต์ทใช้ของเสียเป็นเชื้อเพลิงหรือเป็นวัตถุดิบในการ ี่ ผลิตค่าสารประกอบไดออกซิน ซึ่งคำานวณผลในรูป ของหน่วยความเข้มข้นเทียบเคียงความเป็นพิษต่อ มนุษย์ (Dioxins/Furans I- TEQ) ไม่เกิน 0.5 นาโน กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
  • 16. โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้มความเห็น ี สอดคล้องกันคือ ต้องการให้มกลไกทางกฎหมาย ี ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมการปลดปล่อยสารมลพิษ ทีตกค้างยาวนาน (Persistent Organic ่ Pollutants : POPs) เบื้องต้น 12 ชนิด คือ อัลดริน (aldrin) คลอเดน(chlordane) ดีดีที (DDT) ดิลดริน (dieldrin) เอนดริน (endrin) เฮปตะคลอ (heptachlor) เอชซีบี (hexachlorobenzene) ไมเร็กซ์ (mirex) ท็อกซาฟิน (toxaphene) พีซบี (polychlorinated ี Biphenyls : PCBs) ไดออกซิน(Polychlorinated
  • 17. โดยพันธกรณีสำาคัญทีภาคีต้องปฏิบัติ หลังจาก ่ อนุสัญญา POPs มีผลบังคับใช้แล้ว มีดงนี้ ั 1. ใช้มาตรการทางกฎหมายและการบริหารในการ ห้ามผลิตและใช้สาร POPs 9 ชนิดแรก 2. จะนำาเข้า/ ส่งออกสาร POPs ได้ก็เฉพาะตาม วัตถุประสงค์ทอนุญาตให้ทำาได้ เช่น มีข้อยกเว้น ี่ พิเศษเพือนำามาใช้เป็นสารกำาจัดปลวก สารกำาจัด ่ แมลง เป็นต้น 3. ต้องจัดทำาแผนปฏิบัติการในการลดหรือเลิกการ ปล่อยสาร POPs จากกระบวนการผลิตภายใน 2 ปี หลังจากอนุสัญญา POPs บังคับใช้ 4. ส่งเสริมการใช้สารทดแทน แนวปฏิบัติทางด้านสิง่
  • 18. 4. ส่งเสริมการใช้สารทดแทน แนวปฏิบัติทางด้านสิง ่ แวดล้อม และเทคนิคทีดีทสุด ่ ี่ 5. ประกันว่าคลังสินค้าทีมสาร POPs ต้องได้รับการ ่ ี ดูแลไม่ให้ส่งผลต่อสุขภาพมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมรวม ทังต้องดูแลจัดการของเสียทีเกิดจากสาร POPs ใน ้ ่ ทำานองเดียวกัน 6. กำาหนดแผนและปฏิบัติตามแผนเพือเป็นไปตาม ่ อนุสัญญา POPs และส่งรายงานให้ทประชุมภาคี ี่ ภายใน 2 ปีหลังจากอนุสัญญา POPs มีผลบังคับใช้
  • 19. 7. ให้ผู้บริหารและผู้กำาหนดนโยบายมีความเข้าใจ เรื่อง POPs 8. ให้ความรู้เกี่ยวกับ POPs แก่สาธารณชน 9. สนับสนุนให้มการวิจัยเรื่องผลกระทบต่างๆ จาก ี สาร POPs ทังในระดับชาติและระหว่างประเทศ ้ 10. ตั้งศูนย์ประสานงานระดับชาติเพื่อทำาหน้าทีใน ่ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและหน้าที่อื่นๆ