SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
การเขียนผังงาน
เบื้องต้น
ความหมายผังงาน
ผังงาน หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรม โดยเขียนเป็นเครื่องหมายภาพ
สัญลักษณ์แสดงลาดับขั้นตอนการทางานการเขียนผังงาน เป็นการถ่ายทอดความเข้าใจที่ได้
จากการวิเคราะห์งานให้อยู่ในรูปภาพหรือสัญลักษณ์ ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถเข้าใจลา
ดับขั้นตอนการเขียน
โปรแกรมได้อย่างรวดเร็วและง่ายขึ้น และง่ายต่อการตรวจสอบความถูกต้องของลาดับ
ขั้นตอนในวิธีการประมวลผล
วิ
วิธีการเขียนผังงานที่ดี
- ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
- ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
- คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย
- ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก
- ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
- ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
วิ
การทางานด้วยมือ (manual
operation)
แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน
การนาข้อมูลเข้า-ออกโดยทั่วไป (general
input/output)
แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ
คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์
แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย
แผ่นบันทึกข้อมูล
จานบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย
จานบันทึกข้อมูล
การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ (manual input) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ
การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ
การทาเอกสาร (documentation) แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วย
เครื่องพิมพ์
การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
การเตรียมการ (preparation) แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ
การเรียกโปรแกรมภายนอก (external
subroutine)
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ใน
โปรแกรมนั้น
การเรียกโปรแกรมภายใน (internal
subroutine)
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ในโปรแกรมนั้น
สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน
การเรียงข้อมูล (sort) แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตามข้อกาหนด
ทิศทาง (flow line) แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่จะปฏิบัติ
ต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้
หมายเหตุ (annotation) แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหมายเหตุ
ของจุดต่างๆ ที่แสดงในผังงานด้วยสัญลักษณ์ไม่
ชัดเจน
การติดต่อทางไกล (communication link) แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้ายข้อมูลด้วยระบบการ
ติดต่อทางไกล
จุดเชื่อมต่อ (connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญญลักษณ์
เพื่อให้ดูง่าย
จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page
connector)
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ
เริ่มต้นและลงท้าย (terminal) แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ
โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย
รูปแบบของผังงาน
รูปแบบการเขียนผังงานมี 3 รูปแบบ
1. แบบตามลาดับ (Sequence)
2. แบบการเลือก/ตัดสินใจ/เงื่อนไข (Selection/Decision/Condition)
3. แบบวนซ้า (Iteration / Loop)
แบบเรียงลาดับ (Sequence)
โจทย์: โปรแกรมทาการอ่านเลข 3 จานวน ทาการบวก เลข ทั้งหมด พร้อม
พิมพ์ผลรวม
วิเคราะห์: ผลรวมเกิดจากการบวกเลข 3 จานวน
OUTPUT: ผลรวมของเลข 3 จานวน
INPUT : ตัวเลข 3 จานวน
ขั้นตอน:
1. รับเลขทั้ง 3 จานวน
2. คานวณผลรวม
3. พิมพ์ผลรวม
Start
total = 0
Read num1 , num 2+3
Print Total
Stop
แบบมีเงื่อนไข(Decision)
จากตัวอย่าง ประกอบด้วยโครงสร้างผังงาน 2 โครงสร้าง คือ การทางานแบบลาดับและการเลือกทา การทา
งานของผังงานสามารถอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานได้ดังนี้
1. เริ่มต้นการทางาน
2. รับค่าข้อมูล จานวน 2 ค่า มาเก็บไว้ในตัวแปร X และ Y
3. ตรวจสอบเงื่อนไข ถ้า X น้อยกว่า Y แล้วทา
3.1 คานวณค่า SUM = X2*Y2
มิฉะนั้นแล้ว
3.2 คานวณค่า SUM = X * Y
4. แสดงค่า SUM
5. จบการทางาน
แบบทาซ้า (Loop)
จากรูป ประกอบด้วยลักษณะโครงสร้างผังงาน 2 ลักษณะ คือ โครงสร้างผังงานการทางานแบบ
ลาดับ และการทาซ้าลักษณะทาจนกระทั่ง มีขั้นตอน ดังนี้
1. เริ่มต้นการทางาน
2. กาหนดให้ a = 1
3. ทาซ้าจนกระทั่ง a <>
3.1 แสดงค่า a
3.2 คานวณค่า a เท่ากับ a+1
4. จบการทางาน
ประโยชน์ของผังงาน
1. ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
2. ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
3. ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
4. ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น
5. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
6. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการพิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน
ต่างกับการบรรยายเป็นตัวอักษร เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้
7. ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความถูกต้องของลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามี
ข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้สะดวกและรวดเร็ว
8. การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว
9. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดูผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งใน
โปรแกรมช่วยสร้างผังงาน
1. โปรแกรม XMind
โปรแกรม XMind เป็นโปรแกรมช่วยในการเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) ที่ไม่ต้องเสีย
ค่าลิขสิทธิ์โปรแกรมใดๆ ทั้งสิ้น โดยโปรแกรมมีคุณสมบัติเด่นคือ โปรแกรม XMIND สามารถสร้าง
ภาพความคิด (Visualized Idea) ในรูปแบบต่างๆ ได้หลากหลายประกอบด้วย
- การสร้างแผนที่ความคิด (Mind Map) เพื่อการจัดการความคิด
- การสร้างแผนผังก้างปลา (Fishbone Diageam) เพื่อการวิเคราะห์ปัจจัยและปัญหา
- การสร้างผังองค์กร (Organization Chart) ออกแบบผังองค์กรและงาน
- การสร้างผังการตัดสินใจ (Decision Tree) เพื่อการวิเคราะห์ทางเลือก
- การสร้างตารางความคิด (Idea spreadsheet)
- อื่นๆ ตามจินตนาการ (Imagine map)
2. Dia โปรแกรมออกแบบผังงาน
Dia หรือ Diagram เป็นโปรแกรมสาหรับออกแบบแผนผัง Diagram Flowchart ในกลุ่ม
โอเพนซอร์ส (OSS) มีเครื่องมือให้ใช้งานหลากหลายรูปแบบ เช่น Flowchart, Map เป็นต้น
สามารถออกแบบแผนงานได้หลากหลาย เช่น ออกแบบผังห้องคอมพิวเตอร์, ออกแบบ ER-Diagram
เป็นต้น ทาให้ Dia เป็นโปรแกรมออกแบบผังงานในระดับที่ดี (Diagramming tool)
3.โปรแกรม Edraw Mind Map
Edraw Mind Map เป็นโปรแกรมสร้างแผนผังนโนทัศน์หรือแผนผังความคิด (Mind Map)
โดยโปรแกรมมีตัวอย่าง มีแม่แบบตลอดจนมีวัตถุ (Object) ในลักษณะต่างๆ ที่เอาไว้ใช้จัดการกับแผน
ความคิดที่หลากหลาย การใช้งานโปรแกรมมีความง่าย ผลงานที่ได้จึงมีความสวยงาม นอกจากนั้นผลงาน
เมื่อจัดทาเสร็จแล้วยังสามารถนาออกไปเพื่อใช้งานได้หลากหลายรูปแบบครอบคลุมการทางานปัจจุบันได้
เป็นอย่างดี
4. โปรแกรม FreeMind
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้าง Mind Map ที่ใช้สาหรับการจัดการ และ บริหารความคิดของสมองให้
เป็นไปอย่างมีระเบียบแบบแผน โปรแกรมเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ได้ถูกพัฒนาขึ้นบนภาษาจาวา
(Java) เพราะภาษาจาวามีความยืดหยุ่นสูง รองรับการทางานบนระบบปฏิบัติการได้หลากหลายอาทิ
เช่น Windows, Mac OS และ LINUX ดังนั้น จึงต้องดาวน์โหลดตัวแปลภาษาจาวามาติดตั้ง
ก่อน จึงจะสามารถทาการติดตั้ง FreeMind

More Related Content

Viewers also liked

ความภาคภูมิใจและรางวัล
ความภาคภูมิใจและรางวัลความภาคภูมิใจและรางวัล
ความภาคภูมิใจและรางวัลsirikanya444
 
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นการใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นaejira1 aejira
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52guest7f765e
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มkruthanyaporn
 
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14sangkom
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การสร้างแผนภูมิ
การสร้างแผนภูมิการสร้างแผนภูมิ
การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03Prachyanun Nilsook
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01Prachyanun Nilsook
 
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียน
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียนรูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียน
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียนarisara
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานTwatchai Tangutairuang
 

Viewers also liked (20)

Ict for teacher3
Ict for teacher3Ict for teacher3
Ict for teacher3
 
ความภาคภูมิใจและรางวัล
ความภาคภูมิใจและรางวัลความภาคภูมิใจและรางวัล
ความภาคภูมิใจและรางวัล
 
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นการใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
2010012 wordpress-com-boonkiat
2010012 wordpress-com-boonkiat2010012 wordpress-com-boonkiat
2010012 wordpress-com-boonkiat
 
OSS & Freeware for Library
OSS & Freeware for LibraryOSS & Freeware for Library
OSS & Freeware for Library
 
MindMap : MindManager
MindMap : MindManagerMindMap : MindManager
MindMap : MindManager
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
 
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์
เทคนิคการค้นคว้าจากเว็บไซต์
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
การสร้างแผนภูมิ
การสร้างแผนภูมิการสร้างแผนภูมิ
การสร้างแผนภูมิ
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
 
Twitter for Education
Twitter for EducationTwitter for Education
Twitter for Education
 
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียน
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียนรูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียน
รูปแบบการบริการจัดการโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานอาเซียน
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
 

Similar to งานคอม3

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Unyas
 
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3pornnutcha
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหา
บทที่ 2 การแก้ปัญหาบทที่ 2 การแก้ปัญหา
บทที่ 2 การแก้ปัญหาrussana
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingNunnaphat Chadajit
 
ผังงาน1
ผังงาน1ผังงาน1
ผังงาน1patchu0625
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานSomporn Boonrin
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศABELE Snvip
 

Similar to งานคอม3 (20)

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหา
บทที่ 2 การแก้ปัญหาบทที่ 2 การแก้ปัญหา
บทที่ 2 การแก้ปัญหา
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solving
 
ผังงาน1
ผังงาน1ผังงาน1
ผังงาน1
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Work3 34
Work3 34Work3 34
Work3 34
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
K5
K5K5
K5
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 

งานคอม3

  • 2. ความหมายผังงาน ผังงาน หมายถึง เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรม โดยเขียนเป็นเครื่องหมายภาพ สัญลักษณ์แสดงลาดับขั้นตอนการทางานการเขียนผังงาน เป็นการถ่ายทอดความเข้าใจที่ได้ จากการวิเคราะห์งานให้อยู่ในรูปภาพหรือสัญลักษณ์ ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถเข้าใจลา ดับขั้นตอนการเขียน โปรแกรมได้อย่างรวดเร็วและง่ายขึ้น และง่ายต่อการตรวจสอบความถูกต้องของลาดับ ขั้นตอนในวิธีการประมวลผล วิ วิธีการเขียนผังงานที่ดี - ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ - ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา - คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย - ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก - ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน - ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม วิ
  • 3. การทางานด้วยมือ (manual operation) แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน การนาข้อมูลเข้า-ออกโดยทั่วไป (general input/output) แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์ แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย แผ่นบันทึกข้อมูล จานบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย จานบันทึกข้อมูล การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ (manual input) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ การทาเอกสาร (documentation) แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วย เครื่องพิมพ์ การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง การเตรียมการ (preparation) แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ การเรียกโปรแกรมภายนอก (external subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ใน โปรแกรมนั้น การเรียกโปรแกรมภายใน (internal subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ในโปรแกรมนั้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน
  • 4. การเรียงข้อมูล (sort) แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตามข้อกาหนด ทิศทาง (flow line) แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่จะปฏิบัติ ต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้ หมายเหตุ (annotation) แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหมายเหตุ ของจุดต่างๆ ที่แสดงในผังงานด้วยสัญลักษณ์ไม่ ชัดเจน การติดต่อทางไกล (communication link) แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้ายข้อมูลด้วยระบบการ ติดต่อทางไกล จุดเชื่อมต่อ (connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญญลักษณ์ เพื่อให้ดูง่าย จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ เริ่มต้นและลงท้าย (terminal) แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย
  • 5. รูปแบบของผังงาน รูปแบบการเขียนผังงานมี 3 รูปแบบ 1. แบบตามลาดับ (Sequence) 2. แบบการเลือก/ตัดสินใจ/เงื่อนไข (Selection/Decision/Condition) 3. แบบวนซ้า (Iteration / Loop) แบบเรียงลาดับ (Sequence) โจทย์: โปรแกรมทาการอ่านเลข 3 จานวน ทาการบวก เลข ทั้งหมด พร้อม พิมพ์ผลรวม วิเคราะห์: ผลรวมเกิดจากการบวกเลข 3 จานวน OUTPUT: ผลรวมของเลข 3 จานวน INPUT : ตัวเลข 3 จานวน
  • 6. ขั้นตอน: 1. รับเลขทั้ง 3 จานวน 2. คานวณผลรวม 3. พิมพ์ผลรวม Start total = 0 Read num1 , num 2+3 Print Total Stop
  • 7. แบบมีเงื่อนไข(Decision) จากตัวอย่าง ประกอบด้วยโครงสร้างผังงาน 2 โครงสร้าง คือ การทางานแบบลาดับและการเลือกทา การทา งานของผังงานสามารถอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานได้ดังนี้ 1. เริ่มต้นการทางาน 2. รับค่าข้อมูล จานวน 2 ค่า มาเก็บไว้ในตัวแปร X และ Y 3. ตรวจสอบเงื่อนไข ถ้า X น้อยกว่า Y แล้วทา 3.1 คานวณค่า SUM = X2*Y2 มิฉะนั้นแล้ว 3.2 คานวณค่า SUM = X * Y 4. แสดงค่า SUM 5. จบการทางาน
  • 8. แบบทาซ้า (Loop) จากรูป ประกอบด้วยลักษณะโครงสร้างผังงาน 2 ลักษณะ คือ โครงสร้างผังงานการทางานแบบ ลาดับ และการทาซ้าลักษณะทาจนกระทั่ง มีขั้นตอน ดังนี้ 1. เริ่มต้นการทางาน 2. กาหนดให้ a = 1 3. ทาซ้าจนกระทั่ง a <> 3.1 แสดงค่า a 3.2 คานวณค่า a เท่ากับ a+1 4. จบการทางาน
  • 9. ประโยชน์ของผังงาน 1. ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน 2. ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด 3. ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 4. ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น 5. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ 6. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการพิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน ต่างกับการบรรยายเป็นตัวอักษร เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้ 7. ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความถูกต้องของลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามี ข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้สะดวกและรวดเร็ว 8. การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว 9. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดูผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งใน
  • 10. โปรแกรมช่วยสร้างผังงาน 1. โปรแกรม XMind โปรแกรม XMind เป็นโปรแกรมช่วยในการเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) ที่ไม่ต้องเสีย ค่าลิขสิทธิ์โปรแกรมใดๆ ทั้งสิ้น โดยโปรแกรมมีคุณสมบัติเด่นคือ โปรแกรม XMIND สามารถสร้าง ภาพความคิด (Visualized Idea) ในรูปแบบต่างๆ ได้หลากหลายประกอบด้วย - การสร้างแผนที่ความคิด (Mind Map) เพื่อการจัดการความคิด - การสร้างแผนผังก้างปลา (Fishbone Diageam) เพื่อการวิเคราะห์ปัจจัยและปัญหา - การสร้างผังองค์กร (Organization Chart) ออกแบบผังองค์กรและงาน - การสร้างผังการตัดสินใจ (Decision Tree) เพื่อการวิเคราะห์ทางเลือก - การสร้างตารางความคิด (Idea spreadsheet) - อื่นๆ ตามจินตนาการ (Imagine map)
  • 11. 2. Dia โปรแกรมออกแบบผังงาน Dia หรือ Diagram เป็นโปรแกรมสาหรับออกแบบแผนผัง Diagram Flowchart ในกลุ่ม โอเพนซอร์ส (OSS) มีเครื่องมือให้ใช้งานหลากหลายรูปแบบ เช่น Flowchart, Map เป็นต้น สามารถออกแบบแผนงานได้หลากหลาย เช่น ออกแบบผังห้องคอมพิวเตอร์, ออกแบบ ER-Diagram เป็นต้น ทาให้ Dia เป็นโปรแกรมออกแบบผังงานในระดับที่ดี (Diagramming tool) 3.โปรแกรม Edraw Mind Map Edraw Mind Map เป็นโปรแกรมสร้างแผนผังนโนทัศน์หรือแผนผังความคิด (Mind Map) โดยโปรแกรมมีตัวอย่าง มีแม่แบบตลอดจนมีวัตถุ (Object) ในลักษณะต่างๆ ที่เอาไว้ใช้จัดการกับแผน ความคิดที่หลากหลาย การใช้งานโปรแกรมมีความง่าย ผลงานที่ได้จึงมีความสวยงาม นอกจากนั้นผลงาน เมื่อจัดทาเสร็จแล้วยังสามารถนาออกไปเพื่อใช้งานได้หลากหลายรูปแบบครอบคลุมการทางานปัจจุบันได้ เป็นอย่างดี
  • 12. 4. โปรแกรม FreeMind เป็นโปรแกรมสาหรับสร้าง Mind Map ที่ใช้สาหรับการจัดการ และ บริหารความคิดของสมองให้ เป็นไปอย่างมีระเบียบแบบแผน โปรแกรมเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ได้ถูกพัฒนาขึ้นบนภาษาจาวา (Java) เพราะภาษาจาวามีความยืดหยุ่นสูง รองรับการทางานบนระบบปฏิบัติการได้หลากหลายอาทิ เช่น Windows, Mac OS และ LINUX ดังนั้น จึงต้องดาวน์โหลดตัวแปลภาษาจาวามาติดตั้ง ก่อน จึงจะสามารถทาการติดตั้ง FreeMind