SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
การปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนรู้ เป็นหัวใจสาคัญ ที่จะนาพาสู่การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษา อันจะส่งผลให้ผู ้เรียนได้รับการพัฒนาได้สูงสุด
สู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามความมุ ่งหมายที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ และบทบัญญัติที่ว่าด้วยแนวการดาเนินการของหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ก็กาหนดชัดเจนในหมวด 4 ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินี้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมวิชาการซึ่งเป็นแกนหลักโดยประสานความร่วมมือกับกรม กอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชน
ได้กาหนดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ทธศักราช 2544 ซึ่งประกาศใช้เมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2544 ที่ผ่านมา เดือนพฤษภาคมของปี การศึกษา 2545 นี้
ได้เริ่มใช้หลักสูตรที่ประกาศใหม่ในโรงเรียนนาร่องและโรงเรียนเครือข่ายการใช้หลักสูตรฯ ประมาณ 2,000 โรงเรียน และในปี การศึกษา 2547 ทุกโรงเรียนในทุกสังกัดจานวนประมาณ
40,000 โรงเรียน จะเริ่มใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ครอบคลุม
จากการที่กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นนาร่องและเครืองข่ายการใช้หลักสูตรฯ
และจากการติดตามการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่ทุกสถานศึกษาต้องจัดทาเป็นของตนเองโดยผู ้เกี่ยวข้อมีส่วนร่วมนั้น โรงเรียนดาเนินการโดยยึดมาตรฐานของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นข้อกาหนดเชิงเป้าหมายหลักของประเทศ และโรงเรียนจะกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น โดยกระบวนการดังกล่าว เป็นไปตามหลักการกระจายอานาจทางกา
รศึกษา โดยมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นระบบคุมให้เกิดความเชื่อมั่นในการดาเนินการ ทั้งนี้ภาพสะท้อนจากการติดตามพบว่า สถานศึกษาที่เป็นโรงเรียนนาร่องและเครือข่ายฯ
ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมโดยพื้นฐานอยู่แล้วนั้นสามารถดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาได้เป็นที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม เมื่อดูภาพรวมทั้งประเทศซึ่งมีสถานศึกษาอีกประมาณ 40,000 โรงเรียน ที่มีสถานภาพความพร้อมที่หลากหลาย ซึ่งจะต้องจัดทาและใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ
ในปี ต่อ ๆ ไป กระทรวงศึกษาธิการมีความตระหนักในสภาพดังกล่าวโดยได้พยายามดาเนินการในลักษณะต่าง
ๆ ให้เป็นไปตามข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมาตรา 27 วรรคแรก ที่ว่าด้วยการกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสนับสนุนให้สถานศึกษาสามาร
ถดาเนินการในมาตรา 27 วรรคสอง คือการกาหนดสาระเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นในหลักสูตรของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และล่าสุดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ
ขึ้น โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.สิริกร มณีรินทร์ เป็นประธานที่ปรึกษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะอนุกรรมการย่อยครบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการของกระทรวงฯ
จะมีบทบาทในการสนับสนุน ติดตามดูแลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยรวม โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน ที่มีบท
บาทในการพัฒนาคุณภาพวิชาการในองค์รวมของกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ อย่างใกล้ชิด อาทิ ตั้งแต่การกาหนดสาระแกนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตัวอย่าง พิจารณาและเสนอแนะสิ่งต่าง ๆ
ทั้งสื่อแบบเรียน สื่ออุปกรณ์ต่าง
ๆ ที่เหมาะสมในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ ตลอดจนการประสานจัดเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาในท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น ทั้งนี้สิ่ง
ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการและอนุกรรมการ
ฯ กาหนดล้วนอยู่บนหลักการการสนับสนุนสถานศึกษาให้มีตัวอย่างหรือทรัพยากรที่จะพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเอง และสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะกับสถานศึกษาจานวนไม่น้อยที่มีความพร้อมไ
ม่มาก และต้องการการสนับสนุนทางวิชาการลักษณะนี้ และทั้งนี้ทั้งนั้นการดาเนินการจะอยู่บนฐานหลักการใหญ่ คือ การกระจายอานาจทางวิชาการและการบริหารจัดการสู่สถานศึกษาเป็นสาคัญ
ก่อนหน้าการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ทางกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดตั้งคณะกรรมการจัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุ ทธศาสนา ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ และตามด้วยคณะ
กรรมการฯ
สาระการเรียนรู้อิสลามศึกษา ซึ่งมีบทบาทใกล้เคียงกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ แต่ดูแลเฉพาะสาระการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งผลการดาเนินงานเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง ยกตัวอย่างคณะกรรมการฯ สาระการเรียนรู้พระพุ ท
ธศาสนา ซึ่งดาเนินการตามภาระกิจเสร็จสิ้นกว่าร้อยละ 80 โดยคณะกรรมการเกิดขึ้นจากความร่วมมือจากมหาเถรสมาคม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหามกุฎราชวิทยาลัย เป็นต้น โดยมีพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพ
ระเทพโสภณ อธิการบดีมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเป็นประธานคณะกรรมการ และในโครงการประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2545 ที่ผ่านมา(และกาหนดให้มีการประชุ
มทุกเดือน) ทางประธานคณะกรรมการฯ สาระพระพุ ทธศาสนา ได้รายงานผลการดาเนินงานของคณะกรรมการอันเกิดผลการดาเนินงานเป็นที่น่าชื่นชม
และเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุ ทธศาสนาที่จะเกิดขึ้นต่อไปเป็นอย่างยิ่ง
ในไม่ช้าเมื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ดาเนินงานได้ตามภาระกิจ การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพวิชาการตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ทั้งระบบ
ก็จะเกิดภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนให้โรงเรียนส่วนใหญ่สามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรฯ ได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ด้วยความรู้สึกที่อุ่นใจและไม่โดดเดี่ยวอีกต่อไป และนั่นก็คือ … ความมั่นใจการปฏิรูปการศึกษาที่แท้จริงก็จะเกิดขึ้นได้ทั่วถิ่นไท

More Related Content

Similar to 1

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาล
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาลตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาล
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาลNattakorn Sunkdon
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdfSTUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdfjintana ver
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 

Similar to 1 (20)

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทยการพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
 
00101
0010100101
00101
 
00101
0010100101
00101
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาล
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาลตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาล
ตัวอย่างแผนธุรกิจโรงเรียนอนุบาล
 
M4
M4M4
M4
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-65.pdf
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdfSTUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 

1

  • 1. การปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนรู้ เป็นหัวใจสาคัญ ที่จะนาพาสู่การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษา อันจะส่งผลให้ผู ้เรียนได้รับการพัฒนาได้สูงสุด สู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามความมุ ่งหมายที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ และบทบัญญัติที่ว่าด้วยแนวการดาเนินการของหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ก็กาหนดชัดเจนในหมวด 4 ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินี้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมวิชาการซึ่งเป็นแกนหลักโดยประสานความร่วมมือกับกรม กอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชน ได้กาหนดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ทธศักราช 2544 ซึ่งประกาศใช้เมื่อ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2544 ที่ผ่านมา เดือนพฤษภาคมของปี การศึกษา 2545 นี้ ได้เริ่มใช้หลักสูตรที่ประกาศใหม่ในโรงเรียนนาร่องและโรงเรียนเครือข่ายการใช้หลักสูตรฯ ประมาณ 2,000 โรงเรียน และในปี การศึกษา 2547 ทุกโรงเรียนในทุกสังกัดจานวนประมาณ 40,000 โรงเรียน จะเริ่มใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ครอบคลุม จากการที่กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นนาร่องและเครืองข่ายการใช้หลักสูตรฯ และจากการติดตามการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาที่ทุกสถานศึกษาต้องจัดทาเป็นของตนเองโดยผู ้เกี่ยวข้อมีส่วนร่วมนั้น โรงเรียนดาเนินการโดยยึดมาตรฐานของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นข้อกาหนดเชิงเป้าหมายหลักของประเทศ และโรงเรียนจะกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น โดยกระบวนการดังกล่าว เป็นไปตามหลักการกระจายอานาจทางกา รศึกษา โดยมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นระบบคุมให้เกิดความเชื่อมั่นในการดาเนินการ ทั้งนี้ภาพสะท้อนจากการติดตามพบว่า สถานศึกษาที่เป็นโรงเรียนนาร่องและเครือข่ายฯ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมโดยพื้นฐานอยู่แล้วนั้นสามารถดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาได้เป็นที่น่าพอใจในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เมื่อดูภาพรวมทั้งประเทศซึ่งมีสถานศึกษาอีกประมาณ 40,000 โรงเรียน ที่มีสถานภาพความพร้อมที่หลากหลาย ซึ่งจะต้องจัดทาและใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ในปี ต่อ ๆ ไป กระทรวงศึกษาธิการมีความตระหนักในสภาพดังกล่าวโดยได้พยายามดาเนินการในลักษณะต่าง ๆ ให้เป็นไปตามข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมาตรา 27 วรรคแรก ที่ว่าด้วยการกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสนับสนุนให้สถานศึกษาสามาร ถดาเนินการในมาตรา 27 วรรคสอง คือการกาหนดสาระเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นในหลักสูตรของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และล่าสุดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ขึ้น โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.สิริกร มณีรินทร์ เป็นประธานที่ปรึกษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะอนุกรรมการย่อยครบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการของกระทรวงฯ จะมีบทบาทในการสนับสนุน ติดตามดูแลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยรวม โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน ที่มีบท บาทในการพัฒนาคุณภาพวิชาการในองค์รวมของกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ อย่างใกล้ชิด อาทิ ตั้งแต่การกาหนดสาระแกนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตัวอย่าง พิจารณาและเสนอแนะสิ่งต่าง ๆ ทั้งสื่อแบบเรียน สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ ตลอดจนการประสานจัดเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาในท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น ทั้งนี้สิ่ง ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการและอนุกรรมการ ฯ กาหนดล้วนอยู่บนหลักการการสนับสนุนสถานศึกษาให้มีตัวอย่างหรือทรัพยากรที่จะพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเอง และสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะกับสถานศึกษาจานวนไม่น้อยที่มีความพร้อมไ ม่มาก และต้องการการสนับสนุนทางวิชาการลักษณะนี้ และทั้งนี้ทั้งนั้นการดาเนินการจะอยู่บนฐานหลักการใหญ่ คือ การกระจายอานาจทางวิชาการและการบริหารจัดการสู่สถานศึกษาเป็นสาคัญ ก่อนหน้าการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ทางกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดตั้งคณะกรรมการจัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุ ทธศาสนา ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ และตามด้วยคณะ กรรมการฯ สาระการเรียนรู้อิสลามศึกษา ซึ่งมีบทบาทใกล้เคียงกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ แต่ดูแลเฉพาะสาระการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งผลการดาเนินงานเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง ยกตัวอย่างคณะกรรมการฯ สาระการเรียนรู้พระพุ ท ธศาสนา ซึ่งดาเนินการตามภาระกิจเสร็จสิ้นกว่าร้อยละ 80 โดยคณะกรรมการเกิดขึ้นจากความร่วมมือจากมหาเถรสมาคม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหามกุฎราชวิทยาลัย เป็นต้น โดยมีพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพ ระเทพโสภณ อธิการบดีมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเป็นประธานคณะกรรมการ และในโครงการประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2545 ที่ผ่านมา(และกาหนดให้มีการประชุ มทุกเดือน) ทางประธานคณะกรรมการฯ สาระพระพุ ทธศาสนา ได้รายงานผลการดาเนินงานของคณะกรรมการอันเกิดผลการดาเนินงานเป็นที่น่าชื่นชม และเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้พระพุ ทธศาสนาที่จะเกิดขึ้นต่อไปเป็นอย่างยิ่ง ในไม่ช้าเมื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ ดาเนินงานได้ตามภาระกิจ การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพวิชาการตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ทั้งระบบ ก็จะเกิดภาพที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนให้โรงเรียนส่วนใหญ่สามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรฯ ได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วยความรู้สึกที่อุ่นใจและไม่โดดเดี่ยวอีกต่อไป และนั่นก็คือ … ความมั่นใจการปฏิรูปการศึกษาที่แท้จริงก็จะเกิดขึ้นได้ทั่วถิ่นไท