SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค หน้าที่ 419
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ทรงแสดงพระธรรมจักร
สุตฺต สํ. มหาวารวคฺโค หน้าที่ 528
ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค
SN 56.11 (S v 420)
Dhammacakkappavattana Sutta
This is certainly the most famous sutta in the Pali litterature.
The Buddha expounds the four ariya·saccas for the first time.
www.buddha-vacana.org/sutta/samyutta/maha/sn56-011.htmlEnglish
>> Sutta Piṭaka >> Saṃyutta Nikāya >> Sacca Saṃyutta
Setting in Motion of the Wheel of Dhamma
[Dhamma·cakka·pavattana ]
[๑๖๖๔] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ : สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้พระ
นครพาราณสี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้วตรัสว่า
[๑๖๖๔] เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย ฯ
ตตฺร โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺ เตสิ
Ekaṃ samayaṃ bhagavā bārāṇasiyaṃ viharati isipatane miga·dāye.
Tatra khobhagavā pañca·vaggiye bhikkhū āmantesi:
On one occasion, the Bhagavā was staying at Varanasi in the Deer Grove at Isipatana.
There, he addressed the group of five bhikkhus:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสุด ๒ อย่างนี้ อันบรรพชิตไม่ควรเสพ ส่วนสุด ๒ อย่างนั้นเป็นไฉน?
คือ การประกอบตนให้ พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นของเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่
ประเสริฐ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑
การประกอบความลําบากแก่ตน เป็นทุกข์ ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบ ด้วยประโยชน์ ๑
เทฺวเม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา ฯ กตเม เทฺว ฯ
โย จายํ กาเมสุ กามสุขลฺลิกานุโยโค หีโน คมฺโม โปถุชฺชนิโก อนริโย อนตฺถสญฺหิโต
โย จายํ อตฺตกิลมถานุโยโค ทุกฺโข อนริโย อนตฺถสญฺหิโต ฯ
"Dve·me, bhikkhave, antā pabbajitena na sevitabbā.Katame dve?
Yo c·āyaṃ kāmesukāma·sukh·allik·ānuyogo hīno gammo pothujjaniko an·ariyo an·attha·
saṃhito,
yo c·āyaṃattakilamath·ānuyogo dukkho an·ariyo an·attha·saṃhito."
These two extremes, bhikkhus, should not be adopted by one who has gone forth from
the home life. Which two?
On one hand, the devotion to hedonism towards kāma, which is inferior, vulgar,
common, an·ariya, deprived of benefit,
and on the other hand the devotion to self-mortification,
ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒ อย่างเหล่านี้ อันตถาคต ได้ตรัสรู้แล้ว กระทําจักษุ กระทําญาณ
ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ ตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
เอเตเต ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา
จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ
Ete kho, bhikkhave, ubho antean·upagamma majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā
cakkhu·karaṇīñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati.
which is dukkha, an·ariya, deprived of benefit. Without going to these two extremes, bhikkhus,
the Tathāgata has fully awaken to the majjhima paṭipada, which produces vision, which
produces ñāṇa, and leads to appeasement, toabhiñña, to sambodhi, to Nibbāna.
ก็ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนั้น ... เป็นไฉน?
คือ อริยมรรคอันประกอบ ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ
กตมา จ สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย
นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ
อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค ฯ
‘Katamā ca sā, bhikkhave, majjhimā
paṭipadā tathāgatena abhisambuddhācakkhu·karaṇī ñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya samb
odhāya nibbānāya saṃvattati?
Ayam·eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo,
And what, bhikkhus, is the majjhima paṭipada to which the Tathāgata has fully awaken, which
produces vision, which produces ñāṇa, and leads to appeasement, toabhiñña, to sambodhi,
to Nibbāna?
It is, bhikkhus, this ariya aṭṭhaṅgika magga,
ซึ่งได้แก่ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพ ชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ
ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนี้แล อันตถาคตได้ตรัสรู้ แล้ว กระทําจักษุ กระทําญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ
ความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อ นิพพาน.
เสยฺยถีทํ ฯ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ
ฯ
อยํ โข สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย
นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ
seyyathidaṃ: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkapposammā·vācā sammā·kammanto sammā·ājīvo
sammā·vāyāmo sammā·satisammā·samādhi.
Ayaṃ kho sā, bhikkhave, majjhimā paṭipadā tathāgatenaabhisambuddhā cakkhu·karaṇī
ñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati.
that is to say: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkappa sammā·vācā sammā·kammanta
sammā·ājīvasammā·vāyāma sammā·sati sammā·samādhi.
This, bhikkhus, is the majjhima paṭipadato which the Tathāgata has awaken, which produces
vision, which produces ñāṇa, and leads to appeasement, to abhiñña, to sambodhi, to
Nibbāna.
[๑๖๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจนี้แล คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บก็เป็นทุกข์
ความตายก็เป็นทุกข์
ความประจวบด้วยสิ่งอันไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์
ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้ข้อนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์
[๑๖๖๕] อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ฯ ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา พฺยาธีปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺขํ
อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข
ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา ฯ
Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkhaṃ ariya·saccaṃ: jāti·pi dukkhā, jarā·pi dukkhā(byādhi·pi du
kkho) maraṇam·pi dukkhaṃ,
a·p·piyehi sampayogo dukkho, piyehivippayogo dukkho,
yampicchaṃ na labhati tam·pi dukkhaṃ; saṃkhittenapañc·upādāna·k·khandhā dukkhā.
Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha ariya·sacca: jāti is dukkha, jarā is dukkha(sickness
is dukkha) maraṇa is dukkha,
association with what is disliked is dukkha, dissociation from what is liked is dukkha, not
to get what one wants is dukkha;
in short, the five upādāna'k'khandhas are dukkha.
ก็ทุกขสมุทยอริยสัจนี้แล คือ ตัณหาอันทําให้มีภพใหม่ ประกอบด้วยความกําหนัดด้วยอํานาจความพอใจ ความ
เพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ
ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา
อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ ฯ ยายํ ตณฺหา โปโนพฺภวิกา นนฺทิราคสหคตา ตตฺรตตฺราภินนฺทินี ฯ
เสยฺย ถีทํ ฯ กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา ฯ
Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·samudayaṃ ariya·saccaṃ: Y·āyaṃ taṇhāponobbhavikā na
ndi·rāga·sahagatā tatra·tatr·ābhinandinī,
seyyathidaṃ: kāma·taṇhā,bhava·taṇhā, vibhava·taṇhā.
Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·samudaya ariya·sacca: this taṇhā leading to rebirth,
connected with desire and enjoyment, finding delight here or there, that is to say:
kāma-taṇhā, bhava-taṇhā and vibhava-taṇhā.
ก็ทุกขนิโรธอริยสัจนี้แล คือ ความดับด้วยการสํารอกโดยไม่เหลือแห่งตัณหานั้นแหละ ความสละ ความวาง ความ
ปล่อย ความไม่อาลัย
อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรโธ อริยสจฺจํ ฯ โย ตสฺสา เยว ตณฺหาย
อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย ฯ
Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·nirodhaṃ ariya·saccaṃ: yo tassā·y·eva taṇhāya
asesa·virā ga·nirodho cāgo paṭinissaggo mutti anālayo.
Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·nirodha ariya·sacca:
the complete virāga,nirodha, abandoning, forsaking, emancipation and freedom from that
very taṇhā.
ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้แล คือ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ
ซึ่งได้แก่ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมา สมาธิ.
อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสจฺจํ ฯ อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค ฯ
เสยฺยถีทํ ฯ สมฺมาทิฏฺฐิ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ ฯ
Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·nirodha·gāminī paṭipadā ariya·saccaṃ: ayam·evaariyo
aṭṭhaṅgiko
maggo, seyyathidaṃ: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkappo sammā·vācāsammā·kammanto sammā·
ājīvo sammā·vāyāmo sammā·sati sammā·samādhi.
Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·nirodha·gāminī paṭipada ariya·sacca: just this ariya
aṭṭhaṅgika magga, that is to say: sammā·diṭṭhi, sammā·saṅkappa,sammā·vācā
sammā·kammanta, sammā·ājīva, sammā·vāyāma, sammā·sati andsammā·samādhi.

More Related Content

What's hot

บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์Patchara Kornvanich
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาลPeerasak C.
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิnuom131219
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลPanuwat Beforetwo
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕Rose Banioki
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกTongsamut vorasan
 
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1pageใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1pageสไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (19)

บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
๙ พระสูตร ปฐมโพธิกาล
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1pageใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
ใบความรู้ การปฏบัติตนตามมารยาทไทย ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f22-1page
 
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1pageสไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
สไลด์ มารยาทชาวพุทธ ป.2+434+dltvsocp2+55t2soc p02 f07-1page
 

Dhammacakkappavattana sutta (ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร)

  • 1. พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค หน้าที่ 419 ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ทรงแสดงพระธรรมจักร สุตฺต สํ. มหาวารวคฺโค หน้าที่ 528 ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนวคฺโค SN 56.11 (S v 420) Dhammacakkappavattana Sutta This is certainly the most famous sutta in the Pali litterature. The Buddha expounds the four ariya·saccas for the first time. www.buddha-vacana.org/sutta/samyutta/maha/sn56-011.htmlEnglish >> Sutta Piṭaka >> Saṃyutta Nikāya >> Sacca Saṃyutta Setting in Motion of the Wheel of Dhamma [Dhamma·cakka·pavattana ]
  • 2. [๑๖๖๔] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ : สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้พระ นครพาราณสี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้วตรัสว่า [๑๖๖๔] เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา พาราณสิยํ วิหรติ อิสิปตเน มิคทาเย ฯ ตตฺร โข ภควา ปญฺจวคฺคิเย ภิกฺขู อามนฺ เตสิ Ekaṃ samayaṃ bhagavā bārāṇasiyaṃ viharati isipatane miga·dāye. Tatra khobhagavā pañca·vaggiye bhikkhū āmantesi: On one occasion, the Bhagavā was staying at Varanasi in the Deer Grove at Isipatana. There, he addressed the group of five bhikkhus:
  • 3. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสุด ๒ อย่างนี้ อันบรรพชิตไม่ควรเสพ ส่วนสุด ๒ อย่างนั้นเป็นไฉน? คือ การประกอบตนให้ พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นของเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ ประเสริฐ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ การประกอบความลําบากแก่ตน เป็นทุกข์ ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบ ด้วยประโยชน์ ๑ เทฺวเม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา ฯ กตเม เทฺว ฯ โย จายํ กาเมสุ กามสุขลฺลิกานุโยโค หีโน คมฺโม โปถุชฺชนิโก อนริโย อนตฺถสญฺหิโต โย จายํ อตฺตกิลมถานุโยโค ทุกฺโข อนริโย อนตฺถสญฺหิโต ฯ "Dve·me, bhikkhave, antā pabbajitena na sevitabbā.Katame dve? Yo c·āyaṃ kāmesukāma·sukh·allik·ānuyogo hīno gammo pothujjaniko an·ariyo an·attha· saṃhito, yo c·āyaṃattakilamath·ānuyogo dukkho an·ariyo an·attha·saṃhito." These two extremes, bhikkhus, should not be adopted by one who has gone forth from the home life. Which two? On one hand, the devotion to hedonism towards kāma, which is inferior, vulgar, common, an·ariya, deprived of benefit, and on the other hand the devotion to self-mortification,
  • 4. ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒ อย่างเหล่านี้ อันตถาคต ได้ตรัสรู้แล้ว กระทําจักษุ กระทําญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ ตรัสรู้ เพื่อนิพพาน เอเตเต ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ Ete kho, bhikkhave, ubho antean·upagamma majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhā cakkhu·karaṇīñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. which is dukkha, an·ariya, deprived of benefit. Without going to these two extremes, bhikkhus, the Tathāgata has fully awaken to the majjhima paṭipada, which produces vision, which produces ñāṇa, and leads to appeasement, toabhiñña, to sambodhi, to Nibbāna.
  • 5. ก็ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนั้น ... เป็นไฉน? คือ อริยมรรคอันประกอบ ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ กตมา จ สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค ฯ ‘Katamā ca sā, bhikkhave, majjhimā paṭipadā tathāgatena abhisambuddhācakkhu·karaṇī ñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya samb odhāya nibbānāya saṃvattati? Ayam·eva ariyo aṭṭhaṅgiko maggo, And what, bhikkhus, is the majjhima paṭipada to which the Tathāgata has fully awaken, which produces vision, which produces ñāṇa, and leads to appeasement, toabhiñña, to sambodhi, to Nibbāna? It is, bhikkhus, this ariya aṭṭhaṅgika magga,
  • 6. ซึ่งได้แก่ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพ ชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนี้แล อันตถาคตได้ตรัสรู้ แล้ว กระทําจักษุ กระทําญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อ นิพพาน. เสยฺยถีทํ ฯ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ ฯ อยํ โข สา ภิกฺขเว มชฺฌิมา ปฏิปทา ตถาคเตน อภิสมฺพุทฺธา จกฺขุกรณี ญาณกรณี อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สํวตฺตติ ฯ seyyathidaṃ: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkapposammā·vācā sammā·kammanto sammā·ājīvo sammā·vāyāmo sammā·satisammā·samādhi. Ayaṃ kho sā, bhikkhave, majjhimā paṭipadā tathāgatenaabhisambuddhā cakkhu·karaṇī ñāṇa·karaṇī upasamāya abhiññāya sambodhāya nibbānāya saṃvattati. that is to say: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkappa sammā·vācā sammā·kammanta sammā·ājīvasammā·vāyāma sammā·sati sammā·samādhi. This, bhikkhus, is the majjhima paṭipadato which the Tathāgata has awaken, which produces vision, which produces ñāṇa, and leads to appeasement, to abhiñña, to sambodhi, to Nibbāna.
  • 7. [๑๖๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจนี้แล คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งอันไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้ข้อนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ [๑๖๖๕] อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ฯ ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา พฺยาธีปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺขํ อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา ฯ Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkhaṃ ariya·saccaṃ: jāti·pi dukkhā, jarā·pi dukkhā(byādhi·pi du kkho) maraṇam·pi dukkhaṃ, a·p·piyehi sampayogo dukkho, piyehivippayogo dukkho, yampicchaṃ na labhati tam·pi dukkhaṃ; saṃkhittenapañc·upādāna·k·khandhā dukkhā. Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha ariya·sacca: jāti is dukkha, jarā is dukkha(sickness is dukkha) maraṇa is dukkha, association with what is disliked is dukkha, dissociation from what is liked is dukkha, not to get what one wants is dukkha; in short, the five upādāna'k'khandhas are dukkha.
  • 8. ก็ทุกขสมุทยอริยสัจนี้แล คือ ตัณหาอันทําให้มีภพใหม่ ประกอบด้วยความกําหนัดด้วยอํานาจความพอใจ ความ เพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ ฯ ยายํ ตณฺหา โปโนพฺภวิกา นนฺทิราคสหคตา ตตฺรตตฺราภินนฺทินี ฯ เสยฺย ถีทํ ฯ กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา ฯ Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·samudayaṃ ariya·saccaṃ: Y·āyaṃ taṇhāponobbhavikā na ndi·rāga·sahagatā tatra·tatr·ābhinandinī, seyyathidaṃ: kāma·taṇhā,bhava·taṇhā, vibhava·taṇhā. Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·samudaya ariya·sacca: this taṇhā leading to rebirth, connected with desire and enjoyment, finding delight here or there, that is to say: kāma-taṇhā, bhava-taṇhā and vibhava-taṇhā.
  • 9. ก็ทุกขนิโรธอริยสัจนี้แล คือ ความดับด้วยการสํารอกโดยไม่เหลือแห่งตัณหานั้นแหละ ความสละ ความวาง ความ ปล่อย ความไม่อาลัย อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรโธ อริยสจฺจํ ฯ โย ตสฺสา เยว ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย ฯ Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·nirodhaṃ ariya·saccaṃ: yo tassā·y·eva taṇhāya asesa·virā ga·nirodho cāgo paṭinissaggo mutti anālayo. Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·nirodha ariya·sacca: the complete virāga,nirodha, abandoning, forsaking, emancipation and freedom from that very taṇhā.
  • 10. ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้แล คือ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ซึ่งได้แก่ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมา สมาธิ. อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสจฺจํ ฯ อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค ฯ เสยฺยถีทํ ฯ สมฺมาทิฏฺฐิ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ ฯ Idaṃ kho pana, bhikkhave, dukkha·nirodha·gāminī paṭipadā ariya·saccaṃ: ayam·evaariyo aṭṭhaṅgiko maggo, seyyathidaṃ: sammā·diṭṭhi sammā·saṅkappo sammā·vācāsammā·kammanto sammā· ājīvo sammā·vāyāmo sammā·sati sammā·samādhi. Furthermore, bhikkhus, this is the dukkha·nirodha·gāminī paṭipada ariya·sacca: just this ariya aṭṭhaṅgika magga, that is to say: sammā·diṭṭhi, sammā·saṅkappa,sammā·vācā sammā·kammanta, sammā·ājīva, sammā·vāyāma, sammā·sati andsammā·samādhi.