SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
แบบฟอรมขอเสนอโครงการ
รหัสโครงการ NSC 11p21c673
ขอเสนอโครงการ
การแขงขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย
ชื่อโครงการ
(ภาษาไทย) ไดเวลาทําเพื่อสุขภาพแลวซิ !!!
(ภาษาอังกฤษ) Let’s Time For Health!!!
ประเภทโปรแกรมที่เสนอ โปรแกรม เพื่อความบันเทิงระดับนักเรียน
ทีมพัฒนา
หัวหนาโครงการ
1. ชื่อ-นามสกุล นายประสิทธิ์ จุฬานุตรกุล
วัน/เดือน/ปเกิด 17 มิถุนายน 2535 ระดับการศึกษา ม.5
สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร
ที่อยูตามทะเบียนบาน 39 ซ.แฮปปแลนด 1 ถนนลาดพราว แขวงคลองจัน เขต
บางกะป กทม. 10240
สถานที่ติดตอ -
โทรศัพท 02-3771006 มือถือ 081-7004406 โทรสาร 02-3756873
E-mail ds39809@gmail.com
ลงชื่อ
......................................………...........................
ผูรวมโครงการ
2. ชื่อ-นามสกุล นายอานนท หลีกภัย
วัน/เดือน/ปเกิด 9 มีนาคม 2534 ระดับการศึกษา ม.5
สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร
ที่อยูตามทะเบียนบาน 120/828 ซ.วชิรธรรมสาธิต 12 แขวงบางนา เขตบางนา
กทม. 10260
สถานที่ติดตอ -
โทรศัพท 02-2335051 มือถือ - โทรสาร -
E-mail ds39705@hotmail.com
ลงชื่อ
......................................………...........................
ผูรวมโครงการ
3. ชื่อ-นามสกุล นายทวีทรัพย เตชะภูริปญญา
วัน/เดือน/ปเกิด 14 เมษายน 2535 ระดับการศึกษา ม.5
สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร
ที่อยูตามทะเบียนบาน 88 ถ.เจริญนคร ซ.49 บางลําพูลาง คลองสาน กทม. 10600
สถานที่ติดตอ -
โทรศัพท 02-4385772 มือถือ 083-9217511 โทรสาร -
E-mail taweeroj@hotmail.com
ลงชื่อ
......................................………...........................
อาจารยที่ปรึกษาโครงการ
ชื่อ-นามสกุล นางสาวนวลฉวี เรืองไรรัตนโรจน
สังกัด/สถาบัน โรงเรียนเทพศิรินทร
สถานที่ติดตอ 1466 ถ.กรุงเกษม เขตปอมปราบ กทม.
โทรศัพท - มือถือ 089-7694782 โทรสาร 02-6217615
E-mail tuanr4@gmail.com
คํารับรอง “โครงการนี้เปนความคิดริเริ่มของนักพัฒนาโครงการและไมไดลอกเลียนแบบมาจาก
ผูอื่นผูใด ขาพเจาขอรับรองวาจะใหคําแนะนําและสนับสนุนใหนักพัฒนาในความดูแลของขาพเจา
ดําเนินการศึกษา/วิจัย/พัฒนาตามหัวขอที่เสนอและจะทําหนาที่ประเมินผลงานดังกลาวใหกับ
โครงการฯ ดวย”
ลงชื่อ
......................................………...........................
หัวหนาสถาบัน (หัวหนาภาควิชา/หัวหนาหมวด)
ชื่อ-นามสกุล นางสาวนวลฉวี เรืองไรรัตนโรจน
สังกัด/สถาบัน โรงเรียนเทพศิรินทร
สถานที่ติดตอ 1466 ถ.กรุงเกษม เขตปอมปราบ กทม.
โทรศัพท - มือถือ 089-7694782 โทรสาร 02-6217615
E-mail tuanr4@gmail.com
คํารับรอง “ขาพเจาขอรับรองวาผูพัฒนามีสิทธิ์ขอรับทุนสนับสนุนตามเงื่อนไขที่โครงการฯกําหนด
และอนุญาตใหดําเนินการศึกษา/วิจัย/พัฒนาตามหัวขอที่ไดเสนอมานี้ในสถาบันไดภายใตการ
บังคับบัญชาของขาพเจา”
ลงชื่อ
......................................………...........................
2.สาระสําคัญของโครงการ
ในปจจุบันสภาพความเปนอยูของคนเราเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกอนมาก ความกาวหนา
ทางวิทยาการ และการพัฒนาอุตสาหกรรมชวยใหมีเครื่องใชที่อํานวยความสะดวกใน
ชีวิตประจําวัน มีพาหนะที่สะดวกและรวดเร็ว เวลาทํางานก็มีเครื่องทุนแรงสารพัด คนทั่วไปจึงมี
โอกาสออกกําลังกายนอยลง เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดโรคภัยตางๆ มากมาย โดยเฉพาะโรค
อวน ซึ่งโรคนี้มีผลเสียตอสุขภาพตางๆ มากมาย เชน ทําใหเสียทรวดทรง ทําใหเสียสุขภาพจิต ทํา
ใหภูมิตานทานโรคต่ํา ทําใหเหนื่อยงาย และเสี่ยงตอการเปนโรคตางๆ ไดงาย (สุขศึกษาและพล
ศึกษา ม.5 ดร.รัชนี ขวัญบุญจัน และคณะ;น.42)
ดังนั้นทางผูพัฒนาจึงไดเล็งเห็นปญหานี้ จึงไดมีแนวคิดจะพัฒนาเกมที่ชวยใหประชาชน
ไทยหันมาออกกําลังกายกันมากขึ้นซึ่งในเกมนี้เราจะไดรับบทเปนเด็กชายขี้โรคคนหนึ่งและหนาที่
ของเราก็คือชวยใหเด็กคนนี้กลับมามีสุขภาพที่ดีใหได ซึ่งจะใชเวลา1ป(ในตัวเกม) โดยจะมีวิธีเลน
ก็คือใหผูเลนนั้นเตนตามโมเดลหุนที่จะเตนเปนแบบใหซึ่งจะใชกลองเว็บแคมนั้นจับภาพของผูเลน
ในขณะนั้น จะนําภาพนั้นมาผานกระบวนการดาน Image processing จะนําภาพที่ผาน
กระบวนการแลวนั้นมาทําการตรวจสอบวาผูเลนนั้นเตนไดถูกตองหรือไม ถาเราเตนถูกเราก็จะ
ไดรับคะแนนสะสมไปเรื่อยๆ จนผานโปรแกรมฝกของวันนั้นๆได เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดก็จะมีการเขียน
ผลการ ออกกําลังกายออกมาเพื่อแสดงใหเห็นวามีความประสบความสําเร็จเพียงใด
โปรแกรมที่ใชพัฒนาเกมนั้นหลักๆ นั้นก็จะมี 1.Microsoft Visual Basic 6.0 เพื่อใชใน
การเขียนตัวโปรแกรมและประมวลผลภาพจากเว็บแคม 2.Macromedia Flash 8 เพื่อใชในการ
ออกแบบมัลติมีเดียที่ใชในตัวโปรแกรม ที่เปนพวกภาพและเสียง 3.Adobe Photo Shop CS เพื่อ
ใชในการตัดตอแกไขรูปที่ใชในโปรแกรม 4.Cool Edit เพื่อใชในการตัดตอแกไขไฟลดนตรีและเสียง
ประกอบที่ใชในโปรแกรม
3. หลักการและเหตุผล
เกมนี้เปนเกมที่ใชการรับขอมูลจากผูเลนผานทางอุปกรณตอพวงโดยใชเว็บแคมซึ่งจะทํา
ใหผูเลนมีสวนรวมมากกวาเกมทั่วไปในปจจุบันทําใหมีความสนุกสนาน ผูเลนยังสามารถออก
กําลังกายไปพรอมกับการเลนเกมดวย ดังนั้นการพัฒนาเกมนี้โดยการใหผูเลนเตนตามจังหวะจาก
VDO ที่เปนตัวอยาง ก็เปนการใชสวนตางๆของรางกาย ของผูเลน ที่มีรูปแบบเปน โปรแกรมที่มี
สื่อผสมทั้งการใชเพลง VDO ที่จะสามารถทําใหตัวโปรแกรมมีความนาสนใจ
เกมนี้ยังเปนเกมแนวใหมที่ยังมีนอย และดวยมีการใชการรับขอมูลแบบการประมวลภาพ
ของผูเลนทําใหไมซ้ําเดิมเหมือนเกมอื่นๆการพัฒนานั้นเปนการใชอุปกรณตอพวง(เว็บแคม)ที่หาได
งายในปจจุบันมาทําใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น ดวยทั้งการใชงานและประโยชนตอผูใชที่ไดออกกําลัง
กายไปในตัว
4. วัตถุประสงค
1.เพื่อสงเสริมการออกกําลังกายของผูเลนในรูปแบบเกมที่มีความสนุกสนาน
2.เพื่อสรางสรรคเกมการออกกําลังกายในรูปแบบใหมๆ ที่ใชการออกกําลังกายไดจริง
3.เพื่อฝกฝนการใชประสาทสัมผัสในดานรางกาย และโสตประสาท ในการพัฒนาสมอง
และกระบวนการเรียนรู
4.เพื่อนําหลักการ Image processing ที่ไดรับความนิยมเขามาพัฒนาในรูปแบบเกม
5.ปญหาหรือประโยชนที่เปนเหตุผลใหควรพัฒนาโปรแกรม
ปจจุบันเกมที่นําการประยุกตการเคลื่อนไหวของมนุษยจริงเขามาชวยพัฒนานั้นยังเห็นได
ไมมากนักอีกทั้งเทคโนโลยีที่ใชยังคงมีราคาสูง การพัฒนาเกมนี้ขึ้นเพื่อใหการควบคุมโดย
เคลื่อนไหวของมนุษยอยางงายๆ ผานทางเว็บแคมที่มีราคาถูกมากในปจจุบัน การพัฒนาโดยการ
อาศัยหลักการนี้ยังเปนแนวทางตอยอดไปสูการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรของคนพิการที่มีราคาถูก
ลง
การพัฒนาเกมนี้ยังเปนผลใหผูใชคอมพิวเตอรหลายๆคนหันมาออกกําลังกายมากขึ้น
เพราะงาย สะดวก และรวดเร็วตอสถานการปจจุบัน
6.เปาหมายและขอบเขตของโครงงาน
1.เปนเกมเตนออกกําลังกาย โดยใชทากายบริหารอยางงายๆ เพื่อสงเสริมใหเด็กไทยได
ออกกําลังกาย
2.ผูเลนสามารถออกกําลังกายไดจริง โดยรับคาการออกกําลังกายผานเว็บแคม
3.ผูใชโปรแกรมสามารถเขาถึงโปรแกรมและใชงานไดงายไมซับซอน
4.ทุกๆ คนในครอบครัวสามารถเลนได เนื่องจากเปนเกมที่ปราศจากความรุนแรง ไม
สงเสริมใหผูเลนกระทําผิด
5.ผูเลนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยางถูกวิธี โดยจะไดรับรูถึงประโยชนของ
การออกกําลังกายดวย
7.รายละเอียดของการพัฒนา
โปรแกรมเกมที่พัฒนาโดยใชอุปกรณตอพวงมาชวยในการรับการเคลื่อนไหวของผูเลน
อุปกรณประกอบการใชงานโปรแกรม
1.เว็บแคม
เพื่อใชในการรับคาของผูเลนผานทางการเตน
2.ฉากสีฟา
เพื่อใช เทคนิคบลูสกรีน(Blue Screen) และเปนการงายตอการ ตรวจสอบคาสี
3.ถุงมือ
เพื่อใชเปรียบเทียบคาสีกับจุดพี้นหลังวาอยู ณ จุดใด
7.1 เนื้อเรื่องยอ
ในเกมนี้เราจะไดรับบทเปนเด็กชายคนหนึ่งซึ่งเด็กชายคนนี้เปนคนที่เรียนเกงมาก
แตมีสภาพรางกายไมคอยจะดีสักเทาไร ถาปลอยใหเปนแบบนี้ตอไปเรื่อยๆ ก็อาจทําใหเด็กคนนี้
เกิดโรคภัยไขเจ็บตางๆ มากมาย ฉะนั้นมันไมดีแนเพราะอาจจะถึงตายได และจะทําใหเสียอนาคต
ของชาติไปอยางนาเสียดายยิ่งนัก แตทางแกของปญหานี้มันงายมาก ก็คือการออกกําลังกายเปน
ประจําอยางสม่ําเสมอ หนาที่ของเราก็คือตองออกกําลังโดยภายในตัวเกมจะมีตารางฝกมาใหเปน
วันๆ ไปเปนเวลา 1 ป ซึ่งในแตละวันก็จะมีโปรแกรมฝกที่แตกตางกันออกไป โดยในเดือนแรกนั้นจะ
เริ่มจากทาที่งายกอนเชนทาที่ใชในการยืดเสนยึดกลามเนื้อตางๆและในเดือนตอๆมาก็จะเริ่มยาก
ขึ้นเรื่อยๆ เปนลําดับๆไป จนครบ 1 ป
7.1.1ทฤษฎีที่เกี่ยวของ
1. OOP (Object-Oriented-Programming)
เปนหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่เรียกวาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดย
นําเขามาใชเพื่องายตอการพัฒนาโปรแกรมที่ทํารวมกันหลายคน โดยใชสวนประกอบ
สําคัญของหลัก OOP ดังนี้
1.1 Class : เพื่อการเขียนโปรแกรมที่ตองทํากันหลายคนนั้นจําเปนตองใช Class
เพื่อนํามาจัดการโปรแกรมใหเปนสวนๆโดยผูที่มาเขียนตออาจใชการสืบทอด Class
(Inheritance) เพื่อประหยัดเวลาที่ตองเสียไปกับการเขียนโปรแกรมที่มีการทํางาน
คลายกัน
1.2 Encapsulation : เปนคุณสมบัติที่ทําการซอนขอมูลภายใน Class ไว ผูที่จะ
ทํางานตอจากเราสามารถที่จะรูแคคาตัวแปร ที่ Class นั้นตองการและรูสิ่งที่เปน Output
หรือผลลัพธ ที่ไดออกมาจาก Class ก็เพียงพอเพื่อผูเขียนโปรแกรมตอไป ในบอยครั้งการ
เขียนโปรแกรมที่มีความซับซอนผูเขียนโปรแกรมคนแรกอาจตั้งชื่อตัวแปรที่สื่อความหมาย
ไวแตดวยการทํางานอาจซับซอนมาก ผูที่มาเขียนตออาจไมเขาใจในสวนแรกก็อาจเขียน
Class ใหมโดย อิงการทํางานกับอันเกาเพียงแคสงตัวแปรเขาไปและรอรับ ผลลัพธออกมา
เลยก็เปนวิธีการที่งายกวา
2. Digital Image Processing
เพื่อเปนการตรวจสอบและการนํามาประยุกตกันกับ ภาพ VDO เพื่อทําการ
ตรวจเช็คคะแนน และทาทางของผูเลน Image Processing เปนการใชคอมพิวเตอรใน
การประมวลผลภาพ จากการใหตรรกะเงื่อนไขการสรุป ตรวจสอบคาจุดสี ในที่นี้จะใชเปน
องคประกอบรวมในการตรวจสอบเพื่อความรวดเร็วในแตละจุด ทั้งยังชวยใหโปรแกรมมี
ความยืดหยุนขึ้นอีกดวย
7.2.3รูปแบบของโปรแกรม (คราวๆ)
รูป แสดงหนาแรกของโปรแกรม
รูป แสดงหนาตางโปรแกรมขณะเลน
7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช
7.2.1 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใชในการเขียนโปรแกรม
ในการเขียนโปรแกรมนั้นจะใชการเขียนโปรแกรมแบบ OOP (Object-Oriented-
Programming) หรือการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เขามาชวยเพื่อใชการพัฒนาโปรแกรมที่ตองทํา
รวมกันหลายคนนั้นงายขึ้นโดยใชเทคนิคหนึ่งของ OOP ในเรื่องของ Class ที่ชวยทําใหการแบง
งาน การเขียนโปรแกรมไมสับสนวุนวาย โดยผูที่พัฒนาตอจากสวนของคนอื่น จะใชคุณสมบัติของ
OOP เกี่ยวกับ Class อีกขอหนื่งคือ Encapsulation ที่เปนคุณสมบัติที่ทําการซอนขอมูลภายใน
Class ไว ผูที่จะทํางานตอจากเราสามารถที่จะรูแคคาตัวแปร ที่ Class นั้นตองการและรูสิ่งที่เปน
Output หรือผลลัพธ ออกมาเพื่อนําไปพัฒนาโปรแกรมตอไป
7.2.2 หลักในการใชตรวจสอบความเคลื่อนไหวจากภาพ VDO
การตรวจสอบภาพและไฟล VDO นั้นจะใชการเขียนโปรแกรมเพื่อทําการตรวจสอบภาพ
VDO จากเว็บแคม โดยการเขียนโปรแกรมที่เรียกวา Digital Image Processing ที่ Visual Basic
6.0 มีการรองรับและทํางานได
การตรวจสอบความเคลื่อนไหวจากภาพ VDO นั้นใชการตรวจสอบคาเบี่ยงเบนของคาสีที่
มีการเปลี่ยนไปตอจุดที่ตั้งคากําหนดเอาไวโดยเก็บคาสีที่ไดไวในตัวแปรอาเรย 2 มิติ เพื่อใหการ
ตรวจสอบสีจากจุดที่กําหนดไดอยางยืดหยุน
การใชการตรวจสอบคาสีที่กลาวมานี้เพื่อใหมีความคลาดเคลื่อนนอยที่สุดในการ
ตรวจสอบคาเบี่ยงเบนของคาสี ฉากหลังของผูใชโปรแกรมจึงตองมีการใชฉากที่มีสีเรียบตามที่ดังที่
จะกลาวในหัวขอ 7.2.3
7.2.3 เทคนิคและอุปกรณเพิ่มเติม
เพื่อใหการตรวจสอบการเคลื่อนไหวทําไดงายขึ้นดังนั้นการใชอุปกรณภายนอกเขามาเพื่อ
ประกอบกับการใชงานโดยการใชฉากหลังที่เปนสีฟา หรือ เทคนิคบลูสกรีน(Blue Screen) เขามา
โดยกําหนดจุดไวบนฉากดวยเพื่อใหผูเลนไดใชมือและขาไปยังจุดที่ถูกตองโดยโปรแกรมไดมีการ
กําหนดเพื่อรับคาความเบี่ยงเบนสีเพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวบนจุดดังกลาว
เพื่อใหการตรวจสอบคาสีใหแนชัดอีกครั้งจะมีการใชถุงมือของผูเลนที่สวมไวใชเปนการ
เปรียบเทียบคาสีกับจุดพื้นหลังวาอยู ณ จุดใดและทับกับจุดที่ตรวจสอบหรือไมอีกดวย ดังรูป
รูป แสดงจุดตรวจสอบ
7.3 เครื่องมือที่ใชในการพัฒนา
1.Microsoft Visual Basic 6.0
เพื่อใชในการเขียนตัวโปรแกรมและประมวลผลภาพจากเว็บแคม
2. Macromedia Flash 8
เพื่อใชในการออกแบบมัลติมีเดียที่ใชในตัวโปรแกรม ที่เปนภาพและเสียง
3.Adobe Photo Shop CS
เพื่อใชในการตัดตอแกไขรูปที่ใชในโปรแกรม
4.Cool Edit
เพื่อใชในการตัดตอแกไขไฟลดนตรีและเสียงประกอบที่ใชในโปรแกรม
7.4 รายละเอียดของโปรแกรมที่จะพัฒนา
Input
- กลองเว็บแคม หนาที่คือจับภาพของผูเลนในขณะนั้น และจะนําภาพนั้นมาผาน
กระบวนการดาน Image Processing ซึ่งจะนําภาพที่ผานกระบวนการแลวนั้นมาทําการตรวจสอบ
วาผูเลนนั้นเตนไดถูกตองหรือไม โดยจะนํามาเปรียบเทียบเทียบกับตัวโมเดลที่เตนอยู
Output
- ตัวโมเดลหุนเตน หนาที่คือจะเตนใหผูเลนดูเปนตัวอยาง และใหผูเลนนั้นเตน
ตามใหเหมือนที่สุด
- แถบแสดงชื่อทาเตน ซึ่งจะใชบอกวาทาที่เตนอยูนั้นชื่ออะไร
- แถบแสดงคะแนน จะแสดงคะแนนสะสมที่เรามีอยูในขณะนั้น ซึ่งคะแนนนี้จะได
จากการดูวาเราเตนทาตางๆ ไดสมบูรณมากนอยเพียงใด
- จอแสดงภาพผูเลน จะนําภาพจากเว็บแคมมาแสดงออกทางหนาจอนี้
โครงสรางของซอฟตแวร
รูป แสดงโครงสรางซอรฟแวร
7.5 ขอบเขตและขอจํากัดของโปรแกรมที่พัฒนา
1.การตรวจสอบการเคลื่อนไหวผานเว็บแคมของโปรแกรมนี้ยังมีขอจํากัดที่จะตอง
ใชปจจัยภายนอกเขามาชวยเพื่อใหการตัดสินใจของตัวโปรแกรมเปนไปไดอยางราบรื่น
ดังที่กลาวในหัวขอ 7.2.3
2.เพื่อความรวดเร็วและการใชทรัพยากรเครื่องอยางประหยัดดังนั้นการใชการ
ตัดสินใจในแบบ Real Time นั้นจะทําไดเพียงบางจุด เพราะถาใชการตัดสินใจทุกๆสวน
แบบ Real Time กับภาพ VDO อาจมีผลใหเครื่องมีการใช หนวยประมวลผลกลาง (CPU)
สูงจนเกิดอาการคางได (เนื่องจากไดทําการทดลองประมวลผล VDO แบบ Real Time
แลวระบบจะตอบสนองชาลง)
3.ความคมชัดและแสงสวางที่เพียงพอเปนขอจํากัดที่ขึ้นกับสถานที่ที่ใชเลนโดย
คาน้ําหนักแสงอาจมีผลตอคาสี แตไมเปนผลกระทบมากนักเนื่องจากการกําหนดคาสีที่
ยืดหยุนแลวในการตรวจสอบ
8.บรรณานุกรม
ฉัททวุฒิ พืชผล , พิชิต สันติกุลานนท , พรอมเลิศ หลอวิจิตร. 2547. คูมือเรียน Visual Basic
6.0. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น.
พรอมเลิศ หลอวิจิตร. 2548. Advanced Visual Basic ฉบับ Object & Component. พิมพ
ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น.
สิทธิโชค ยอดระยับ. 2550. การเขียนโปรแกรม Digital Image Processing. พิมพครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ : สถาบันสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน).
664 2

More Related Content

Similar to 664 2

โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3
siriyaporn20099
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์
ValenKung
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
Jaruwank
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
Jaruwank
 
352 1
352 1352 1
352 1
R PP
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
พันธิชา ขวัญพรหม
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
Nutcha Kbn
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
Aungkana Na Na
 

Similar to 664 2 (20)

1247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 20111247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 2011
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3โจทย์ปัญหา Pbl 3
โจทย์ปัญหา Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3โจทย์ปัญหา Pbl3
โจทย์ปัญหา Pbl3
 
captivate-flash-courseware
captivate-flash-coursewarecaptivate-flash-courseware
captivate-flash-courseware
 
Ebook31
Ebook31Ebook31
Ebook31
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
Nsc2012
Nsc2012Nsc2012
Nsc2012
 
352 1
352 1352 1
352 1
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
 
สรุปงานวิจัย - 55540185,55540190
สรุปงานวิจัย - 55540185,55540190สรุปงานวิจัย - 55540185,55540190
สรุปงานวิจัย - 55540185,55540190
 
Pbl3
Pbl3Pbl3
Pbl3
 
Pbl3
Pbl3Pbl3
Pbl3
 

More from noeiinoii

โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
noeiinoii
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
noeiinoii
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
noeiinoii
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
noeiinoii
 
วิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลาวิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลา
noeiinoii
 
งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ
noeiinoii
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
noeiinoii
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
noeiinoii
 
M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552
noeiinoii
 
O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53
noeiinoii
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
noeiinoii
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
noeiinoii
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
noeiinoii
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
noeiinoii
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
noeiinoii
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
noeiinoii
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
noeiinoii
 

More from noeiinoii (20)

โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
วิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลาวิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลา
 
ปลา
ปลาปลา
ปลา
 
งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552
 
ปี 50
ปี 50ปี 50
ปี 50
 
O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
 

664 2

  • 1. แบบฟอรมขอเสนอโครงการ รหัสโครงการ NSC 11p21c673 ขอเสนอโครงการ การแขงขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) ไดเวลาทําเพื่อสุขภาพแลวซิ !!! (ภาษาอังกฤษ) Let’s Time For Health!!! ประเภทโปรแกรมที่เสนอ โปรแกรม เพื่อความบันเทิงระดับนักเรียน ทีมพัฒนา หัวหนาโครงการ 1. ชื่อ-นามสกุล นายประสิทธิ์ จุฬานุตรกุล วัน/เดือน/ปเกิด 17 มิถุนายน 2535 ระดับการศึกษา ม.5 สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร ที่อยูตามทะเบียนบาน 39 ซ.แฮปปแลนด 1 ถนนลาดพราว แขวงคลองจัน เขต บางกะป กทม. 10240 สถานที่ติดตอ - โทรศัพท 02-3771006 มือถือ 081-7004406 โทรสาร 02-3756873 E-mail ds39809@gmail.com ลงชื่อ ......................................………...........................
  • 2. ผูรวมโครงการ 2. ชื่อ-นามสกุล นายอานนท หลีกภัย วัน/เดือน/ปเกิด 9 มีนาคม 2534 ระดับการศึกษา ม.5 สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร ที่อยูตามทะเบียนบาน 120/828 ซ.วชิรธรรมสาธิต 12 แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 สถานที่ติดตอ - โทรศัพท 02-2335051 มือถือ - โทรสาร - E-mail ds39705@hotmail.com ลงชื่อ ......................................………........................... ผูรวมโครงการ 3. ชื่อ-นามสกุล นายทวีทรัพย เตชะภูริปญญา วัน/เดือน/ปเกิด 14 เมษายน 2535 ระดับการศึกษา ม.5 สถานศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร ที่อยูตามทะเบียนบาน 88 ถ.เจริญนคร ซ.49 บางลําพูลาง คลองสาน กทม. 10600 สถานที่ติดตอ - โทรศัพท 02-4385772 มือถือ 083-9217511 โทรสาร - E-mail taweeroj@hotmail.com ลงชื่อ ......................................………...........................
  • 3. อาจารยที่ปรึกษาโครงการ ชื่อ-นามสกุล นางสาวนวลฉวี เรืองไรรัตนโรจน สังกัด/สถาบัน โรงเรียนเทพศิรินทร สถานที่ติดตอ 1466 ถ.กรุงเกษม เขตปอมปราบ กทม. โทรศัพท - มือถือ 089-7694782 โทรสาร 02-6217615 E-mail tuanr4@gmail.com คํารับรอง “โครงการนี้เปนความคิดริเริ่มของนักพัฒนาโครงการและไมไดลอกเลียนแบบมาจาก ผูอื่นผูใด ขาพเจาขอรับรองวาจะใหคําแนะนําและสนับสนุนใหนักพัฒนาในความดูแลของขาพเจา ดําเนินการศึกษา/วิจัย/พัฒนาตามหัวขอที่เสนอและจะทําหนาที่ประเมินผลงานดังกลาวใหกับ โครงการฯ ดวย” ลงชื่อ ......................................………........................... หัวหนาสถาบัน (หัวหนาภาควิชา/หัวหนาหมวด) ชื่อ-นามสกุล นางสาวนวลฉวี เรืองไรรัตนโรจน สังกัด/สถาบัน โรงเรียนเทพศิรินทร สถานที่ติดตอ 1466 ถ.กรุงเกษม เขตปอมปราบ กทม. โทรศัพท - มือถือ 089-7694782 โทรสาร 02-6217615 E-mail tuanr4@gmail.com คํารับรอง “ขาพเจาขอรับรองวาผูพัฒนามีสิทธิ์ขอรับทุนสนับสนุนตามเงื่อนไขที่โครงการฯกําหนด และอนุญาตใหดําเนินการศึกษา/วิจัย/พัฒนาตามหัวขอที่ไดเสนอมานี้ในสถาบันไดภายใตการ บังคับบัญชาของขาพเจา” ลงชื่อ ......................................………...........................
  • 4. 2.สาระสําคัญของโครงการ ในปจจุบันสภาพความเปนอยูของคนเราเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกอนมาก ความกาวหนา ทางวิทยาการ และการพัฒนาอุตสาหกรรมชวยใหมีเครื่องใชที่อํานวยความสะดวกใน ชีวิตประจําวัน มีพาหนะที่สะดวกและรวดเร็ว เวลาทํางานก็มีเครื่องทุนแรงสารพัด คนทั่วไปจึงมี โอกาสออกกําลังกายนอยลง เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดโรคภัยตางๆ มากมาย โดยเฉพาะโรค อวน ซึ่งโรคนี้มีผลเสียตอสุขภาพตางๆ มากมาย เชน ทําใหเสียทรวดทรง ทําใหเสียสุขภาพจิต ทํา ใหภูมิตานทานโรคต่ํา ทําใหเหนื่อยงาย และเสี่ยงตอการเปนโรคตางๆ ไดงาย (สุขศึกษาและพล ศึกษา ม.5 ดร.รัชนี ขวัญบุญจัน และคณะ;น.42) ดังนั้นทางผูพัฒนาจึงไดเล็งเห็นปญหานี้ จึงไดมีแนวคิดจะพัฒนาเกมที่ชวยใหประชาชน ไทยหันมาออกกําลังกายกันมากขึ้นซึ่งในเกมนี้เราจะไดรับบทเปนเด็กชายขี้โรคคนหนึ่งและหนาที่ ของเราก็คือชวยใหเด็กคนนี้กลับมามีสุขภาพที่ดีใหได ซึ่งจะใชเวลา1ป(ในตัวเกม) โดยจะมีวิธีเลน ก็คือใหผูเลนนั้นเตนตามโมเดลหุนที่จะเตนเปนแบบใหซึ่งจะใชกลองเว็บแคมนั้นจับภาพของผูเลน ในขณะนั้น จะนําภาพนั้นมาผานกระบวนการดาน Image processing จะนําภาพที่ผาน กระบวนการแลวนั้นมาทําการตรวจสอบวาผูเลนนั้นเตนไดถูกตองหรือไม ถาเราเตนถูกเราก็จะ ไดรับคะแนนสะสมไปเรื่อยๆ จนผานโปรแกรมฝกของวันนั้นๆได เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดก็จะมีการเขียน ผลการ ออกกําลังกายออกมาเพื่อแสดงใหเห็นวามีความประสบความสําเร็จเพียงใด โปรแกรมที่ใชพัฒนาเกมนั้นหลักๆ นั้นก็จะมี 1.Microsoft Visual Basic 6.0 เพื่อใชใน การเขียนตัวโปรแกรมและประมวลผลภาพจากเว็บแคม 2.Macromedia Flash 8 เพื่อใชในการ ออกแบบมัลติมีเดียที่ใชในตัวโปรแกรม ที่เปนพวกภาพและเสียง 3.Adobe Photo Shop CS เพื่อ ใชในการตัดตอแกไขรูปที่ใชในโปรแกรม 4.Cool Edit เพื่อใชในการตัดตอแกไขไฟลดนตรีและเสียง ประกอบที่ใชในโปรแกรม
  • 5. 3. หลักการและเหตุผล เกมนี้เปนเกมที่ใชการรับขอมูลจากผูเลนผานทางอุปกรณตอพวงโดยใชเว็บแคมซึ่งจะทํา ใหผูเลนมีสวนรวมมากกวาเกมทั่วไปในปจจุบันทําใหมีความสนุกสนาน ผูเลนยังสามารถออก กําลังกายไปพรอมกับการเลนเกมดวย ดังนั้นการพัฒนาเกมนี้โดยการใหผูเลนเตนตามจังหวะจาก VDO ที่เปนตัวอยาง ก็เปนการใชสวนตางๆของรางกาย ของผูเลน ที่มีรูปแบบเปน โปรแกรมที่มี สื่อผสมทั้งการใชเพลง VDO ที่จะสามารถทําใหตัวโปรแกรมมีความนาสนใจ เกมนี้ยังเปนเกมแนวใหมที่ยังมีนอย และดวยมีการใชการรับขอมูลแบบการประมวลภาพ ของผูเลนทําใหไมซ้ําเดิมเหมือนเกมอื่นๆการพัฒนานั้นเปนการใชอุปกรณตอพวง(เว็บแคม)ที่หาได งายในปจจุบันมาทําใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น ดวยทั้งการใชงานและประโยชนตอผูใชที่ไดออกกําลัง กายไปในตัว 4. วัตถุประสงค 1.เพื่อสงเสริมการออกกําลังกายของผูเลนในรูปแบบเกมที่มีความสนุกสนาน 2.เพื่อสรางสรรคเกมการออกกําลังกายในรูปแบบใหมๆ ที่ใชการออกกําลังกายไดจริง 3.เพื่อฝกฝนการใชประสาทสัมผัสในดานรางกาย และโสตประสาท ในการพัฒนาสมอง และกระบวนการเรียนรู 4.เพื่อนําหลักการ Image processing ที่ไดรับความนิยมเขามาพัฒนาในรูปแบบเกม 5.ปญหาหรือประโยชนที่เปนเหตุผลใหควรพัฒนาโปรแกรม ปจจุบันเกมที่นําการประยุกตการเคลื่อนไหวของมนุษยจริงเขามาชวยพัฒนานั้นยังเห็นได ไมมากนักอีกทั้งเทคโนโลยีที่ใชยังคงมีราคาสูง การพัฒนาเกมนี้ขึ้นเพื่อใหการควบคุมโดย เคลื่อนไหวของมนุษยอยางงายๆ ผานทางเว็บแคมที่มีราคาถูกมากในปจจุบัน การพัฒนาโดยการ อาศัยหลักการนี้ยังเปนแนวทางตอยอดไปสูการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรของคนพิการที่มีราคาถูก ลง การพัฒนาเกมนี้ยังเปนผลใหผูใชคอมพิวเตอรหลายๆคนหันมาออกกําลังกายมากขึ้น เพราะงาย สะดวก และรวดเร็วตอสถานการปจจุบัน
  • 6. 6.เปาหมายและขอบเขตของโครงงาน 1.เปนเกมเตนออกกําลังกาย โดยใชทากายบริหารอยางงายๆ เพื่อสงเสริมใหเด็กไทยได ออกกําลังกาย 2.ผูเลนสามารถออกกําลังกายไดจริง โดยรับคาการออกกําลังกายผานเว็บแคม 3.ผูใชโปรแกรมสามารถเขาถึงโปรแกรมและใชงานไดงายไมซับซอน 4.ทุกๆ คนในครอบครัวสามารถเลนได เนื่องจากเปนเกมที่ปราศจากความรุนแรง ไม สงเสริมใหผูเลนกระทําผิด 5.ผูเลนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยางถูกวิธี โดยจะไดรับรูถึงประโยชนของ การออกกําลังกายดวย 7.รายละเอียดของการพัฒนา โปรแกรมเกมที่พัฒนาโดยใชอุปกรณตอพวงมาชวยในการรับการเคลื่อนไหวของผูเลน อุปกรณประกอบการใชงานโปรแกรม 1.เว็บแคม เพื่อใชในการรับคาของผูเลนผานทางการเตน 2.ฉากสีฟา เพื่อใช เทคนิคบลูสกรีน(Blue Screen) และเปนการงายตอการ ตรวจสอบคาสี 3.ถุงมือ เพื่อใชเปรียบเทียบคาสีกับจุดพี้นหลังวาอยู ณ จุดใด 7.1 เนื้อเรื่องยอ ในเกมนี้เราจะไดรับบทเปนเด็กชายคนหนึ่งซึ่งเด็กชายคนนี้เปนคนที่เรียนเกงมาก แตมีสภาพรางกายไมคอยจะดีสักเทาไร ถาปลอยใหเปนแบบนี้ตอไปเรื่อยๆ ก็อาจทําใหเด็กคนนี้ เกิดโรคภัยไขเจ็บตางๆ มากมาย ฉะนั้นมันไมดีแนเพราะอาจจะถึงตายได และจะทําใหเสียอนาคต ของชาติไปอยางนาเสียดายยิ่งนัก แตทางแกของปญหานี้มันงายมาก ก็คือการออกกําลังกายเปน ประจําอยางสม่ําเสมอ หนาที่ของเราก็คือตองออกกําลังโดยภายในตัวเกมจะมีตารางฝกมาใหเปน วันๆ ไปเปนเวลา 1 ป ซึ่งในแตละวันก็จะมีโปรแกรมฝกที่แตกตางกันออกไป โดยในเดือนแรกนั้นจะ เริ่มจากทาที่งายกอนเชนทาที่ใชในการยืดเสนยึดกลามเนื้อตางๆและในเดือนตอๆมาก็จะเริ่มยาก ขึ้นเรื่อยๆ เปนลําดับๆไป จนครบ 1 ป
  • 7. 7.1.1ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 1. OOP (Object-Oriented-Programming) เปนหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่เรียกวาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดย นําเขามาใชเพื่องายตอการพัฒนาโปรแกรมที่ทํารวมกันหลายคน โดยใชสวนประกอบ สําคัญของหลัก OOP ดังนี้ 1.1 Class : เพื่อการเขียนโปรแกรมที่ตองทํากันหลายคนนั้นจําเปนตองใช Class เพื่อนํามาจัดการโปรแกรมใหเปนสวนๆโดยผูที่มาเขียนตออาจใชการสืบทอด Class (Inheritance) เพื่อประหยัดเวลาที่ตองเสียไปกับการเขียนโปรแกรมที่มีการทํางาน คลายกัน 1.2 Encapsulation : เปนคุณสมบัติที่ทําการซอนขอมูลภายใน Class ไว ผูที่จะ ทํางานตอจากเราสามารถที่จะรูแคคาตัวแปร ที่ Class นั้นตองการและรูสิ่งที่เปน Output หรือผลลัพธ ที่ไดออกมาจาก Class ก็เพียงพอเพื่อผูเขียนโปรแกรมตอไป ในบอยครั้งการ เขียนโปรแกรมที่มีความซับซอนผูเขียนโปรแกรมคนแรกอาจตั้งชื่อตัวแปรที่สื่อความหมาย ไวแตดวยการทํางานอาจซับซอนมาก ผูที่มาเขียนตออาจไมเขาใจในสวนแรกก็อาจเขียน Class ใหมโดย อิงการทํางานกับอันเกาเพียงแคสงตัวแปรเขาไปและรอรับ ผลลัพธออกมา เลยก็เปนวิธีการที่งายกวา 2. Digital Image Processing เพื่อเปนการตรวจสอบและการนํามาประยุกตกันกับ ภาพ VDO เพื่อทําการ ตรวจเช็คคะแนน และทาทางของผูเลน Image Processing เปนการใชคอมพิวเตอรใน การประมวลผลภาพ จากการใหตรรกะเงื่อนไขการสรุป ตรวจสอบคาจุดสี ในที่นี้จะใชเปน องคประกอบรวมในการตรวจสอบเพื่อความรวดเร็วในแตละจุด ทั้งยังชวยใหโปรแกรมมี ความยืดหยุนขึ้นอีกดวย
  • 9. รูป แสดงหนาตางโปรแกรมขณะเลน 7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช 7.2.1 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใชในการเขียนโปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมนั้นจะใชการเขียนโปรแกรมแบบ OOP (Object-Oriented- Programming) หรือการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เขามาชวยเพื่อใชการพัฒนาโปรแกรมที่ตองทํา รวมกันหลายคนนั้นงายขึ้นโดยใชเทคนิคหนึ่งของ OOP ในเรื่องของ Class ที่ชวยทําใหการแบง งาน การเขียนโปรแกรมไมสับสนวุนวาย โดยผูที่พัฒนาตอจากสวนของคนอื่น จะใชคุณสมบัติของ OOP เกี่ยวกับ Class อีกขอหนื่งคือ Encapsulation ที่เปนคุณสมบัติที่ทําการซอนขอมูลภายใน Class ไว ผูที่จะทํางานตอจากเราสามารถที่จะรูแคคาตัวแปร ที่ Class นั้นตองการและรูสิ่งที่เปน Output หรือผลลัพธ ออกมาเพื่อนําไปพัฒนาโปรแกรมตอไป 7.2.2 หลักในการใชตรวจสอบความเคลื่อนไหวจากภาพ VDO
  • 10. การตรวจสอบภาพและไฟล VDO นั้นจะใชการเขียนโปรแกรมเพื่อทําการตรวจสอบภาพ VDO จากเว็บแคม โดยการเขียนโปรแกรมที่เรียกวา Digital Image Processing ที่ Visual Basic 6.0 มีการรองรับและทํางานได การตรวจสอบความเคลื่อนไหวจากภาพ VDO นั้นใชการตรวจสอบคาเบี่ยงเบนของคาสีที่ มีการเปลี่ยนไปตอจุดที่ตั้งคากําหนดเอาไวโดยเก็บคาสีที่ไดไวในตัวแปรอาเรย 2 มิติ เพื่อใหการ ตรวจสอบสีจากจุดที่กําหนดไดอยางยืดหยุน การใชการตรวจสอบคาสีที่กลาวมานี้เพื่อใหมีความคลาดเคลื่อนนอยที่สุดในการ ตรวจสอบคาเบี่ยงเบนของคาสี ฉากหลังของผูใชโปรแกรมจึงตองมีการใชฉากที่มีสีเรียบตามที่ดังที่ จะกลาวในหัวขอ 7.2.3 7.2.3 เทคนิคและอุปกรณเพิ่มเติม เพื่อใหการตรวจสอบการเคลื่อนไหวทําไดงายขึ้นดังนั้นการใชอุปกรณภายนอกเขามาเพื่อ ประกอบกับการใชงานโดยการใชฉากหลังที่เปนสีฟา หรือ เทคนิคบลูสกรีน(Blue Screen) เขามา โดยกําหนดจุดไวบนฉากดวยเพื่อใหผูเลนไดใชมือและขาไปยังจุดที่ถูกตองโดยโปรแกรมไดมีการ กําหนดเพื่อรับคาความเบี่ยงเบนสีเพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวบนจุดดังกลาว เพื่อใหการตรวจสอบคาสีใหแนชัดอีกครั้งจะมีการใชถุงมือของผูเลนที่สวมไวใชเปนการ เปรียบเทียบคาสีกับจุดพื้นหลังวาอยู ณ จุดใดและทับกับจุดที่ตรวจสอบหรือไมอีกดวย ดังรูป รูป แสดงจุดตรวจสอบ 7.3 เครื่องมือที่ใชในการพัฒนา
  • 11. 1.Microsoft Visual Basic 6.0 เพื่อใชในการเขียนตัวโปรแกรมและประมวลผลภาพจากเว็บแคม 2. Macromedia Flash 8 เพื่อใชในการออกแบบมัลติมีเดียที่ใชในตัวโปรแกรม ที่เปนภาพและเสียง 3.Adobe Photo Shop CS เพื่อใชในการตัดตอแกไขรูปที่ใชในโปรแกรม 4.Cool Edit เพื่อใชในการตัดตอแกไขไฟลดนตรีและเสียงประกอบที่ใชในโปรแกรม 7.4 รายละเอียดของโปรแกรมที่จะพัฒนา Input - กลองเว็บแคม หนาที่คือจับภาพของผูเลนในขณะนั้น และจะนําภาพนั้นมาผาน กระบวนการดาน Image Processing ซึ่งจะนําภาพที่ผานกระบวนการแลวนั้นมาทําการตรวจสอบ วาผูเลนนั้นเตนไดถูกตองหรือไม โดยจะนํามาเปรียบเทียบเทียบกับตัวโมเดลที่เตนอยู Output - ตัวโมเดลหุนเตน หนาที่คือจะเตนใหผูเลนดูเปนตัวอยาง และใหผูเลนนั้นเตน ตามใหเหมือนที่สุด - แถบแสดงชื่อทาเตน ซึ่งจะใชบอกวาทาที่เตนอยูนั้นชื่ออะไร - แถบแสดงคะแนน จะแสดงคะแนนสะสมที่เรามีอยูในขณะนั้น ซึ่งคะแนนนี้จะได จากการดูวาเราเตนทาตางๆ ไดสมบูรณมากนอยเพียงใด - จอแสดงภาพผูเลน จะนําภาพจากเว็บแคมมาแสดงออกทางหนาจอนี้ โครงสรางของซอฟตแวร
  • 12. รูป แสดงโครงสรางซอรฟแวร 7.5 ขอบเขตและขอจํากัดของโปรแกรมที่พัฒนา 1.การตรวจสอบการเคลื่อนไหวผานเว็บแคมของโปรแกรมนี้ยังมีขอจํากัดที่จะตอง ใชปจจัยภายนอกเขามาชวยเพื่อใหการตัดสินใจของตัวโปรแกรมเปนไปไดอยางราบรื่น ดังที่กลาวในหัวขอ 7.2.3 2.เพื่อความรวดเร็วและการใชทรัพยากรเครื่องอยางประหยัดดังนั้นการใชการ ตัดสินใจในแบบ Real Time นั้นจะทําไดเพียงบางจุด เพราะถาใชการตัดสินใจทุกๆสวน แบบ Real Time กับภาพ VDO อาจมีผลใหเครื่องมีการใช หนวยประมวลผลกลาง (CPU) สูงจนเกิดอาการคางได (เนื่องจากไดทําการทดลองประมวลผล VDO แบบ Real Time แลวระบบจะตอบสนองชาลง)
  • 13. 3.ความคมชัดและแสงสวางที่เพียงพอเปนขอจํากัดที่ขึ้นกับสถานที่ที่ใชเลนโดย คาน้ําหนักแสงอาจมีผลตอคาสี แตไมเปนผลกระทบมากนักเนื่องจากการกําหนดคาสีที่ ยืดหยุนแลวในการตรวจสอบ 8.บรรณานุกรม ฉัททวุฒิ พืชผล , พิชิต สันติกุลานนท , พรอมเลิศ หลอวิจิตร. 2547. คูมือเรียน Visual Basic 6.0. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น. พรอมเลิศ หลอวิจิตร. 2548. Advanced Visual Basic ฉบับ Object & Component. พิมพ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น. สิทธิโชค ยอดระยับ. 2550. การเขียนโปรแกรม Digital Image Processing. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สถาบันสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน).