SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
สถิติและข้อมูล
ความหมายของสถิติ
คาว่า “สถิติ” มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “statistics” ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคาว่า “state” ดังนั้นตาม
ความหมายดั้งเดิม สถิติ จึงหมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อรัฐในด้านต่างๆ เช่น ข้อมูลในการ
วางแผนกาลังคน การเก็บภาษีอากร การประกันสังคม การจัดการศึกษา และการสาธารณสุข เป็นต้น ต่อมาคา
ว่า สถิติ มีความหมายกว้างขวางขึ้น ซึ่งในปัจจุบัน สถิติมีความหมายต่างๆ ดังนี้
1. สถิติ ในความหมายของ “ข้อมูลสถิติ” หมายถึง ตัวเลขที่ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ เช่น
สถิติการเข้าชั้นเรียน ปริมาณการขายสินค้า สถิติจานวนบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น
2. สถิติ ในความหมายของ “ระเบียบวิธีการทางสถิติ” หมายถึง ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่ง
ประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล
ดังนั้นสถิติตามความหมายนี้จึงเป็นเครื่องมือสาคัญของนักวิจัย นักวิชาการ และนักบริหาร
3. สถิติ ในความหมายของ “ค่าสถิติ” หมายถึง ค่าตัวเลขที่คานวณได้จาก ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง
(Sample data) เช่น ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น
4. สถิติ ในความหมายของ “วิชาสถิติ” หมายถึงวิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาและ
รากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ (Mathematics) และตรรกวิทยา (logic) โดยสถิติเป็นศาสตร์ของการตัดสินใจ
ภายใต้สถานการณ์ที่ยังไม่แน่นอน
ประเภทของสถิติ
สถิติสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สถิติเชิงบรรยาย หรือสถิติเชิงพรรณนา
(Descriptive Statistics) และสถิติเชิงสรุปอ้างอิง หรือสถิติอนุมาน (Inferential Statistics)
สถิติเชิงพรรณนา เป็นสถิติที่มุ่งบรรยาย หรืออธิบายลักษณะของสิ่งที่ศึกษา ซึ่งอาจเป็นกลุ่ม
ตัวอย่าง หรือประชากรก็ได้ การบรรยายนั้นมุ่งบรรยายภาพรวมของข้อมูลชุดนั้น ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลที่
ได้ไม่สามารถนาไปอ้างอิงใช้กับข้อมูลชุดอื่นๆ ได้ เช่น จากการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่งได้ข้อสรุป ข้อสรุปนี้เป็นความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่
สารวจเท่านั้น ไม่สามารถนาไปสรุปว่าเป็นความคิดเห็นของคนอื่นๆ ในโรงเรียนเดียวกัน สถิติเชิงพรรณนา
ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ของข้อมูล การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การจัดตาแหน่งเปรียบเทียบ
ข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายของข้อมูล และการวัด ความสัมพันธ์ของข้อมูล
สถิติเชิงอนุมาน เป็นสถิติที่ศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่สนใจ เพื่อให้ได้
ค่าสถิติ (Sample statistic) จากนั้นนาค่าสถิติที่ได้อ้างอิงไปยังประชากร เพื่อประมาณค่าประชากรว่าควรเป็น
เท่าไร เช่น การศึกษาความคิดเห็นของนายทหารจานวนหนึ่ง แล้วสรุปเป็นความคิดเห็นของนายทหารทั้ง
กองทัพ ซึ่งกรณีนี้การทาให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างนายทหารจานวนหนึ่งที่มีความเป็นตัวแทนของนายทหารทั้ง
กองทัพมีความสาคัญมาก ผู้สนใจสามารถศึกษาได้จากเรื่องการสุ่มตัวอย่าง
สถิติเชิงอนุมาณแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประมาณค่า (Estimation) และการทดสอบ
สมมติฐาน (Hypothesis testing)
ข้อมูล
ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้ที่เราสนสนใจจะศึกษา
ข้อมูลแบ่งตามลักษณะของข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) หมายถึงข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ เช่น
เพศ เชื้อชาติ สถานภาพสมรส ศาสนา กลุ่มเลือด เป็นต้น
2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (numerical data) ที่แสดงถึงปริมาณ
อาจเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง (discrete) คือค่าที่เป็นจานวนเต็มหรือจานวนนับ เช่น จานวน
รถยนต์ในกรุงเทพมหานคร
ข้อมูลแบ่งตามการเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่เก็บจากแหล่งโดยตรง ทาได้โดยการสัมภาษณ์ การนับ มีวิธีเก็บได้2 วิธี
1. จากสามะโน คือการเก็บข้อมูลจากทุกหน่วยงานด้วยการสัมภาษณ์ การนับ ซึ่งไม่ค่อยนิยม เพราะ
ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง เช่น การเก็บสถิติผู้ใช้รถโดยสารประจาทาง
2. จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกตัวแทนกลุ่มที่เหมาะสม ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับที่ต้องการ
ศึกษา เช่น สารวจความนิยมของวัยรุ่นเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์มือถือ กลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษาก็ต้อง
เป็นพวกวัยรุ่น เป็นต้น
การเก็บรวบรวมแบบปฐมภูมิที่นิยมมีอยู่ 5 วิธี คือ
1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้กันมาก เพราะจะได้คาตอบทันที นอกจากนี้หากผู้ตอบไม่เข้าใจก็สามารถ
อธิบายเพิ่มเติมได้ แต่ผู้สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์และเข้าใจจุดมุ่งหมายของการเก็บข้อมูลอย่างแท้จริง
2. การแจกแบบสอบถาม วิธีนี้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบ
แบบสอบถาม แต่ก็มีข้อเสียหลายประการ เช่น ต้องใช้ในเฉพาะผลที่มีการศึกษา มีไปรษณีย์ไปถึง
คาถามต้องชัดเจน อาจจะไม่ได้รับคืนตามเวลาหรือจานวนที่ต้องการ จึงต้องส่งแบบสอบถาม
ออกไปเป็นจานวนมากๆ หรือไปแจกและเก็บด้วยตนเอง
3.การสอบถามทางโทรศัพท์ เป็นวิธีที่ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ต้องเป็นการสัมภาษณ์อย่างสั้นๆ ตอบได้
ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้นหาหลักฐาน ใช้ได้เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านั้น
4. การสังเกต เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแล้วบันทึกสิ่งที่เราสนใจเอาไว้ต้องใช้การสังเกตเป็น
ช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน ข้อมูลจะน่าเชื่อถือได้มากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้าใจและความ
ชานาญของผู้สังเกต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการต่างๆ เช่น บริการรถโดยสาร การบริการ
สหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ถนนสายต่างๆ เป็นต้น วิธีนี้นิยมใช้ประกอบกับการเก็บข้อมูล
วิธีอื่นๆ
5. การทดลอง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีการทดลอง ซึ่งมักจะใช้เวลาในการทดลองนานๆ ทาซ้าๆ
2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้แต่งเก็บรวบรวมไว้แล้ว ซึ่งอาจเก็บไว้ใช้ในการบริหารหน่วยงานนั้นๆ
สามารถนามาใช้ได้เลย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ต้องศึกษาว่า ข้อมูลนั้นเก็บรวบรวมมาเหมาะสมหรือไม่
แหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สาคัญมีอยู่ 2 แหล่ง คือ
1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาล เช่น ทะเบียนประวัติบุคลากร ประวัติคนไข้
ทะเบียนนักเรียนนักศึกษา เป็นต้น
2. รายงานและบทความจากหนังสือ หรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน ซึ่งจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะใน
ส่วนของข้อมูลที่เผยแพร่ได้ในรูปของรายงานต่างๆ
ข้อมูลทั้งหมดได้อ้างอิงมาจาก
https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_appliedmathematics2/wiki/bf993/_6_.html
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/sec01p01.html
ผศ.ดร.วรรณ์ดี แสงประทีปทอง. สถิติเบื้องต้น

More Related Content

Similar to สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1) (10)

Stat
StatStat
Stat
 
เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครู
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Stat2
Stat2Stat2
Stat2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
Alice
AliceAlice
Alice
 

สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)

  • 1. สถิติและข้อมูล ความหมายของสถิติ คาว่า “สถิติ” มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “statistics” ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคาว่า “state” ดังนั้นตาม ความหมายดั้งเดิม สถิติ จึงหมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อรัฐในด้านต่างๆ เช่น ข้อมูลในการ วางแผนกาลังคน การเก็บภาษีอากร การประกันสังคม การจัดการศึกษา และการสาธารณสุข เป็นต้น ต่อมาคา ว่า สถิติ มีความหมายกว้างขวางขึ้น ซึ่งในปัจจุบัน สถิติมีความหมายต่างๆ ดังนี้ 1. สถิติ ในความหมายของ “ข้อมูลสถิติ” หมายถึง ตัวเลขที่ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ เช่น สถิติการเข้าชั้นเรียน ปริมาณการขายสินค้า สถิติจานวนบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น 2. สถิติ ในความหมายของ “ระเบียบวิธีการทางสถิติ” หมายถึง ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่ง ประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล ดังนั้นสถิติตามความหมายนี้จึงเป็นเครื่องมือสาคัญของนักวิจัย นักวิชาการ และนักบริหาร 3. สถิติ ในความหมายของ “ค่าสถิติ” หมายถึง ค่าตัวเลขที่คานวณได้จาก ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง (Sample data) เช่น ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น 4. สถิติ ในความหมายของ “วิชาสถิติ” หมายถึงวิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาและ รากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ (Mathematics) และตรรกวิทยา (logic) โดยสถิติเป็นศาสตร์ของการตัดสินใจ ภายใต้สถานการณ์ที่ยังไม่แน่นอน ประเภทของสถิติ สถิติสามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สถิติเชิงบรรยาย หรือสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และสถิติเชิงสรุปอ้างอิง หรือสถิติอนุมาน (Inferential Statistics) สถิติเชิงพรรณนา เป็นสถิติที่มุ่งบรรยาย หรืออธิบายลักษณะของสิ่งที่ศึกษา ซึ่งอาจเป็นกลุ่ม ตัวอย่าง หรือประชากรก็ได้ การบรรยายนั้นมุ่งบรรยายภาพรวมของข้อมูลชุดนั้น ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลที่ ได้ไม่สามารถนาไปอ้างอิงใช้กับข้อมูลชุดอื่นๆ ได้ เช่น จากการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มหนึ่งได้ข้อสรุป ข้อสรุปนี้เป็นความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ สารวจเท่านั้น ไม่สามารถนาไปสรุปว่าเป็นความคิดเห็นของคนอื่นๆ ในโรงเรียนเดียวกัน สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ของข้อมูล การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การจัดตาแหน่งเปรียบเทียบ ข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายของข้อมูล และการวัด ความสัมพันธ์ของข้อมูล
  • 2. สถิติเชิงอนุมาน เป็นสถิติที่ศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่สนใจ เพื่อให้ได้ ค่าสถิติ (Sample statistic) จากนั้นนาค่าสถิติที่ได้อ้างอิงไปยังประชากร เพื่อประมาณค่าประชากรว่าควรเป็น เท่าไร เช่น การศึกษาความคิดเห็นของนายทหารจานวนหนึ่ง แล้วสรุปเป็นความคิดเห็นของนายทหารทั้ง กองทัพ ซึ่งกรณีนี้การทาให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างนายทหารจานวนหนึ่งที่มีความเป็นตัวแทนของนายทหารทั้ง กองทัพมีความสาคัญมาก ผู้สนใจสามารถศึกษาได้จากเรื่องการสุ่มตัวอย่าง สถิติเชิงอนุมาณแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประมาณค่า (Estimation) และการทดสอบ สมมติฐาน (Hypothesis testing) ข้อมูล ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้ที่เราสนสนใจจะศึกษา ข้อมูลแบ่งตามลักษณะของข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) หมายถึงข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ เช่น เพศ เชื้อชาติ สถานภาพสมรส ศาสนา กลุ่มเลือด เป็นต้น 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (numerical data) ที่แสดงถึงปริมาณ อาจเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง (discrete) คือค่าที่เป็นจานวนเต็มหรือจานวนนับ เช่น จานวน รถยนต์ในกรุงเทพมหานคร ข้อมูลแบ่งตามการเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่เก็บจากแหล่งโดยตรง ทาได้โดยการสัมภาษณ์ การนับ มีวิธีเก็บได้2 วิธี 1. จากสามะโน คือการเก็บข้อมูลจากทุกหน่วยงานด้วยการสัมภาษณ์ การนับ ซึ่งไม่ค่อยนิยม เพราะ ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง เช่น การเก็บสถิติผู้ใช้รถโดยสารประจาทาง 2. จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกตัวแทนกลุ่มที่เหมาะสม ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับที่ต้องการ ศึกษา เช่น สารวจความนิยมของวัยรุ่นเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์มือถือ กลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษาก็ต้อง เป็นพวกวัยรุ่น เป็นต้น การเก็บรวบรวมแบบปฐมภูมิที่นิยมมีอยู่ 5 วิธี คือ 1. การสัมภาษณ์ นิยมใช้กันมาก เพราะจะได้คาตอบทันที นอกจากนี้หากผู้ตอบไม่เข้าใจก็สามารถ อธิบายเพิ่มเติมได้ แต่ผู้สัมภาษณ์ต้องซื่อสัตย์และเข้าใจจุดมุ่งหมายของการเก็บข้อมูลอย่างแท้จริง 2. การแจกแบบสอบถาม วิธีนี้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมาก สะดวกและสบายใจต่อการตอบ แบบสอบถาม แต่ก็มีข้อเสียหลายประการ เช่น ต้องใช้ในเฉพาะผลที่มีการศึกษา มีไปรษณีย์ไปถึง คาถามต้องชัดเจน อาจจะไม่ได้รับคืนตามเวลาหรือจานวนที่ต้องการ จึงต้องส่งแบบสอบถาม ออกไปเป็นจานวนมากๆ หรือไปแจกและเก็บด้วยตนเอง
  • 3. 3.การสอบถามทางโทรศัพท์ เป็นวิธีที่ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ต้องเป็นการสัมภาษณ์อย่างสั้นๆ ตอบได้ ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาค้นหาหลักฐาน ใช้ได้เฉพาะส่วนที่มีโทรศัพท์เท่านั้น 4. การสังเกต เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแล้วบันทึกสิ่งที่เราสนใจเอาไว้ต้องใช้การสังเกตเป็น ช่วงๆของเวลาอย่างต่อเนื่องกัน ข้อมูลจะน่าเชื่อถือได้มากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้าใจและความ ชานาญของผู้สังเกต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการต่างๆ เช่น บริการรถโดยสาร การบริการ สหกรณ์ ความหนาแน่นของการใช้ถนนสายต่างๆ เป็นต้น วิธีนี้นิยมใช้ประกอบกับการเก็บข้อมูล วิธีอื่นๆ 5. การทดลอง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีการทดลอง ซึ่งมักจะใช้เวลาในการทดลองนานๆ ทาซ้าๆ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้แต่งเก็บรวบรวมไว้แล้ว ซึ่งอาจเก็บไว้ใช้ในการบริหารหน่วยงานนั้นๆ สามารถนามาใช้ได้เลย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ต้องศึกษาว่า ข้อมูลนั้นเก็บรวบรวมมาเหมาะสมหรือไม่ แหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สาคัญมีอยู่ 2 แหล่ง คือ 1. รายงานต่างๆของหน่วยราชการและองค์การของรัฐบาล เช่น ทะเบียนประวัติบุคลากร ประวัติคนไข้ ทะเบียนนักเรียนนักศึกษา เป็นต้น 2. รายงานและบทความจากหนังสือ หรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน ซึ่งจะมีการพิมพ์เผยแพร่เฉพาะใน ส่วนของข้อมูลที่เผยแพร่ได้ในรูปของรายงานต่างๆ ข้อมูลทั้งหมดได้อ้างอิงมาจาก https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_appliedmathematics2/wiki/bf993/_6_.html http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/sec01p01.html ผศ.ดร.วรรณ์ดี แสงประทีปทอง. สถิติเบื้องต้น