SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง ‘’วัดพระเหลาเทพนิมิต ตานานพระพุทธชิน
ราชแห่งอีสาน’’ โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เรียนรู้
เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและประเพณีสาคัญของวัดพระเหลาเทพ
นิมิต โดยคณะผู้จัดทาได้เริ่มขั้นตอนการศึกษาตั้งแต่ สืบค้นข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ต หนังสือที่เกี่ยวข้องและสอบถามจากผู้รู้นาข้อมูลทั้งหลาย
มารวบรวมและช่วยกันวิเคราะห์โดยคณะผู้จัดทาได้เข้าใจเกี่ยวกับ
ประวัติความเป็นมาและประเพณีวันสาคัญต่างๆ และสามารถเผยแพร่
ข้อมูลที่ได้ให้แก่บุคคลทั่วไปได้เป็นอย่างดี
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากว่าคณะผู้จัดทาส่วนใหญ่นั้นไม่ได้อยู่ในอาเภอพนาทา
ให้คณะผู้จัดทาส่วนใหญ่นั้นไม่เคยทราบประวัติและความเป็นมา
ของวัดพระเหลาเทพนิมิตซึ่งเป็นวัดศักด์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของชาว
พนาและพระเหลาเทพนิมิตนั้น ก็ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น
พระพุทธรูปที่งดงามที่สุดในภาคอีสาน คณะผู้จัดทาจึงได้ศึกษา
เรื่องนี้เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้กับบุคคลทั่วไปให้ทราบถึงความ
เป็นมาและความสาคัญของวัดพระเหลาเทพนิมิต
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของวัดพระเหลาเทพนิมิต
2. เพื่อศึกษาประเพณีและการจัดงานในวันสาคัญของวัดพระเหลา
เทพ นิมิต
3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้แก่บุคคลทั่วไป
ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาประวัติวัดพระเหลาเทพนิมิต จากชาวบ้าน ผู้อาวุโสและหนังสือ
ประวัติวัดพระเหลาเทพนิมิตและสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. คณะผู้จัดทาได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวัดพระเหลาเทพ
นิมิตและองค์พระเหลาเทพนิมิต
2. คณะผู้จัดทาได้เข้าใจเกี่ยวกับประเพณีและการจัดงานในวันสาคัญของวัด
พระเหลาเทพนิมิต
3. สามารถเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้แก่บุคคลทั่วไปได้
ประวัติความเป็นมาของวัดพระเหลาเทพนิมิต
ราว พ.ศ.2231 หลังจากพรานทีและพรานทองตั้งรกรากที่บริเวณอาเภอ
พนาในปัจจุบัน พระภิกษุธิ พระภิกษุแก้วและพระภิกษุอิน ซึ่งจาพรรษาที่
วัดบ้านบ่อพันขันธ์แขวงเมืองร้อยเอ็ดจึงพากันมาเยี่ยมเห็นว่าบริเวณกุดพระ
เหลาในปัจจุบันมีชัยภูมิที่ดีกว่าที่หมู่บ้านเดิมจึงชวนชาวบ้านย้ายมาอยู่
บริเวณนี้ ชาวบ้านเห็น ดีด้วยจึงพากันย้ายมาอยู่บริเวณนี้และสร้างวัดขึ้น
และขนานนามว่า ‚วัดศรีโพธิชยารามคามวดี‛ โดยมีพระครูธิเป็นเจ้าอาวาส
รูปแรกต่อมาท่านพระครูธิ พร้อมด้วยสานุศิษย์ญาติโยมเริ่มสร้างอุโบสถขึ้น
ประวัติความเป็นมาของวัดพระเหลาเทพนิมิต
หลังคาลด 2 ชั้น หันหน้าไปทิศตะวันออก หน้าบันไดต้านตะวันออกทา
ด้วยไม้สลักลวดลายเป็นเถาว์ตรงกลางเป็นรูปราหูกลืนจันทร์ ระหว่างเถามี
รูปเทพนมและรูปหนุมาน ลวดลายทาด้วยปูนเพชร มิได้สลักลงเนื้อไม้
ร่องชาดปิดทองฝังกระจกแกะสลักอย่างประณีต ประตูทางเข้าด้านหน้ามี 3
ช่องเหนือช่องประตูปั้นด้วยปูนเพชร ทาเป็นซุ้มคล้ายยอดปราสาท ใต้ซุ้ม
เป็นรูปพญานาค ขนาดของโบสถ์กว้าง 9.80
เมตร ยาว 15.50 เมตร และหันหน้าไปทางทิศตะวันออกมีลักษณะ
เป็นฐานกว้าง 9.80 เมตร ยาว 15.50 เมตร ผนังก่อด้วยอิฐถือปูน
เพชรเสาเป็นไม้เนื้อแข็งกลม โคลงหลังคาเป็นไม้ เนื้อแข็ง มุง
ด้วยกระดานไม้
ประวัติองค์พระเหลาเทพนิมิต
เมื่อสร้างโบสถ์เสร็จแล้ว พระครูธิเจ้าอาวาสเป็นประธานในการสร้าง
องค์พระประธานขึ้นในอุโบสถ โดยเป็นผู้ออกแบบและหลักการทามอบให้
ภิกษุแก้ว ภิกษุอินเป็นช่วงดาเนินการก่อสร้าง ทาเป็นวัน ๆ ไปวันละตอน ๆ
แต่ละวันให้ช่างมารายงานผลและรับงานไปทาในวันต่อไป โดยท่านพระ
ครูธิมิได้ลงไปดูและควบคุมเลย จนกระทั่งถึงตอนขัดเงาซึ่งเป็นงานละเอียด
จะลงรัก ท่านจึงลงไปดูท่านพระครูธิจึงมอบให้พระซาพรหมเป็นช่างแก้ไข
ปรุงแต่ง ลักษณะทรวดทรงใบหน้าให้งดงามยิ่งขึ้น
ประวัติองค์พระเหลาเทพนิมิต
พระซาพรหมก็ทาได้สาเร็จ จนพระครูธิและสานุศิษย์ญาติโยมทั้งปวงออก
ปากชมเป็นเสียงเดียวกันว่า ทาได้งดงามสมส่วนทุกประการ จึงขนานนาม
ว่า ‚พระเหลา‛ เพราะงามเหมือนเหลาด้วยมือจริงๆ ส่วนวัดก็ได้เปลี่ยนชื่อ
ว่า ‚วัดพระเหลา‛ ตามองค์พระเหลา และเรียกชื่อหมู่บ้านว่า ‚บ้านพระ
เหลา‛ แต่นั้นมา
จนถึงปี พ.ศ.2441 ท่านเจ้าพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันทร์โท
จันทร์) ได้เสริมนามต่อท้ายพระเหลาว่า ‚พระเหลาเทพนิมิต‛ สืบมาจนถึง
ทุกวันนี้ โดยการก่อสร้างโบสถ์และองค์พระเหลาเทพนิมิตนี้ใช้เวลา 13 ปี 7
เดือน 3 วัน สิ้นเงินไป 5 ชั่ง 5 ตาลึง 5 สลึง 2 ลาด แล้วมีมหรสพฉลองกัน
อย่างมโหฬารสาหรับพระเหลาเทพนิมิต
ประวัติองค์พระเหลาเทพนิมิต
นอกจากจะมีความงดงามตามพุทธศิลปะแล้ว มีคาเล่าลือกันว่า ทุก
คืนวันพระ ๗ ค่า, ๘ ค่า, ๑๔ ค่า, ๑๕ ค่า องค์พระพุทธรูปพระเหลา
เทพนิมิต จะแสดงพุทธานุภาพให้เกิด ลาแสงสีเขียวแกมขาวขจีลอย
ออกจากพระอุโบสถในเวลาเงียบสงัด ทั้งนี้การเข้ากราบนมัสการ
พระเหลาเทพนิมิต ผู้ต้องการบนบานขอให้ประสบความสาเร็จใน
ชีวิต โดยเฉพาะคนที่ไม่มีบุตร มีการกล่าวกันว่าเมื่อมาบนบานขอ
จากพระเหลาเทพนิมิตแล้วจะประสบความสาเร็จสมดังที่ตั้งใจ
ส่วนสิ่งของที่ใช้บนบานสานกล่าวก็คือดอกไม้ธูปเทียนและ
ปราสาทผึ้ง เป็นต้น
พระพุทธรูปที่มีอยู่ในวัดพระเหลาเทพนิมิต
เมื่อการสร้างอุโบสถ พระพุทธรูปและกุฏิเสนาสนะเสร็จแล้ว ท่านพระครูธิ
ได้สร้างถาวรวัตถุไว้ในวัดอีกหลายอย่าง เช่น หอพระไตรปิฎก ซึ่งสร้างไว้
ริมกุดพระเหลาในหมู่ป่าตาล ปัจจุบันชารุดหมดแล้ว เหลือเพียงรูปสระ
สี่เหลี่ยมที่หอพระไตรปิฎกเคยตั้งอยู่เท่านั้นนอกจากนี้แล้วยังมีปูชนียวัตถุ
หรือพระพุทธรูปขนาดและปางต่างๆ ที่มีอยู่ในวัดพระเหลา ได้แก่
1. พระยืนปางห้ามญาติ เป็นพระขัดเงาละเอียดมาก เนื้อทองสีดอ
กบวบ
2. องค์ที่สองนี้เหมือนองค์ที่หนึ่ง แต่เล็กกว่า สูง 68 ซม. ไม่ได้ชัก
เงา เพียงแต่ขัดเกลี้ยง
พระพุทธรูปที่มีอยู่ในวัดพระเหลาเทพนิมิต
3. พระนั่ง ปางป่าเลไลก็ขัดชักเงาทองสีดอกบวบ หน้าตัก 36 ซม. สูง
ทั้งแท่น 65 ซม.
4. พระนั่งสมาธิเพชร หน้าตัก 58 ซม. สูง 70 ซม. ไม่มีแท่นขัดชักเงา
เนื้อทองสองสี องค์พระเป็นสีดอกบวบ จีวรเป็นสีนาค
5. พระนั่งสมาธิเพชร หน้าตัก 35 ซม. สูง 51 ซม. ขัดแต่ไม่ชักเงา ทอง
สีดาเป็นมันคล้ายสาริดหรือจะเป็นสาริดก็ไม่แน่แต่เนื้อทองละเอียด
เป็นมัน
พระพุทธรูปที่มีอยู่ในวัดพระเหลาเทพนิมิต
6. พระนั่งสะดุ้งมาร หน้าตัก 28 ซม. สูง 37 ซม เนื้อทองคล้ายองค์ที่ 5
7. พระนาคปรก หน้าตัก 38 ซม. สูง 50 ซม. ทาด้วยศิลา อย่างประณีต
งดงาม ลงรักปิดทอง
8. พระปารปรินิพพาน ยาว 67 ซม. ทาด้วยศิลาแนบเนียน ลงรักปิด
ทอง
ประเพณีบุญเดือนสาม
ประเพณีบุญเดือนสามถือเป็นประเพณีสาคัญของวัดพระเหลาเทพนิมิต
โดยถือกันว่าเป็นเทศกาลปิดทององค์พระเหลาเทพนิมิตซึ่งจะมี
พุทธศาสนิกชนทั่วทุกสารทิศหลั่งไหลกันมาบาเพ็ญบุญและแก้บนโดย
นาปราสาทผึ้ง
มาถวาย นาดอกไม้ธูป เทียนมาสักการะพระเหลานิมิต
ประเพณีบุญเดือนสาม
ขึ้น15ค่าเดือน3 จะมีการสมโภชพระประทาน
ขึ้น14ค่าเดือน3 จะมีการแสดงมหรศพต่างๆ
ขึ้น15ค่าเดือน3 เป็นการปิดทองพระเหลา
โดยชาวบ้านทุกบ้านก็จะทาขนมจีนเพื่อเลี้ยงสมาชิกในบ้านและ
คนที่มาร่วมงานวัดพระเหลาด้วย
ผลการดาเนินงาน
ผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ‚วัดพระเหลาเทพนิมิต ตานานพระ
พุทธชินราชแห่งอีสาน‛ นั้นคือ
1. ได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับวัดพระเหลาเทพนิมิตและองค์พระเหลาเทพ
นิมิต
2. ได้เข้าใจเกี่ยวกับประเพณีและการจัดงานในวันสาคัญของวัดพระเหลา
เทพนิมิต
โดยเราพบว่าวัดพระเหลาเทพนิมิตนั้นมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน
มากกว่าสามร้อยปีและมีประเพณีสาคัญคือประเพณีบุญเดือนสามของทุกปี
ซึ่งจะจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่และมีประชาชนทั่วไปให้ความสนใจเป็นอย่างมาก
และเข้าร่วมงานเทศกาลประจาปีนี้กันอย่างเนืองแน่น
สรุปผลการศึกษา
อภิปรายผล
1. ได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับวัดพระเหลาเทพนิมิตและองค์พระ
เหลาเทพนิมิต
2. ได้เข้าใจเกี่ยวกับประเพณีและการจัดงานในวันสาคัญของวัดพระ
เหลาเทพนิมิต
สรุปผลการศึกษา
ประโยชน์ของโครงงาน
1. คณะผู้จัดทาได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวัดพระ
เหลาเทพนิมิตและองค์พระเหลาเทพนิมิต
2. คณะผู้จัดทาได้เข้าใจเกี่ยวกับประเพณีและการจัดงานในวัน
สาคัญของวัดพระเหลาเทพนิมิต
3. สามารถเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้แก่บุคคลทั่วไปได้
4. บุคคลทั่วไปได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับประวัติของวัดพระเหลา
มากยิ่งขึ้น
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
1. บุคคลทั่วไปควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับวัดพระเหลาเทพนิมิตให้ดี
เสียก่อนจะนาไปเผยแพร่ต่อ
2. วัดพระเหลาเทพนิมิตเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธ์จึงควรแต่งกายด้วย
ชุดที่สุภาพขณะเข้าไปภายในวัด
ภาพกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า
ลงพื้นที่เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมลงพื้นที่เพื่อศึกษาจากป้ ายภายในวัด
ภาพกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า
ศึกษางานประเพณีบุญเดือนสาม ช่วยกันวางแผนที่จะทาแผงโครงงาน
ผู้จัดทา
1.นายยศพล มูลพันธ์ เลขที่14
2.นางสาวดวงพร นวลอินทร์ เลขที่ 22
3.นางสาวตรีรัตน์ สมน้อย เลขที่ 23
4.นางสาวอมลณัฐ ภาระราช เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2

More Related Content

What's hot (8)

Ana_web
Ana_webAna_web
Ana_web
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
สรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัยสรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัย
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
โครงงาน53
โครงงาน53โครงงาน53
โครงงาน53
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 

Similar to พระเหลาเทพนิมิตตำนานพระพุทธชินราชแห่งอีสาน

หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์Humanities Information Center
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]tualumnioff
 
มูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลมูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลmomocrd
 

Similar to พระเหลาเทพนิมิตตำนานพระพุทธชินราชแห่งอีสาน (9)

V 283
V 283V 283
V 283
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]ศิษย์เก่า Ok[1]
ศิษย์เก่า Ok[1]
 
มูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดลมูลนิธิอานันทมหิดล
มูลนิธิอานันทมหิดล
 

พระเหลาเทพนิมิตตำนานพระพุทธชินราชแห่งอีสาน