SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
MUSEUM
กับความหมายที่เคลื่อนไป
ส่วนหนึ่งจากบทความ จากโลกสู่เรา : การทบทวนแนวคิดพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
นรุตม์ โล้กูลประกิจ 5737434
กรอบความคิดในการทบทวนวรรณกรรม
Museum หรือ พิพิธภัณฑ์ ไม่ได้เป็นแค่สถานที่
แต่มีความหมายบรรจุอยู่ ทั้งด้วยความตั้งใจและไม่ตั้งใจจาก
ผู้สร้าง ความหมาย นี้คือส่วนสาคัญที่จะกาหนดมุมมองทั้ง
ของผู้สร้างและผู้ชม ในขณะเดียวกันความหมายมันก็ได้
เคลื่อนไปพร้อมๆกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมของมนุษย์
ซึ่งสะท้อนให้เราเห็นได้จาก “แนวคิด” เบื้องหลังพิพิธภัณฑ์ที่
เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลานั่นเอง
ในส่วนนี้จึงเป็นการทบทวนข้อมูลเพื่อศึกษาการ
เดินทางของ “ความหมาย” ที่เคลื่อนไปของ
พิพิธภัณฑ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยจะทาการ
ทบทวนทั้งการให้ความหมายของพิพิธภัณฑ์สากลและ
พิพิธภัณฑ์ไทยประกอบกัน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการทาความ
เข้าใจแนวคิดและบทบาททางสังคมของพิพิธภัณฑ์ไทยร่วม
สมัย รวมทั้งเป็นประโยชน์ในการเลือกใช้แนวคิดพิพิธภัณฑ์ที่
เหมาะสมในอนาคตได้
เคลื่อนไปอย่างไร?
ส่งผลอะไร?
อะไรทาให้ความหมายเคลื่อนไป?
การเคลื่อนไปของความหมายนี้
บอกอะไรเราได้บ้าง?
พ.ศ./ค.ศ. ผู้เขียน เรื่อง
2532/1989 จิรา จงกล ย้อนอดีตพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ”, ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทย
2534/1990 กรมศิลปากร ประวัติและความเป็นมาของกิจการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ”, ใน รายงานประจาปี 2534
กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
2535/1992 Geoffrey Lewis “Museums and their precursors: a brief world survey”, in
Manual of Curatorship: A guide to Museum Practice
2538/1995 Bennett, T The Birth of the Museum, History, Theory, Politics
2543/2000 วิเชียร วิไลแก้ว พัฒนาการของพิพิธภัณฑ์ไทย: กรณีศึกษาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์หลักสูตร
ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
2547/2004 ตรงใจ หุตางกูร ความหมายสากลของพิพิธภัณฑ์ และพัฒนาการของ "พิพิธภัณฑ์แห่งกรุงสยาม" ใน รายงานวิจัย
ฉบับสมบูรณ์: วิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสารวจสภาพ
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น.
2547/2004 Aaron Atsma “Greek Mythology: MOUSAI Goddesses of Music & Song &
Dance & Poetry”, Electronic Document,
[http://www.theoi.com/Kronos/Mousai.html]
2554/2011 Jannick Daniel Aquilina “The Babelian Tale of Museology and Museography: A History
in words” in International Scientific Electronic Journal, Issue 6
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
MUSEUM
• การสะสม - ถ่ายทอดความรู้
• หนังสือ ห้องสมุด
คน-ของ-คน = วัฒนธรรม คน-ของ-สังคม
• วัตถุแสดงถึงความแตกต่างในทาง
สังคม = อานาจ
• วัตถุวัฒนธรรมมีค่า = ความ
ยิ่งใหญ่
การสะสม
ปฏิเสธเวลา และ กักเก็บเวลา
ความรู้ และ อานาจ
วัฒนธรรมการสะสม
Tuthmois III
อี ยิ ป ต์ โ บ ร า ณ
(1504 - 1450
ก่อนคริสตกาล)
สะสมสิ่งมีชีวิตทั้ง
พืชและสัตว์ที่นา
กลับมาพร้อมกับ
กองทัพภายหลัง
การรบ
กษัตริย์ Nebuchadrezzer (605 - 562 ก่อนคริสตกาล)
แห่งจักรวรรดิ์บาบิโลเนียน ผู้สะสมโบราณวัตถุ และขุดค้น บูรณะ
บางส่วนของนครอูร์ (Ur)
ศิษย์ของอริสโตเติล Demetrins of
Phaleron เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการสร้าง
พิพิธภัณฑสถานที่เมืองอเล็กซานเดรีย ซึ่งสร้างขึ้น
โดยการสนับสนุนของ Ptolemy Sotor และ
กลายเป็นพิพิธภัณฑสถานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดใน
เวลานั้น สิ่งสะสมของพิพิธภัณฑ์อเล็กซานเดรีย
เกี่ยวข้องกับธรรมชาติวิทยา ทั้งพืชและสัตว์ อย่างไร
ก็ดี วัตถุเหล่านั้นยังคงเป็นวัตถุสาหรับการศึกษาทาง
วิชาการของสถาบันมากกว่าเป็นการจัดแสดงเพื่อให้
สาธารณชนทั่วไปเข้ าไปหาความรู้ อย่าง
พิพิธภัณฑสถานในปัจจุบัน
กรีกโบราณ
วัตถุ = พยานสาคัญของสังคมวัฒนธรรมในอดีต = ความรู้
กาเนิด MUSEUM
ในบันทึก Theogony ของเฮเซียด (Hesiod) เก่าประมาณ 2,700 กว่าปีก่อน (Greek epic C7-8th B.C.) ปริวรรตเป็นภาษาอังกฤษโดย
Evelyn White กล่าวถึงกาเนิดของเทพีแห่งศิลปศาสตร์ทั้งปวงไว้ว่า "And again, he [Zeus, after lying with Demeter] loved
Mnemosyne with the beautiful hair: and of her the nine gold-crowned Moisai (Muses) were born." (Hesiod,
Theogony 915 ff)
หลังจากเทพีนีโมซีเน่ (Mnemosyne) ได้ร่วมบทอัศจรรย์ (9 คืน) กับเทพซุส (Zeus) แล้ว ก็ได้ให้กาเนิดเทพธิดาขึ้นมา 9 องค์ เรียกว่า เหล่าเทพธิดามิวส์
(Mousai หรือ Muses) เป็นตัวแทนแห่งศิลปวิทยาการ 9 ประการ คือ ประวัติศาสตร์-Clio, ดาราศาสตร์-Urania, มหากาพย์-Calliope, กวี-Erato, ดนตรี-
Euterpe, เพลงสดุดีปวงเทพ-Polyhymnia, นาฏศิลป์ -Terpsichore, ละครโศก-Melpomene, และละครตลก-Thalia โดยเทพธิดาทั้งเก้าสถิตย์อยู่ที่
วิหารแห่งมิวส์ (Temple of the Muses) ซึ่งนัยความหมายของวิหารแห่งมิวส์นี้เองต่อมาได้กลายเป็นต้นเค้าของคาว่า "Museum" ที่เรารู้จักกันในปัจจุบัน
การเคลื่อนไหวของพิพิธภัณฑ์ยุคแรก
กรีก-โรมัน
สถานที่สถิตของความรู้
C15 Renaissance
สถานที่เก็บของมีค่า (ความรู้)
C18 Industrial
Revolution
สถานที่เก็บ+โชว์ของเกี่ยวกับ
ธรรมชาติ และ ประวัติศาสตร์
C19 Nationalism
สถานที่แสดงความรุ่งเรือง
ของชาติ
กลาง C20
สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่าชาติ หรือ ICOM ได้ให้คานิยามไว้ในเป็นครั้งแรก
ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) ว่า
“คาว่า มิวเซียม มีความหมายรวมไปถึงงานเก็บสะสมทุกประเภทที่เปิด
บริการแก่สาธารณะ ซึ่งได้แก่วัตถุทางศิลปะ งานช่าง วิทยาศาสตร์
ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี รวมไปถึงสวนสัตว์ และสวนพฤกษศาสตร์
แต่ไม่รวมถึงห้องสมุด ยกเว้นเสียแต่ว่าห้องสมุดเหล่านั้น จะมีส่วนจัดแสดง
ถาวรอยู่ในความดูแล” (แดนบีช แบรดเลย์, 2514:450)
CLASSIC
Temple of Muses
MODERN
“มิวเซียม” เป็นคายืมมาจากภาษาละติน ว่า “มูเซอุม”[4] มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
โบราณว่า “มูเซออน” (Mouseion) ซึ่งหมายถึง“สถานที่สิงสถิตของหมู่เทพธิดามูซา” คณะเทวีนี้มีอยู่
ด้วยกัน 9 องค์[5] ทั้งหมดล้วนเป็นพระธิดาของเทพเจ้าเซอุส ราชาแห่งเทพทั้งมวล กับเทวีเนโมซีเน เทวีแห่ง
ความทรงจา กล่าวกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นตัวแทนของดนตรี บทเพลง และ นาฏศิลป์ โดยมีอานาจดลใจให้
กวีสามารถแต่งกวีนิพนธ์ได้ ด้วยเหตุนี้จึงถือกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นผู้อุปถัมภ์เหล่านักปราชญ์และกวีให้
สามารถแต่งตาราและบทประพันธ์ต่าง ๆ ขึ้นมาได้ และเป็นเหล่าเทพแห่งสรรพวิชาด้วยเช่นกัน
เข้าสู่สยาม
ICOM กับความหมายพิพิธภัณฑ์ในยุคเปลี่ยนผ่าน
พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946)
สถานที่เก็บ Collection ที่เปิด
บริการสาธารณะ
พ.ศ.2499 (ค.ศ.1956)
+สถานที่อนุรักษ์วัตถุและส่งเสริม
การศึกษา
พ.ศ.2504 (ค.ศ.1961)
+อนุสรณ์สถาน อนุสาวรีย์
โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี และ
สถานที่ตามธรรมชาติ เช่น อุทยาน
หรือ วนอุทยาน
พ.ศ.2517 (ค.ศ.1974)
+NPO กาหนดหน้าที่ 5 ประการ
พ.ศ.2532 (ค.ศ.1989)
สถานที่ให้ความรู้ –ความบันเทิงที่
เป็น NPO = Museum
พ.ศ.2538 (ค.ศ.1995)
+จัดงาน/สอนเกี่ยวกับ
Museology = Museum
พ.ศ.2544 (ค.ศ.2001)
ศูนย์วัฒนธรรม หรือ นิติบุคคลใด
ที่ทาหน้าที่อนุรักษ์ สืบสาน และ
บริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรม
= Museum
พ.ศ.2550 (ค.ศ.2007)
สร้างกรอบทลายกรอบ
A museum is a non-profit, permanent
institution in the service of society and
its development, open to the public,
which acquires, conserves, researches,
communicates and exhibits the tangible
and intangible heritage of humanity and
its environment for the purposes of
education, study and enjoyment.
MODERN
CONTEMPORARY
New Museology
MODERN
POST
MUSEUM สากลกับความหมายที่เคลื่อนไป
2517/1974 พิพิธภัณฑ์กับองค์ประการ 5 ประการ
2532/1989 NEW Museology: Museum without Wall (Postmodern)
ร่วมสมัย : Post Museum
Museum = พื้นที่ของประสบการณ์และการขับเคลื่อนสังคม
พิพิธภัณฑ์
รวบรวม
สงวน
รักษา
ค้นคว้า
เผยแพร่
ความรู้
จัด
แสดง
5 องค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์ยุคเก่า
ยุคโบราณ
•สถานที่สถิตแห่งความรู้ : “หอสรรพวิชาแห่งเมืองอเล็กซานเดรีย”
(Museum of Alexandria)
C15
•สถานที่แสดงและเก็บสะสมวัตถุวัฒนธรรม (รูปแบบหนึ่งของความรู้)
C19
•สถานที่แสดงความหมายของความเป็นชาติอารยะ-รัฐชาติสมัยใหม่
C20
•กลับมาเป็น สถานที่สถิตแห่งความรู้อีกครั้ง
Museum with Wall
Museum without Wall
นัยความหมายที่เปลี่ยนไปของแนวคิดพิพิธภัณฑ์สากล
รูปธรรม
นามธรรม
CLASSIC
MODERN
เข้าสู่สยาม
จาก MUSEUM สู่พิพิธภัณฑสถาน : 150 ปี พิพิธภัณฑ์ไทย
กรีก-โรมัน
สถานที่สถิตของความรู้
C15 Renaissance
สถานที่เก็บของมีค่า (ความรู้)
C18 Industrial
Revolution
สถานที่เก็บ+โชว์ของเกี่ยวกับ
ธรรมชาติ และ ประวัติศาสตร์
C19 Nationalism
สถานที่แสดงความรุ่งเรือง
ของชาติ
กลาง C20
สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่าชาติ หรือ ICOM ได้ให้คานิยามไว้ในเป็นครั้งแรก
ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) ว่า
“คาว่า มิวเซียม มีความหมายรวมไปถึงงานเก็บสะสมทุกประเภทที่เปิด
บริการแก่สาธารณะ ซึ่งได้แก่วัตถุทางศิลปะ งานช่าง วิทยาศาสตร์
ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี รวมไปถึงสวนสัตว์ และสวนพฤกษศาสตร์
แต่ไม่รวมถึงห้องสมุด ยกเว้นเสียแต่ว่าห้องสมุดเหล่านั้น จะมีส่วนจัดแสดง
ถาวรอยู่ในความดูแล” (แดนบีช แบรดเลย์, 2514:450)
พัฒนาการพิพิธภัณฑ์ไทย
ร.1 ราวช่วง พ.ศ. 2337 – 2400
รุ่น 1 วัดโพธิ์
ร.4 ราว พ.ศ. 23?? – 2400
รุ่น2 พระที่นั่งราชฤดี
ร.4 พ.ศ.2400 – 2417
รุ่น 3 พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์
ร. 5 พ.ศ. 2417 – 2430
รุ่น 4 หอมิวเซียม
ร. 5 พ.ศ. 2430 – 2469
รุ่น 5 มิวเซียมหลวงที่วังหน้า
เกิดกรมพิพิธภัณฑ์
ร.7 พ.ศ. 2469 – 2477
รุ่น 6 พิพิธภัณฑสถานสาหรับพระ
นคร
พ.ศ. 2477 – ปัจจุบัน
รุ่น 7 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ทศวรรษที่ 2530 เป็นต้นมา
รุ่น 8 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
รุ่น 9 พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้
(มิวเซียมสยาม)
M
O
D
E
R
N
CONTEMPORARY
ตรงใจ หุตางกูร, 2547
ยุ
ค
โ
บ
ร
า
ณ
ยุคบุกเบิก
พิพิธภัณฑ์ไทยกับความหมายที่เคลื่อนไป
New Museology : ทาให้เกิดพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น/เฉพาะทาง/เฉพาะที่
Postmuseum : ขยายขอบเขตความหมายของพิพิธภัณฑ์ออกไปไกลกว่า
มิติของสถานที่ แต่เป็น “พื้นที่ของการเรียนรู้”
Universal
Museum
Localized
Museum
ยุคโบราณ
• แรกเข้ามา ทาโดยสถาบันกษัตริย์ จึงมีนัยยะที่เป็นไปในนามของชาติ
ยุคบุกเบิก
• ความหมายของพิพิธภัณฑ์ไทยแต่แรกคือ สถานที่แสดงความยิ่งใหญ่และร่ารวยทางประวัติศาสตร์
และอารยธรรม (ตั้งแต่ราวช่วงปีพ.ศ.2400 - พ.ศ.2500)
ยุคใหม่
• การเกิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (พ.ศ.2477) ตั้งอยู่บนแนวคิดในการทาให้เป็นสถานที่เรียนรู้
แต่เนื้อหาส่วนใหญ่ก็ยังคงเกี่ยวกับการเรียนรู้ในความยิ่งใหญ่และร่ารวยทางประวัติศาสตร์และอารย
ธรรมของชาติไทย
ร่วมสมัย
• ภายใต้บริบทของสังคมที่กาลังก้าวเข้าสู่ยุคหลังสมัยใหม่(Postmodern) แนวคิดพิพิธภัณฑ์
สากลได้ส่งอิทธิพลมายังพิพิธภัณฑ์ในบ้านเรา ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงความหมายของ
พิพิธภัณฑ์ออกไปใน 2 ลักษณะ
Universal
Museum
Localized
Museum
New &
Post
Museum
พื้นที่พิเศษ
สถานที่ท่องเที่ยวที่พักผ่อน
แหล่งเรียนรู้
เครื่องมือสื่อสารวัฒนธรรม
พื้นที่ต่อรองอานาจ
เครื่องมือชาตินิยม
เครื่องแสดงอัตลักษณ์
ศูนย์รวมของชุมชน
สถาบันที่ช่วยขับเคลื่อนสังคม
social enterprise
cultural Industry
Soft power
ธุรกิจวัฒนธรรม
วัฒนธรรมประดิษฐ์
วัฒนธรรมปกติ
MUSEUM
marketing
ที่เก็บของมีค่า
ที่จัดแสดงงานศิลปะ
สถาบันวิจัย
NPO
ห้องรับแขก
พิพิธภัณฑ์ไทย : บทบาทที่แปรเปลี่ยน
กับความหมายที่เปลี่ยนไป
พิพิธภัณฑ์รับใช้ชาติ
พิพิธภัณฑ์รับใช้ชุมชน
พิพิธภัณฑ์รับใช้มรดกวัฒนธรรม
พิพิธภัณฑ์รับใช้คน
พิพิธภัณฑ์กับสังคม
พิพิธภัณฑ์กับมนุษย์
พิพิธภัณฑ์กับสิ่งของ (วัฒนธรรม)
บริบทที่เปลี่ยนไป ทำให้ควำมหมำยเปลี่ยนแปลง
สรุป
• พิพิธภัณฑ์มีความหมายและบทบาทแปรเปลี่ยนไปตามบริบททางสังคม
วัฒนธรรมของมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา
• ในอนาคต ความหมายพิพิธภัณฑ์จะยิ่งเปิดกว้างมากขึ้น ทุกคนสามารถทา
ให้ทุกพื้นที่กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ได้ ในขณะเดียวกันบทบาทหน้าที่อื่นๆก็คง
จะหลากหลายมากขึ้นไปตามความหลากหลายซับซ้อนของสังคม
• พิพิธภัณฑ์บ้านเราเองก็หมุนไปตามสังคมและโลก แต่เพราะเหตุใดจึงยังไม่
ประสบความสาเร็จในวงกว้าง?
ผู้คนยังคงติดภาพพิพิธภัณฑ์แบบเก่า (Universal Museum) มีช่องว่างและ
กาแพงของเนื้อหากั้นอยู่
สรุป
What Now, Museum should be?
&
What Next, Museum could be?

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

Musum กับความหมายที่เคลื่อนไป

  • 1. MUSEUM กับความหมายที่เคลื่อนไป ส่วนหนึ่งจากบทความ จากโลกสู่เรา : การทบทวนแนวคิดพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย นรุตม์ โล้กูลประกิจ 5737434
  • 2. กรอบความคิดในการทบทวนวรรณกรรม Museum หรือ พิพิธภัณฑ์ ไม่ได้เป็นแค่สถานที่ แต่มีความหมายบรรจุอยู่ ทั้งด้วยความตั้งใจและไม่ตั้งใจจาก ผู้สร้าง ความหมาย นี้คือส่วนสาคัญที่จะกาหนดมุมมองทั้ง ของผู้สร้างและผู้ชม ในขณะเดียวกันความหมายมันก็ได้ เคลื่อนไปพร้อมๆกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมของมนุษย์ ซึ่งสะท้อนให้เราเห็นได้จาก “แนวคิด” เบื้องหลังพิพิธภัณฑ์ที่ เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลานั่นเอง ในส่วนนี้จึงเป็นการทบทวนข้อมูลเพื่อศึกษาการ เดินทางของ “ความหมาย” ที่เคลื่อนไปของ พิพิธภัณฑ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยจะทาการ ทบทวนทั้งการให้ความหมายของพิพิธภัณฑ์สากลและ พิพิธภัณฑ์ไทยประกอบกัน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการทาความ เข้าใจแนวคิดและบทบาททางสังคมของพิพิธภัณฑ์ไทยร่วม สมัย รวมทั้งเป็นประโยชน์ในการเลือกใช้แนวคิดพิพิธภัณฑ์ที่ เหมาะสมในอนาคตได้ เคลื่อนไปอย่างไร? ส่งผลอะไร? อะไรทาให้ความหมายเคลื่อนไป? การเคลื่อนไปของความหมายนี้ บอกอะไรเราได้บ้าง?
  • 3. พ.ศ./ค.ศ. ผู้เขียน เรื่อง 2532/1989 จิรา จงกล ย้อนอดีตพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ”, ใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทย 2534/1990 กรมศิลปากร ประวัติและความเป็นมาของกิจการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ”, ใน รายงานประจาปี 2534 กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 2535/1992 Geoffrey Lewis “Museums and their precursors: a brief world survey”, in Manual of Curatorship: A guide to Museum Practice 2538/1995 Bennett, T The Birth of the Museum, History, Theory, Politics 2543/2000 วิเชียร วิไลแก้ว พัฒนาการของพิพิธภัณฑ์ไทย: กรณีศึกษาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์หลักสูตร ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2547/2004 ตรงใจ หุตางกูร ความหมายสากลของพิพิธภัณฑ์ และพัฒนาการของ "พิพิธภัณฑ์แห่งกรุงสยาม" ใน รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์: วิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ระยะที่ 1 สร้างเครือข่ายและสารวจสภาพ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น. 2547/2004 Aaron Atsma “Greek Mythology: MOUSAI Goddesses of Music & Song & Dance & Poetry”, Electronic Document, [http://www.theoi.com/Kronos/Mousai.html] 2554/2011 Jannick Daniel Aquilina “The Babelian Tale of Museology and Museography: A History in words” in International Scientific Electronic Journal, Issue 6 แหล่งข้อมูลอ้างอิง
  • 5. • การสะสม - ถ่ายทอดความรู้ • หนังสือ ห้องสมุด คน-ของ-คน = วัฒนธรรม คน-ของ-สังคม • วัตถุแสดงถึงความแตกต่างในทาง สังคม = อานาจ • วัตถุวัฒนธรรมมีค่า = ความ ยิ่งใหญ่ การสะสม ปฏิเสธเวลา และ กักเก็บเวลา ความรู้ และ อานาจ วัฒนธรรมการสะสม
  • 6. Tuthmois III อี ยิ ป ต์ โ บ ร า ณ (1504 - 1450 ก่อนคริสตกาล) สะสมสิ่งมีชีวิตทั้ง พืชและสัตว์ที่นา กลับมาพร้อมกับ กองทัพภายหลัง การรบ
  • 7. กษัตริย์ Nebuchadrezzer (605 - 562 ก่อนคริสตกาล) แห่งจักรวรรดิ์บาบิโลเนียน ผู้สะสมโบราณวัตถุ และขุดค้น บูรณะ บางส่วนของนครอูร์ (Ur)
  • 8. ศิษย์ของอริสโตเติล Demetrins of Phaleron เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการสร้าง พิพิธภัณฑสถานที่เมืองอเล็กซานเดรีย ซึ่งสร้างขึ้น โดยการสนับสนุนของ Ptolemy Sotor และ กลายเป็นพิพิธภัณฑสถานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดใน เวลานั้น สิ่งสะสมของพิพิธภัณฑ์อเล็กซานเดรีย เกี่ยวข้องกับธรรมชาติวิทยา ทั้งพืชและสัตว์ อย่างไร ก็ดี วัตถุเหล่านั้นยังคงเป็นวัตถุสาหรับการศึกษาทาง วิชาการของสถาบันมากกว่าเป็นการจัดแสดงเพื่อให้ สาธารณชนทั่วไปเข้ าไปหาความรู้ อย่าง พิพิธภัณฑสถานในปัจจุบัน กรีกโบราณ วัตถุ = พยานสาคัญของสังคมวัฒนธรรมในอดีต = ความรู้
  • 9. กาเนิด MUSEUM ในบันทึก Theogony ของเฮเซียด (Hesiod) เก่าประมาณ 2,700 กว่าปีก่อน (Greek epic C7-8th B.C.) ปริวรรตเป็นภาษาอังกฤษโดย Evelyn White กล่าวถึงกาเนิดของเทพีแห่งศิลปศาสตร์ทั้งปวงไว้ว่า "And again, he [Zeus, after lying with Demeter] loved Mnemosyne with the beautiful hair: and of her the nine gold-crowned Moisai (Muses) were born." (Hesiod, Theogony 915 ff) หลังจากเทพีนีโมซีเน่ (Mnemosyne) ได้ร่วมบทอัศจรรย์ (9 คืน) กับเทพซุส (Zeus) แล้ว ก็ได้ให้กาเนิดเทพธิดาขึ้นมา 9 องค์ เรียกว่า เหล่าเทพธิดามิวส์ (Mousai หรือ Muses) เป็นตัวแทนแห่งศิลปวิทยาการ 9 ประการ คือ ประวัติศาสตร์-Clio, ดาราศาสตร์-Urania, มหากาพย์-Calliope, กวี-Erato, ดนตรี- Euterpe, เพลงสดุดีปวงเทพ-Polyhymnia, นาฏศิลป์ -Terpsichore, ละครโศก-Melpomene, และละครตลก-Thalia โดยเทพธิดาทั้งเก้าสถิตย์อยู่ที่ วิหารแห่งมิวส์ (Temple of the Muses) ซึ่งนัยความหมายของวิหารแห่งมิวส์นี้เองต่อมาได้กลายเป็นต้นเค้าของคาว่า "Museum" ที่เรารู้จักกันในปัจจุบัน
  • 10. การเคลื่อนไหวของพิพิธภัณฑ์ยุคแรก กรีก-โรมัน สถานที่สถิตของความรู้ C15 Renaissance สถานที่เก็บของมีค่า (ความรู้) C18 Industrial Revolution สถานที่เก็บ+โชว์ของเกี่ยวกับ ธรรมชาติ และ ประวัติศาสตร์ C19 Nationalism สถานที่แสดงความรุ่งเรือง ของชาติ กลาง C20 สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่าชาติ หรือ ICOM ได้ให้คานิยามไว้ในเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) ว่า “คาว่า มิวเซียม มีความหมายรวมไปถึงงานเก็บสะสมทุกประเภทที่เปิด บริการแก่สาธารณะ ซึ่งได้แก่วัตถุทางศิลปะ งานช่าง วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี รวมไปถึงสวนสัตว์ และสวนพฤกษศาสตร์ แต่ไม่รวมถึงห้องสมุด ยกเว้นเสียแต่ว่าห้องสมุดเหล่านั้น จะมีส่วนจัดแสดง ถาวรอยู่ในความดูแล” (แดนบีช แบรดเลย์, 2514:450) CLASSIC Temple of Muses MODERN “มิวเซียม” เป็นคายืมมาจากภาษาละติน ว่า “มูเซอุม”[4] มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก โบราณว่า “มูเซออน” (Mouseion) ซึ่งหมายถึง“สถานที่สิงสถิตของหมู่เทพธิดามูซา” คณะเทวีนี้มีอยู่ ด้วยกัน 9 องค์[5] ทั้งหมดล้วนเป็นพระธิดาของเทพเจ้าเซอุส ราชาแห่งเทพทั้งมวล กับเทวีเนโมซีเน เทวีแห่ง ความทรงจา กล่าวกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นตัวแทนของดนตรี บทเพลง และ นาฏศิลป์ โดยมีอานาจดลใจให้ กวีสามารถแต่งกวีนิพนธ์ได้ ด้วยเหตุนี้จึงถือกันว่าหมู่เทพธิดามูซาเป็นผู้อุปถัมภ์เหล่านักปราชญ์และกวีให้ สามารถแต่งตาราและบทประพันธ์ต่าง ๆ ขึ้นมาได้ และเป็นเหล่าเทพแห่งสรรพวิชาด้วยเช่นกัน เข้าสู่สยาม
  • 11. ICOM กับความหมายพิพิธภัณฑ์ในยุคเปลี่ยนผ่าน พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) สถานที่เก็บ Collection ที่เปิด บริการสาธารณะ พ.ศ.2499 (ค.ศ.1956) +สถานที่อนุรักษ์วัตถุและส่งเสริม การศึกษา พ.ศ.2504 (ค.ศ.1961) +อนุสรณ์สถาน อนุสาวรีย์ โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี และ สถานที่ตามธรรมชาติ เช่น อุทยาน หรือ วนอุทยาน พ.ศ.2517 (ค.ศ.1974) +NPO กาหนดหน้าที่ 5 ประการ พ.ศ.2532 (ค.ศ.1989) สถานที่ให้ความรู้ –ความบันเทิงที่ เป็น NPO = Museum พ.ศ.2538 (ค.ศ.1995) +จัดงาน/สอนเกี่ยวกับ Museology = Museum พ.ศ.2544 (ค.ศ.2001) ศูนย์วัฒนธรรม หรือ นิติบุคคลใด ที่ทาหน้าที่อนุรักษ์ สืบสาน และ บริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรม = Museum พ.ศ.2550 (ค.ศ.2007) สร้างกรอบทลายกรอบ A museum is a non-profit, permanent institution in the service of society and its development, open to the public, which acquires, conserves, researches, communicates and exhibits the tangible and intangible heritage of humanity and its environment for the purposes of education, study and enjoyment. MODERN CONTEMPORARY New Museology MODERN POST
  • 12. MUSEUM สากลกับความหมายที่เคลื่อนไป 2517/1974 พิพิธภัณฑ์กับองค์ประการ 5 ประการ 2532/1989 NEW Museology: Museum without Wall (Postmodern) ร่วมสมัย : Post Museum Museum = พื้นที่ของประสบการณ์และการขับเคลื่อนสังคม พิพิธภัณฑ์ รวบรวม สงวน รักษา ค้นคว้า เผยแพร่ ความรู้ จัด แสดง 5 องค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์ยุคเก่า ยุคโบราณ •สถานที่สถิตแห่งความรู้ : “หอสรรพวิชาแห่งเมืองอเล็กซานเดรีย” (Museum of Alexandria) C15 •สถานที่แสดงและเก็บสะสมวัตถุวัฒนธรรม (รูปแบบหนึ่งของความรู้) C19 •สถานที่แสดงความหมายของความเป็นชาติอารยะ-รัฐชาติสมัยใหม่ C20 •กลับมาเป็น สถานที่สถิตแห่งความรู้อีกครั้ง Museum with Wall Museum without Wall
  • 14. CLASSIC MODERN เข้าสู่สยาม จาก MUSEUM สู่พิพิธภัณฑสถาน : 150 ปี พิพิธภัณฑ์ไทย กรีก-โรมัน สถานที่สถิตของความรู้ C15 Renaissance สถานที่เก็บของมีค่า (ความรู้) C18 Industrial Revolution สถานที่เก็บ+โชว์ของเกี่ยวกับ ธรรมชาติ และ ประวัติศาสตร์ C19 Nationalism สถานที่แสดงความรุ่งเรือง ของชาติ กลาง C20 สภาการพิพิธภัณฑ์ระหว่าชาติ หรือ ICOM ได้ให้คานิยามไว้ในเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) ว่า “คาว่า มิวเซียม มีความหมายรวมไปถึงงานเก็บสะสมทุกประเภทที่เปิด บริการแก่สาธารณะ ซึ่งได้แก่วัตถุทางศิลปะ งานช่าง วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี รวมไปถึงสวนสัตว์ และสวนพฤกษศาสตร์ แต่ไม่รวมถึงห้องสมุด ยกเว้นเสียแต่ว่าห้องสมุดเหล่านั้น จะมีส่วนจัดแสดง ถาวรอยู่ในความดูแล” (แดนบีช แบรดเลย์, 2514:450)
  • 15. พัฒนาการพิพิธภัณฑ์ไทย ร.1 ราวช่วง พ.ศ. 2337 – 2400 รุ่น 1 วัดโพธิ์ ร.4 ราว พ.ศ. 23?? – 2400 รุ่น2 พระที่นั่งราชฤดี ร.4 พ.ศ.2400 – 2417 รุ่น 3 พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ ร. 5 พ.ศ. 2417 – 2430 รุ่น 4 หอมิวเซียม ร. 5 พ.ศ. 2430 – 2469 รุ่น 5 มิวเซียมหลวงที่วังหน้า เกิดกรมพิพิธภัณฑ์ ร.7 พ.ศ. 2469 – 2477 รุ่น 6 พิพิธภัณฑสถานสาหรับพระ นคร พ.ศ. 2477 – ปัจจุบัน รุ่น 7 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ทศวรรษที่ 2530 เป็นต้นมา รุ่น 8 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น รุ่น 9 พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ (มิวเซียมสยาม) M O D E R N CONTEMPORARY ตรงใจ หุตางกูร, 2547 ยุ ค โ บ ร า ณ ยุคบุกเบิก
  • 16. พิพิธภัณฑ์ไทยกับความหมายที่เคลื่อนไป New Museology : ทาให้เกิดพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น/เฉพาะทาง/เฉพาะที่ Postmuseum : ขยายขอบเขตความหมายของพิพิธภัณฑ์ออกไปไกลกว่า มิติของสถานที่ แต่เป็น “พื้นที่ของการเรียนรู้” Universal Museum Localized Museum ยุคโบราณ • แรกเข้ามา ทาโดยสถาบันกษัตริย์ จึงมีนัยยะที่เป็นไปในนามของชาติ ยุคบุกเบิก • ความหมายของพิพิธภัณฑ์ไทยแต่แรกคือ สถานที่แสดงความยิ่งใหญ่และร่ารวยทางประวัติศาสตร์ และอารยธรรม (ตั้งแต่ราวช่วงปีพ.ศ.2400 - พ.ศ.2500) ยุคใหม่ • การเกิดของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (พ.ศ.2477) ตั้งอยู่บนแนวคิดในการทาให้เป็นสถานที่เรียนรู้ แต่เนื้อหาส่วนใหญ่ก็ยังคงเกี่ยวกับการเรียนรู้ในความยิ่งใหญ่และร่ารวยทางประวัติศาสตร์และอารย ธรรมของชาติไทย ร่วมสมัย • ภายใต้บริบทของสังคมที่กาลังก้าวเข้าสู่ยุคหลังสมัยใหม่(Postmodern) แนวคิดพิพิธภัณฑ์ สากลได้ส่งอิทธิพลมายังพิพิธภัณฑ์ในบ้านเรา ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงความหมายของ พิพิธภัณฑ์ออกไปใน 2 ลักษณะ
  • 18. พื้นที่พิเศษ สถานที่ท่องเที่ยวที่พักผ่อน แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือสื่อสารวัฒนธรรม พื้นที่ต่อรองอานาจ เครื่องมือชาตินิยม เครื่องแสดงอัตลักษณ์ ศูนย์รวมของชุมชน สถาบันที่ช่วยขับเคลื่อนสังคม social enterprise cultural Industry Soft power ธุรกิจวัฒนธรรม วัฒนธรรมประดิษฐ์ วัฒนธรรมปกติ MUSEUM marketing ที่เก็บของมีค่า ที่จัดแสดงงานศิลปะ สถาบันวิจัย NPO ห้องรับแขก
  • 20. • พิพิธภัณฑ์มีความหมายและบทบาทแปรเปลี่ยนไปตามบริบททางสังคม วัฒนธรรมของมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา • ในอนาคต ความหมายพิพิธภัณฑ์จะยิ่งเปิดกว้างมากขึ้น ทุกคนสามารถทา ให้ทุกพื้นที่กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ได้ ในขณะเดียวกันบทบาทหน้าที่อื่นๆก็คง จะหลากหลายมากขึ้นไปตามความหลากหลายซับซ้อนของสังคม • พิพิธภัณฑ์บ้านเราเองก็หมุนไปตามสังคมและโลก แต่เพราะเหตุใดจึงยังไม่ ประสบความสาเร็จในวงกว้าง? ผู้คนยังคงติดภาพพิพิธภัณฑ์แบบเก่า (Universal Museum) มีช่องว่างและ กาแพงของเนื้อหากั้นอยู่ สรุป
  • 21. What Now, Museum should be? & What Next, Museum could be?