SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
คลังความรู้ในโลกดิจิทัล :
ความท้าทายและความยั่งยืน
ผศ. นฤตย์ นิ่มสมบุญ
WHAT ARE ELECTRONIC KNOWLEDGE REPOSITORIES ?
คลังความรู้อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Knowledge Repositories) หมายถึง แหล่ง
อิเล็กทรอนิกส์ที่องค์กรต่างๆ ตัดสินใจว่าจะใช้ในการเก็บรักษาความรู้ของตน (Liebowitz &
Beckman, 1998). คลังความรู้เหล่านี้มีเป็นแหล่งที่มีประโยชน์สาหรับการนาความรู้กลับมาใช้
( Knowledge Reuse -KRU)เพื่อที่องค์กรจะสามารถนาความรู้ความเชี่ยวชาญที่รวบรวมหรือ
ประมวลไว้มาใช้ได้ในเวลาที่จาเป็น และช่วยบรรเทาปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องหาวิธี
แก้ปัญหาใหม่ (Akgun et al., 2005).
PETER PANHA CHHIM (https://core.ac.uk/download/pdf/56688147.pdf)
หน้าที่ของ คลังความรู้
คลังความรู้ได้รับการออกแบบเพื่อที่จะ จับ ( capture) เก็บรักษา ( store) และเผยแพร่ (dissemination) ความรู้ที่เกี่ยวข้องไปทั่ว
ทั้งองค์กร (Fadel and Durcikova, 2014) และบ่อยครั้งก็ใช้เพื่อเผยแพร่ แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ไปยังผู้ทางานใน
องค์กรนั้นๆ (Hsiao et al., 2006) ความรู้ได้รับการจัดหมวดหมู่ และเก็บรักษาไว้ในคลัง ภายใต้สมมติฐานที่ว่า มันจะเป็นประโยชน์
ต่อสมาชิกในองค์กร ซึ่งจากมุมมองนี้ ความรู้จึงได้รับการพิจารณาว่าเป็น วัตถุ (Nonaka and Takeuchi, 1995; Hislop, 2002) ที่
จะถ่ายโอนจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งด้วยการจัดสรรหรือดาเนินการที่น้อยไม่ยุ่งยาก และบทบาทของเทคโนโลยีก็จะเกี่ยวข้องกับ วิธีการจัด
หมวดหมู่หรือประมวล การทาให้เป็นตัวแทน (represent) (หมายถึงการจัดระบบความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น List, Ontology หรือ
Scheme, etc.) และ การเปลี่ยนแปลง (conversion) ความรู้เพื่อนาไปใช้งาน (Hsiao et al., 2006: 1291)
*** แนะนาเพิ่มเติม Knowledge conversion
(https://www.tlu.ee/~sirvir/IKM/Theoretical_models_of_Information_and_Knowledge_Management/the_nonaka_and_takeuchi_knowledge_spiral_model_page_2.htm
Knowledge representation
https://worayoot.files.wordpress.com/2013/11/02-knowledge-representation.pdf
หน้าที่ของ คลังความรู้ ( CONT…)
• เนื่องจากคลังความรู้ได้ถูกคาดหวังให้ใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร (Gray, 2001) ซึ่งหมายถึง
ว่า การเพิ่มผลผลิต การปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว และการสร้างนวัตกรรมขององค์กร จะเกิดได้ โดยการ
แบ่งปัน เผยแพร่ความรู้ บูรณาการและการนาความรู้มาใช้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ของกลุ่มผู้
ทางานในองค์กร (Bansler and Havn, 2004; Voelpel et al., 2005)
• From : Taskin, Laurent and Gabriel Van Bunnen. Knowledge management through the development of knowledge repositories:
towards work degradation New Technology, Work and Employment 30:2 , 2015 ( p.158)
CRITICAL SUCCESS FACTORS OF KNOWLEDGE REPOSITORY
IMPLEMENTATION
• Content Coverage
• Technological
Function
• Promotion
https://www.econstor.eu/handle/10419/219399
KNOWLEDGE REPOSITORY IMPLEMENTATION
Content Coverage
o เนื้อหาของความรู้ควรมีการจัดโครงสร้างหรือแบ่งหมวดหมู่ และเรียบเรียงให้เข้าถึงได้ง่าย
oเนื้อหาควรมีความสมบูรณ์ เชื่อถือได้ และสามารถบูรณาการ เพื่อจะทาให้มั่นใจได้ว่า จะมีการค้นคืนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเมื่อใดก็ตามเมื่อต้องการ
oผู้ใช้ควรรับรู้ได้ว่า คลังความรู้จะปรับปรุงการทางานของเขาได้อย่างมีนัยสาคัญ และเขาต้องใช้มัน
oความน่าเชื่อถือของเนื้อหา เป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้การสร้างคลังความรู้ประสบความสาเร็จ
ประเด็นที่ควรพิจารณาเพื่อให้การให้บริการสาเร็จ เช่น ประเด็นเรื่อง นโยบายการพัฒนาเนื้อหา การจัดการเรื่องลิขสิทธิ์ และการ
เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมและควรมีการจัดทามาตรฐานหรือแนวทางที่สามารถปฎิบัติตามได้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นเนื้อหา
สาหรับวัตถุประสงค์ต่างๆได้ และควรมีเอกสารในรูปแบบต่างๆให้หลากหลายรูปแบบ ทั้งที่ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์เผยแพร่ หรือใน
รูปแบบโสตทัศนวัสดุ เอกสารประกอบการประชุม เอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการ
TECHNOLOGICAL FUNCTION
oเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ช่วยขับเคลื่อนคลังความรู้ เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการสนับสนุนการแบ่งปันความรู้ใน
องค์กร ดังนั้นเทคโนโลยีควรต้องช่วยผู้ใช้ให้สืบค้นสิ่งที่ตนเองต้องการได้ และส่งเสริมให้เขาสามารถฝากงานของเขา
เองในระบบได้ด้วยตนเอง ดังนั้นการออกแบบระบบต้องง่ายต่อการใช้ และ ควรแสดงสถิติการใช้เพื่อที่จะจูงใจผู้ใช้ให้
เข้าร่วมและสนับสนุน
oโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีที่เข้มแข็ง จะช่วยสนับสนุนให้คลังความรู้ประสบความสาเร็จ การเก็บรักษาไฟล์ใน
รูปแบบ pdf ทาให้เก็บรักษาได้ในระยะยาวและแชร์ผ่าน Social media ได้ง่าย
PROMOTION
• เพื่อที่จะทาให้การดาเนินการคลังความรู้ประสบความสาเร็จ นอกจากจะทาให้มั่นใจว่ามีเนื้อหาที่ต้องการแล้ว การใช้แหล่งข้อมูลที่มี
คุณค่าควรได้รับการเผยแพร่ และส่งเสริม ในกลุ่มผู้ใช้ โดยผู้บริหารห้องสมุด
• เป็นเรื่องที่สาคัญอย่างยิ่ง สาหรับบรรณารักษ์ที่จะส่งเสริมการใช้ในองค์กรอย่างกระตือรือร้น แม้ว่ามันอาจจะขัดกับวัฒนธรรมการ
สื่อสารทางวิชาการขององค์กร
• การส่งเสริมการใช้คลังความรู้อาจเริ่มด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ
• อาจส่งเสริมการใช้คลังความรู้อย่างครอบคลุม โดย ผ่าน โบรชัวร์ เว็บไซต์องค์กร โดยเน้นให้เห็นถึงความสาคัญและประโยชน์ที่จะ
ได้รับ ถ้าเป็นบทความที่เผยแพร่ผ่านวารสารนานาชาติ แบบ peer reviewed ที่มีค่าการอ้างอิงสูง ก็ควรรวบรวมไว้ด้วย
• ควรมีการทาให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้สร้างผลงานว่าควรจะฝากผลงานของตนไว้ในคลังความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งบรรณารักษ์ควรมีบทบาท
ในการแนะนาให้เขาสามารถทาได้ด้วยตนเอง เพราะบางครั้งการที่เขาไม่ฝากผลงานไว้เพราะไม่เห็นว่ามีข้อดีอย่างไร
• เพิ่มเติม *** การสื่อสารทางวิชาการ https://www.lib.berkeley.edu/scholarly-communication/about/what-is-
scholarly-communication
CONCLUSION
oคลังความรู้มีบทบาทในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับเก็บรักษาความรู้ขององค์กรในระยะยาว
และนอกจากนี้ การใช้คลังความรู้จะสนับสนุนการพัฒนาในทุกด้านโดยอาศัยประสบการณ์ที่ผ่าน
มา และเป็นสาเหตุที่เราต้องสร้างองค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้คลังความรู้ประสบความสาเร็จ
oการศึกษานี้พบว่า การดาเนินงานคลังความรู้ ยังขาดการส่งเสริมการใช้สาหรับคนในองค์กร และ
เทคโนโลยีก็ไม่ดึงดูดให้เข้าใช้ และใช้งานยาก ซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกคนในคลังความรู้โดยเฉพาะ
ผู้บริหารสูงสุด ที่จะทาหน้าที่ส่งเสริมให้มีการใช้งาน
oคลังความรู้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการสื่อสารความรู้ที่มีประโยชน์ต่อองค์กรเพราะมี
ความรวดเร็ว และง่าย ในการเข้าถึง การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปัน การใช้งานคลังความรู้
ทาให้เกิดความรู้ใหม่แบบองค์รวม
ขั้นตอนในการดาเนินงานคลังความรู้
ลำดับ รำยละเอียด ผลกำรดำเนินงำน
1 แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ เพื่อกาหนดนโยบาย แนวปฎิบัติ
ผู้ร่วมงานที่เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆ เช่น ส่วนห้องสมุด ส่วนเทคโนโลยี
R
2 แต่งตั้งหัวหน้าโครงการ R
3 วิเคราะห์ความต้องการจาเป็น (need analysis) และจัดทารายงาน R
4 เลือกแพลตฟอร์มสาหรับการจัดการคลังความรู้ R
5 ตั้งชื่อ คลังความรู้ R
6 ตัดสินใจว่าจะจัดโครงสร้างของคอลเล็คชั่นภายในคลังความรู้ อย่างไร R
ขั้นตอนในการดาเนินงานคลังความรู้ (ต่อ…)
ลาดับ รายละเอียด ผลการดาเนินงาน
7 กาหนดแผนภูมิการทางาน
8 จัดการในประเด็น การอนุญาต ลิขสิทธิ์ กับฝ่ายกฎหมาย
9 รวบรวมแผนธุรกิจและนาเสนอต่อผู้รับผิดชอบ
10 นาโครงการคลังความรู้ ลงทะเบียนไว้กับงานไอที และสร้างข้อตกลงระดับการให้บริการ
(SLA- service level agreement)
11 รวมคลังความรู้ให้เป็นงานส่วนหนึ่งของบรรณารักษ์ฝ่ายแคตตาล็อค
12 กาหนดนโยบายของคลังความรู้ และจัดทาเอกสาร ข้อมูลการตัดสินใจที่สาคัญ กาหนด
รายละเอียด เรือง ความหมายของการบริการ การให้บริการแบบเสรี ลิขสิทธิ์ การสงวนรักษา
ทรัพยากร มาตรฐานของเมตาดาตา การจัดทาเอกสารให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เกณฑ์การ
คัดเลือกเอกสาร และอื่นๆ
13 ระบุสมาชิกที่จะเข้าร่วมในการประเมินคุณค่าทรัพยากร การฝึกอบรมการใช้ซอฟแวร์ที่ใช้สร้าง
คลังความรู้
Business plan :
https://www.tandfonline.com/doi/pdf/10.1300/j123v52n01_05
ขั้นตอนในการดาเนินงานคลังความรู้ (ต่อ…)
ลาดับ รายละเอียด ผลการ
ดาเนินงาน
14 นาซอฟท์แวร์ที่เลือกไว้มาปรับใช้ กาหนดทีมรับผิดชอบและการประกันคุณภาพของ
เซอร์ฟเวอร์
15 สร้างคอลเล็คชั่นเพื่อที่จะเป็นการสาธิตให้บรรณารักษ์และผู้ใช้งานได้เห็นภาพคลัง
ความรู้
16 นาคลังความรู้ไปลงทะเบียนไว้กับ search engines ต่างๆ และทาให้ปรากฏบน
เว็บเพจของหน่วยงานด้วย
17 เริ่มส่งเสริมด้านการตลาด (สามารถทาให้เหมาะสมสาหรับแต่ละสาขาวิชา) จัดทา
แผ่นพับ เอกสารปรนะกอบการอบรม การช่วยเหลือแบบออนไลน์ เป็นต้น
ขั้นตอนในการดาเนินงานคลังความรู้ (ต่อ…)
ลาดับ รายละเอียด ผลการ
ดาเนินงาน
18 แนะนาคลังความรู้ต่อชุมชนที่สังกัด ทั้งส่วนบุคคลและฝ่ายต่างๆ โดยผ่านการประชุม
จดหมายข่าว การประชุมวิชาการ ฯลฯ
19 เชื้อเชิญให้ชุมชนลงทะเบียนการใช้ สื่อสารผ่านสื่อต่างๆ เช่น เว็บเพจของคลังความรู้ หรือ
สื่อสารแบบประจาโดยผ่าน อีเมล์ จดหมายข่าวรายเดือน ฯลฯ
20 เปิดใช้คลังความรู้เมื่อพร้อมแล้ว เชิญผู้บริหาร หัวหน้าฝ่ายต่างๆ หรือคนที่มีบทบาทใน
องค์กรมารับทราบบริการ
21 จัดสรรงบประมาณรายปีสาหรับคลังความรู้ และทาแผนสาหรับปีต่อไป ใส่ใจดูแล
สมรรถนะของเซิร์ฟเวอร์ เผยแพร่ข้อมูลที่ทันสมัยผ่าน mailing list บทความและการเข้า
ร่วมประชุม
กำรกำหนดนโยบำยของคลังควำมรู้ (สำหรับคลังควำมรู้ที่กำลังดำเนินงำนอยู่ )
ถ้ำคลังควำมรู้นั้นกำลังดำเนินกำรอยู่ (underway) ให้ลองเทียบนโยบำยที่กำหนดมำก่อนแล้วเทียบกับ policy worksheet ใน
ประเด็นต่อไปนี้แล้วเพิ่มเติมสิ่งที่ไม่ได้กำหนดไว้ ( Mary R. Barton and Margaret M. Waters LEarning About Digital
Institutional Repositories : Creating an Institutional Repository: LEADIRS Workbook Cambridge, MA : MIT
Libraries, 2004. p.106)
❑ นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (Content and Collection Policies)
❑ กระบวนกำรนำเข้ำเอกสำร (Submission Process)
❑ ลิขสิทธิ์ และกำรอนุญำต (Copyright and Licences)
❑ เมทำดำตำ (Metadata)
❑ นโยบำยกำรรักษำควำมควำมเป็นส่วนตัว ( Privacy Policies)
❑ นโยบำยกำรให้บริกำร ( Service Policies)
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oระบุหรือให้คำจำกัดควำมของคอลเล็คชั่น ( Defining Collections )
✓จัดระบบของคอลเล็คชั่นอย่ำงไร ตย เช่น แบ่งกลุ่มตำมสำขำวิชำ ประเภทเอกสำร หรือ หน่วยงำนที่เป็น
เจ้ำของ
✓คอลเล็คชั่นประกอบด้วยอะไรบ้ำง
✓ใครเป็นผู้ตัดสินใจและอนุมัติผู้นำเอกสำรเข้ำในคลังควำมรู้
✓ถ้ำหน่วยงำนหยุดหรือยกเลิกไป จะมีแผนสำรองอย่ำงไร
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oแนวปฎิบัติเกี่ยวกับเนื้อหำ ( Content Guidelines )
✓ประเภทของเนื้อหำที่จะนำเข้ำไว้ในคลังควำมรู้
➢รำยงำนทำงเทคนิค (Technical Reports )
➢กระดำษทำกำร ( Working Papers )
➢รำยงำนกำรประชุม ( Conference Papers )
➢เอกสำรก่อนกำรจัดทำ และหลังกำรจัดพิมพ์ ( Preprints, “Postprints” )
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oแนวปฎิบัติเกี่ยวกับเนื้อหำ (ต่อ.....)
✓What types of content will the repository accept?
➢วิทยำนิพนธ์ ( Theses)
➢ชุดข้อมูล ( Datasets)
➢หนังสือ (Books)
➢เอกสำรประกอบกำรเรียนรู้ ( Learning )
➢บันทึกประวัติศำสตร์แบบดิจิทัล( Digitised historical objects)
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oแนวปฎิบัติเกี่ยวกับเนื้อหำ (ต่อ.....)
✓ใครบ้ำง สำมำรถส่งเนื้อหำเข้ำในคลังควำมรู้
✓งำนนี้ต้องเป็นเรื่องมุ่งเน้นกำรศึกษำหรือมุ่งเน้นกำรวิจัย
✓งำนที่นำเข้ำต้องเป็นรูปแบบดิจิทัลหรือไม่
✓คลังควำมรู้ยอมรับเฉพำะเอกสำรที่เป็นประเภท peer-reviewed เท่ำนั้นหรือไม่
✓งำนที่นำเข้ำต้องเป็นรูปแบบที่ดำเนินกำรสำเร็จเรียบร้อยพร้อมเผยแพร่เท่ำนั้นหรือไม่
✓ผู้แต่งหรือเจ้ำของผลงำนได้รับอนุญำตให้เผยแพร่ผลงำนหรือไม่
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oแนวปฎิบัติเกี่ยวกับเนื้อหำ (ต่อ.....)
✓ถ้ำงำนนั้นเป็นส่วนหนึ่งของงำนชุด (series) งำนอื่นๆใน ชุดเดียวกันจะได้รับกำรเผยแพร่
หรือไม่
✓เอกสำรรูปแบบใดบ้ำงจะได้รับกำรเก็บในคลังควำมรู้
➢ข้อควำม (Text )
➢รูปภำพ ( Images )
➢เสียง (Audio )
➢ภำพเคลื่อนไหว (Video)
นโยบำยเกี่ยวกับเนื้อหำและประเภทเอกสำร (ต่อ…..)
oแนวปฎิบัติเกี่ยวกับเนื้อหำ(ต่อ.....)
✓เอกสำรรูปแบบใดบ้ำงที่จะนำเข้ำเก็บในคลังควำมรู้ (ตย เช่น pdf,
jpg, mpeg, etc.)
กระบวนกำรนำเข้ำเอกสำร
o มีกระบวนกำรในกำรอนุมัติสำหรับเนื้อหำที่จะนำเข้ำหรือไม่
oผู้นำเข้ำต้องได้รับแจ้งควำมคืบหน้ำของรำยกำรที่นำเข้ำหรือไม่ ว่ำนำเข้ำสำเร็จแล้ว
oขนำดของเอกสำรที่นำเข้ำมีกำรจำกัดหรือไม่
ลิขสิทธิ์ และกำรอนุญำต
o ผู้นาเนื้อหาเข้าต้องเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์หรือไม่
o นโยบายใดที่เราจาเป็นต้องมีสาหรับการได้รับอนุญาตจากผู้แต่ง
o เรำต้องกำรกำรถ่ำยโอนลิขสิทธิ์สำหรับกำรนำข้อมูลรำยกำรนั้นเข้ำไว้ในคลังควำมรู้หรือไม่ หรือต้องกำรสิทธิ์แบบทั่วไปสำหรับกำร
เผยแพร่งำนรำยกำรนั้นๆ
oใครเป็นผู้รับผิดชอบสำหรับกำรปฏิบัติตำมลิขสิทธิ์ของผู้พิมพ์เผยแพร่
oในหน่วยงำนของเรำใครเป็นเจ้ำของทรัพย์สินทำงปัญญำสำหรับผู้สร้ำงผลงำนต่ำงๆ
oข้อตกลงในเรื่องทรัพย์สินทำงปัญญำกับผู้สร้ำงผลงำนที่มีอยู่คืออะไรบ้ำง
oใครเป็นเจ้ำของลิขสิทธิ์ของวิทยำนิพนธ์หรืองำนวิจัยในหน่วยงำนของเรำ
เมทำดำตำ
oคลังควำมรู้ใช้มำตรฐำนเมทำดำตำแบบใด (อำจขึ้นกับ platform ที่เลือกใช้ )
oใครได้รับมอบหมำยให้กรอกข้อมูลเมทำดำตำ เฉพำะบุคลำกรห้องสมุดเท่ำนั้นหรือ เจ้ำของ
ผลงำน หรือใครอีกบ้ำง
o ใครเป็นผู้ตัดสินใจว่ำ เมทำดำตำได้มำตรฐำนตำมคุณภำพกำรให้บริกำร
o ใครเป็นผู้แก้ไขข้อผิดพลำดของเมทำดำตำ
o มีกระบวนกำรอนุมัติกำรลงรำยกำรเมทำดำตำ หรือไม่
นโยบำยกำรรักษำควำมควำมเป็นส่วนตัว
o มีข้อตกลงกำรใช้บริกำร (user agreement) กับผู้ใช้ระบบหรือไม่
oมีกำรกำหนดนโยบำยรักษำควำมเป็นส่วนตัวสำหรับผู้ที่ลงทะเบียนไว้กับระบบหรือไม่
oมีกำรตรวจสอบสิทธิ์ของผู้ใช้ระบบหรือไม่
oมีกำรอนุญำตแบบไม่จำกัดกับกำรใช้เอกสำรเฉพำะรำยกำรหรือไม่
นโยบำยกำรให้บริกำร ( SERVICE POLICIES)
❑ รูปแบบในการเก็บรักษา Preservation Formats
✓เอกสารรูปแบบใดที่ได้รับการสนับสนุนให้เก็บรักษาและเก็บรักษาในระดับใด
❑ การถอดถอนเอกสาร
▪ ได้มีการจัดการให้มีการถอดถอนเอกสารหรือไม่
▪ การถอดถอนหมายถึงการลบทิ้งเลยหรือไม่
▪ มีสถานการณ์ที่อาจจะต้องลบเอกสารทิ้งจากคลังความรู้หรือไม่
▪ ถ้าอนุญาตให้ถอดถอนเอกสารจากมุมมองสาธารณะ (ไมได้ลบทิ้ง ) เราจะจัดการกับเมทาดาตา
อย่างไร จะมีข้อมูลแจ้งผู้ใช้ปลายทางให้รู้หรือไม่ว่าเอกสารนั้นถูกถอดออก
นโยบำยกำรให้บริกำร (ต่อ….)
❑การถอดถอนเอกสาร (ต่อ…)
✓รำยกำรต่อไปนี้เป็นกำรจัดกำรที่มีประสิทธิภำพสำหรับเอกสำรรำยกำรที่ถูกถอนออก :
➢ ถอนออกจำกมุมมองโดยมีกำรร้องขอจำกผู้เต่ง
➢ถอนจำกมุมมองจำกดุลยพินิจของหน่วยงำน
➢ถอนจำกมุมมองโดยดุลยพินิจของห้องสมุด
➢ถอนจำกมุมมองโดยคำสั่งตำมกฎหมำย
นโยบำยกำรให้บริกำร (ต่อ….)
❑เรื่องทั่วๆไป
✓ระบุสิทธิโดยทั่วไป และความรับผิดชอบของห้องสมุดและคอลเล็คชั่นในการบริการ
❑ การเข้าถึงการจ่ายค่าบริการ
✓ระบุว่าการเข้าถึงจะจ่ายค่าบริการหรือเข้าใช้ได้ฟรี และมีส่วนใดของระบบที่ให้ผู้ใช้จาเป็นต้อง
จ่ายค่าบริการเพื่อเข้าใช้
นโยบำยกำรให้บริกำร (ต่อ….)
❑กำรสำรองข้อมูลและกำรเรียกคืน
✓กำรหยุดทำงำนในระดับใดที่สำมำรถรับได้สำหรับระบบนี้
✓ทำอย่ำงไรให้เนื้อหำต้องมีควำมปลอดภัย
✓อะไรเป็นสิ่งรับประกันที่เรำเสนอต่อเจ้ำของเนื้อหำเกี่ยวกับกำรสำรองข้อมูลและกำรเรียก
คืน
การประเมินผลการดาเนินงานของคลังความรู้
Callicott, Burton B.,David Scherer, and Andrew Wesolek, Ed. Making Institutional
Repositories Work Lafayette, Indiana : Purdue University Press West, 2016.
p.230-233.
เอกสำรแนบ
คลังความรู้ ศูนย์วิทยบริการศาลยุติธรรมเฉลิมพระเกียรติ
• นโยบาย (Slide 14- 28)
• วัตถุประสงค์ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ของ UNEP knowledge repository (Slide 31)
• Knowledge map (Slide 32)
• การวัดผล ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ.2565-2568 หน้า 19
ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ของคลังความรู้
The UNEP knowledge repository digitally captures, stores, indexes, and disseminates UNEP’s collective intellectual and
research output including flagships, technical reports, policy briefs and more.
The objectives of the Knowledge Repository are to:
1. Increase the visibility of UNEP publications for easy access and reuse;
2. Ensure the long-term preservation of UNEP intellectual and research output; and
3. Support the 2030 Sustainable Development Agenda by providing Member States access to relevant knowledge to
influence policy at national, regional and global levels.
The UNEP Knowledge Repository provides a single point of access to more than 11,000 digital publications.
(From : https://wedocs.unep.org/handle/20.500.11822/1)
WHAT IS A KNOWLEDGE MAP?
แผนที่ความรู้ ( knowledge map) ทาให้เราระบุ knowledge gaps และช่วยในการไหลเวียนของความรู้
แผนที่ความรู้เป็นอุดมคติสาหรับองค์กรที่ต้องการจะส่งเสริมความสามารถในการจัดการความรู้ เพื่อที่จะปรับปรุง
ความสามารถในการแชร์ความรู้ และการถ่ายโอนความรู้ระหว่างบุคลากรในองค์กรและทีมต่างๆ
กระบวนการจัดทาแผนที่ความรู้จะช่วยเราในการ :
• ระบุและจัดหมวดหมู่ความรู้ ความรู้เป็นได้ทั้ง ความรู้ภายนอกตัวบุคคล เช่น คู่มือการอบรม รายงาน และความรู้ที่อยู่
ในตัวบุคคล เช่น ประสบการณ์ของบุคลากร
• การค้นหาความรู้ สามารถค้นหาได้ว่า ความรู้นั้นอยู่ในตัวบุคคล ทีม หรือภายใน โครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศ
• เชื่อมความรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน แผนที่ความรู้จะผูกความรู้เข้าด้วยกันในรูปแบบที่สามารถมองเห็นได้และเชื่อมโยงกันได้
แผนที่ควำมรู้ ( KNOWLEDGE MAP)
กำรหำ Idea สำหรับสร้ำง Knowledge Map
• https://openknowledgemaps.org/index
Sample of knowledge Map
• http://transfer.rdi.uoc.edu/en/knowledge-map
How to Create an Effective Knowledge Map (And the Benefits of Doing So)
• https://helpjuice.com/blog/knowledge-map
ขอบคุณมำกค่ะ

More Related Content

Similar to เอกสารบรรยาย ฉบับส่งพิมพ์.pdf

ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Nontt' Panich
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้
Yong Panupun
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
NuTty Quiz
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
Gu 'Boss
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
mina612
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
bbeammaebb
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Rattana Wongphu-nga
 

Similar to เอกสารบรรยาย ฉบับส่งพิมพ์.pdf (20)

ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์และขั้นตอน
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
2
22
2
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงาน K2
ใบงาน K2ใบงาน K2
ใบงาน K2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 

เอกสารบรรยาย ฉบับส่งพิมพ์.pdf