SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
9.1 โมเดลการมองเห็นสีทั่วไป
โดยทั่วไปแล้วสีต่าง ๆ ในธรรมชาติและสีที่ถูกสร้างขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นสีที่แตกต่างกัน ซึ่ง
รูปแบบการมองเห็นสีเรียกว่า “โมเดล (Model)” ดังนั้น จึงทาให้มีโมเดลหลายแบบดังที่เราจะได้ศึกษา
ศึกษาต่อไปนี้
- โมเดล HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์
- โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์
- โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์
- โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE
โมเดล HSBตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์
เป็นลักษณะพื้นฐานการมองเห็นสีด้วยสายตาของมนุษย์ โมเดล HSB จะประกอบด้วยลักษณะ
ลักษณะของสี 3 ลักษณะ
^ ค่า Hue จะบอกค่าสีเป็นองศา จาก 0 องศา หมุนไปถึง 360 องศา
1.Hue เป็นสีของวัตถุที่สะท้อนเข้ามายังตาของเราทาให้เราสามารถมองเห็นเป็นวัตถุสีได้ซึ่งแต่ละสีจะ
แตกต่างกันตามความยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวัด
โดยตาแหน่งการแสดงสีบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนด้วยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แต่โดย
ทั่วๆ ไปแล้ว มักเรียกการแสดงสีนั้นๆเป็นชื่อของสีเลย เช่น สีแดง สีม่วง สีเหลือง
2. Saturation คือสัดส่วนของสีเทาที่มีอยู่ในสีนั้น โดยวัดค่าสีเทาในสีหลักเป็นเปอร์เซ็นต์ดังนี้คือ
จาก 0% (สีเทาผสมอยู่มาก) จนถึง 100% (สีเทาไม่มีเลย หรือเรียกว่า “Full Saturation” คือสีมี
ความอิ่มตัวเต็มที่) โดยค่า Saturation นี้จะบ่งบอกถึงความเข้มข้นและความจางของสี ถ้าถูกวัด
โดยตาแหน่งบน Standard Color Wheel ค่า Saturationจะเพิ่มขึ้นจากจุดกึ่งกลางจนถึงเส้นขอบ
โดยค่าที่เส้นขอบจะมีสีที่ชัดเจน และอิ่มตัวที่สุด
^ ค่า Saturation เริ่มตั้งแต่ 0% ที่จุดกึ่งกลางไล่ไปเรื่อยๆ จนถึง 100% ที่ชอบ
^ H+S แทนค่าสีทั้งหมดที่เกิดจาก Hue +Saturation และ
B แทนค่าความสว่างตั้งแต่ 0%ถึง 100%
3.Brightness เป็นเรื่องราวของความสว่างและความมืดของสี ซึ่งถูกกาหนดค่าเป็นเปอร์เซ็นต์
จาก0 % (สีดา) ถึง 100% (สีขาว) ยิ่งมีเปอร์เซ็นต์มากจะทาให้สีนั้นสว่างมากขึ้น
โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์
โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของสเปกตรัมของแสงสีแดง (Red) , เขียว (green) , และน้า
เงิน (Blue) ในสัดส่วน ความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยจุดที่แสงทั้งสามสีรวมกันจะเป็นสีขาว นิยม
เรียกการผสมสีแบบนี้ว่า “Additive Color”แสงสี RGB มักจะถูกใช้สาหรับการส่องแสงทั้งบน
จอภาพทีวีและจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสร้างจากสารที่ทาให้เกิดแสงสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ทาให้สี
ดูสว่างกว่าความเป็นจริง
^ รูปแสดงแสงสีแดง เขียว และ น้าเงินที่ผสมกันเป็นสีต่าง ๆ
โมเดล CMYKตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์
โมเดล CMYK มีแหล่งกาเนิดสีอยู่ที่การซึมซับ (Absorb) ของหมึกพิมพ์บนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐานคือ
พื้นฐานคือ สีฟ้ า (Cyan) สีบานเย็น (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) โดยเรียกการผสมสีทั้ง 3 สีข้าง
สีข้างต้นว่า “Subtractive color” แต่สี CMYก็ไม่สามารถผสมรวมกันให้ได้สีบางสี เช่น สีน้าตาล จึง
จึงต้องมีการเพิ่มสีดา (Black) ลงไปฉะนั้นเมื่อรวมกันทั้ง 4 สี คือ CMYK สีที่ได้จากการพิมพ์ จึงจะ
จะครอบคลุมทุกสี
^ รูปแสดงหมึกพิมพ์ ฟ้ า บานเย็น เหลือง และสีดา
โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE
โมเดล Lab เป็นค่าสีที่กาหนดขึ้นโดย CIE (commission Internationale d ́ Eclairage)ให้เป็น
มาตรฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใช้ได้กับสีที่เกิดจาก
จากอุปกรณ์ทุกอย่างไม่ว่าจะ
เป็นจอคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนและอื่น ๆ ส่วนประกอบของโหมดสีนี้ได้แก่
L หมายถึง ค่าความสว่าง (Luminance)
a หมายถึง ส่วนประกอบที่แสดงการไล่สีจากสีเขียวไปยังสีแดง
b หมายถึง ส่วนประกอบที่แสดงการไล่สีจากสีน้าเงินถึงสีเหลือง
โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม Photoshop
จากการมองเห็นสีดดยทั่วไปมาสู่หลักการมองเห็นสีใน Photoshop ที่เราเรียกว่า “
โหมด(MOde)”ซึ่งโหมดของสีในPhotoshop จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 โหมดที่อ้างอิงตามโมเดล
กลุ่มที่ 2 โหมดที่ถูกกาหนดขึ้นมาพิเศษหรือที่เรียกว่า “ โหมด Specialozed”
กลุ่มที่ 3 โหมดสีผสมที่เรียกว่า “โหมด Blending”
กลุ่มที่ 1 โหมดที่อ้างอิงตามโมเด
โหมด RGB
ใช้หลักการโหมดของโมเดล RGB โดยมีการกาหนดค่าความเข้มข้นของสีแดง เขียว และน้า
น้าเงินที่มาผสมกันในแต่ละจุดสี เป็นค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 ตัวอย่างเช่น สี Bright Red เกิดจาก
จาก R (สีแดง) ที่ 246 และ G (สีเขียว) ที่20และ B (สีน้าเงิน ที่ 50)
ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเป็นการซ้อนภาพสี 3 ชั้น ชั้นละสี ซึ่งเราเรียกชั้นของสีเหล่านี้
เหล่านี้ว่า “Channel” โดยจะมีสีที่แตกต่างเกิดขึ้นถึง 16.7 ล้านสี หรือ
^ ภาพในโหมด RGB ซึ่งเกิดจากการผสมของแสงสี แดง
เขียว และน้าเงิน
^ แสงสีแดง Red
^ แสงสีเขียว Green
^แสงสีน้าเงิน Blue
โหมด CMYK
ใช้หลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกาหนดค่าสีจากเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของสีแต่ละสีที่มา
ผสมกัน เช่น สี Bright Red เกิดจาก C= 2%, M=93%, Y=90%, และ K=0% (หรือสีขาว)
^ ภาพในโหมด CMYK ซึ่งเกิดจากการผสมของหมึกสี Cyan,Magenta,Yellow และ Black
9.2 การเปลี่ยนโหมดสีของภาพ
โดยมากภาพที่เราเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์นั้นจะเป็นโหมดRGBแต่ถ้าเราต้องเปลี่ยนโหมดของภาพเพื่อ
ภาพเพื่อได้เหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนาไปใช้ก็สามารถเปลี่ยนโหมดสีได้ดังนี้
เปลี่ยนโหมดสี RGB เป็ น CMYK
เรามักจะเริ่มต้นสร้างชิ้นงานในโหมดสี RGB เพราะเป็นโหมดสีที่เราคุ้นเคยและเป็นโหมดสีที่ใช้
ใช้แสดงผลในหน้าจอคอมพิวเตอร์ แต่ก่อนที่เราจะบันทึกภาพไปส่งพิมพ์ที่โรงพิมพ์ เราควรเปลี่ยนโหมด
เปลี่ยนโหมดสีของภาพเป็น CMYK เพื่อให้ตรงกับการแยกสีในงานสิ่งพิมพ์ ดังนี้
1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode>CMYK color
2.แสดงผลลัพธ์เป็นภาพในโหมดสี CMYK
เปลี่ยนโหมดสีเป็น Bitmap
ภาพขาวดาโหมด Bitmap จะเหมาะกับงานที่เป็นลายเส้น เช่น เครื่องหมายการค้า และโลโก้ ใน
การเปลี่ยน โหมดจากภาพสีให้มาเป็น Bitmap เราจะต้องเปลี่ยนภาพให้เป็น Grayscale
เสียก่อน จากนั้นจึงจะเปลี่ยนมาเป็น Bitmap ได้ และในการบันทึกภาพนั้นต้องบันทึกเป็น
นามสกุล BMP ซึ่งเป็นรูปแบบที่รองรับภาพในโหมด Bitmap
1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode> Bitmap
2.กาหนดค่าความละเอียด
ของภาพ
3.คลิกปุ่มลูกศร เลือก
วิธีการ
4.คลิกเมาส์แปลงภาพ
เปลี่ยนโหมดสีเป็น Duotone
เรามักจะเห็นภาพ Duotone ในการนาไปพิมพ์เป็นงานโฆษณา หรือใบปลิว 2 สี ในการ
เปลี่ยนแปลงโหมดสีเราจะต้องถอดสีออกจากภาพให้เป็น Grayscale เสียก่อน จากนั้นจึงจะ
แปลงเป็น Duotone โดยการกาหนด สีแรกแทนส่วนสีดา และสีที่สองแทนส่วนที่เป็นสีขาว ดังนี้
1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode> Duotone
2.เลือกสีที่จะใช้แทนสีดา
3.เลือกสีที่จะใช้แทนสีขาว
4.คลิกเพื่อใช้สีที่กาหนด
กาหนดค่าสีในข้อ 2และ3
Ink 1=C:100% M:0% Y:0% K:0%
Ink2= C:0% M:100% Y:0% K:0%
^ ภาพต้นฉบับ
^ หลักการเปลี่ยนโหมด Duotone

More Related Content

Similar to Pwpdata9

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
คีตะบลู รักคำภีร์
 

Similar to Pwpdata9 (11)

4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสี
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
Rgb
RgbRgb
Rgb
 
บรรยาย มช Color management
บรรยาย มช Color managementบรรยาย มช Color management
บรรยาย มช Color management
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
1.3
1.31.3
1.3
 

More from mill0917047796 (20)

Pwpdats10.3 10.4
Pwpdats10.3 10.4Pwpdats10.3 10.4
Pwpdats10.3 10.4
 
Pwpdats10.1 10.2
Pwpdats10.1 10.2Pwpdats10.1 10.2
Pwpdats10.1 10.2
 
Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+
 
Pwpdata5.1 5.7
Pwpdata5.1 5.7Pwpdata5.1 5.7
Pwpdata5.1 5.7
 
Pwp data4.5-4.7
Pwp data4.5-4.7Pwp data4.5-4.7
Pwp data4.5-4.7
 
Pwp data4.1-4.2
Pwp data4.1-4.2Pwp data4.1-4.2
Pwp data4.1-4.2
 
Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4
 
Pwp data3.8+
Pwp data3.8+Pwp data3.8+
Pwp data3.8+
 
Pwp data3.7
Pwp data3.7Pwp data3.7
Pwp data3.7
 
Pwp data2.11
Pwp data2.11Pwp data2.11
Pwp data2.11
 
Pwp data2.6 2.10
Pwp data2.6 2.10Pwp data2.6 2.10
Pwp data2.6 2.10
 
Pwp unit 11 116
Pwp unit 11 116Pwp unit 11 116
Pwp unit 11 116
 
Pwpdata 6.5+
Pwpdata 6.5+Pwpdata 6.5+
Pwpdata 6.5+
 
Pwpdata 6.1-6.4
Pwpdata 6.1-6.4Pwpdata 6.1-6.4
Pwpdata 6.1-6.4
 
Pwpdats10
Pwpdats10Pwpdats10
Pwpdats10
 
Pwpdata8.1 8.6
Pwpdata8.1 8.6Pwpdata8.1 8.6
Pwpdata8.1 8.6
 
Pwpdata 7.1-7.4
Pwpdata 7.1-7.4Pwpdata 7.1-7.4
Pwpdata 7.1-7.4
 
Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+Pwpdata5.8+
Pwpdata5.8+
 
Pwpdata5.1 5.7
Pwpdata5.1 5.7Pwpdata5.1 5.7
Pwpdata5.1 5.7
 
Pwp data4
Pwp data4Pwp data4
Pwp data4
 

Pwpdata9

  • 1. 9.1 โมเดลการมองเห็นสีทั่วไป โดยทั่วไปแล้วสีต่าง ๆ ในธรรมชาติและสีที่ถูกสร้างขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นสีที่แตกต่างกัน ซึ่ง รูปแบบการมองเห็นสีเรียกว่า “โมเดล (Model)” ดังนั้น จึงทาให้มีโมเดลหลายแบบดังที่เราจะได้ศึกษา ศึกษาต่อไปนี้ - โมเดล HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์ - โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์ - โมเดล CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์ - โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE โมเดล HSBตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์ เป็นลักษณะพื้นฐานการมองเห็นสีด้วยสายตาของมนุษย์ โมเดล HSB จะประกอบด้วยลักษณะ ลักษณะของสี 3 ลักษณะ ^ ค่า Hue จะบอกค่าสีเป็นองศา จาก 0 องศา หมุนไปถึง 360 องศา
  • 2. 1.Hue เป็นสีของวัตถุที่สะท้อนเข้ามายังตาของเราทาให้เราสามารถมองเห็นเป็นวัตถุสีได้ซึ่งแต่ละสีจะ แตกต่างกันตามความยาวของคลื่นแสงที่มากระทบวัตถุและสะท้อนกลับมาที่ตาของเรา Hue ถูกวัด โดยตาแหน่งการแสดงสีบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนด้วยองศา คือ 0 ถึง 360 องศา แต่โดย ทั่วๆ ไปแล้ว มักเรียกการแสดงสีนั้นๆเป็นชื่อของสีเลย เช่น สีแดง สีม่วง สีเหลือง 2. Saturation คือสัดส่วนของสีเทาที่มีอยู่ในสีนั้น โดยวัดค่าสีเทาในสีหลักเป็นเปอร์เซ็นต์ดังนี้คือ จาก 0% (สีเทาผสมอยู่มาก) จนถึง 100% (สีเทาไม่มีเลย หรือเรียกว่า “Full Saturation” คือสีมี ความอิ่มตัวเต็มที่) โดยค่า Saturation นี้จะบ่งบอกถึงความเข้มข้นและความจางของสี ถ้าถูกวัด โดยตาแหน่งบน Standard Color Wheel ค่า Saturationจะเพิ่มขึ้นจากจุดกึ่งกลางจนถึงเส้นขอบ โดยค่าที่เส้นขอบจะมีสีที่ชัดเจน และอิ่มตัวที่สุด ^ ค่า Saturation เริ่มตั้งแต่ 0% ที่จุดกึ่งกลางไล่ไปเรื่อยๆ จนถึง 100% ที่ชอบ ^ H+S แทนค่าสีทั้งหมดที่เกิดจาก Hue +Saturation และ B แทนค่าความสว่างตั้งแต่ 0%ถึง 100%
  • 3. 3.Brightness เป็นเรื่องราวของความสว่างและความมืดของสี ซึ่งถูกกาหนดค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ จาก0 % (สีดา) ถึง 100% (สีขาว) ยิ่งมีเปอร์เซ็นต์มากจะทาให้สีนั้นสว่างมากขึ้น โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์ โมเดล RGB เกิดจากการรวมกันของสเปกตรัมของแสงสีแดง (Red) , เขียว (green) , และน้า เงิน (Blue) ในสัดส่วน ความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยจุดที่แสงทั้งสามสีรวมกันจะเป็นสีขาว นิยม เรียกการผสมสีแบบนี้ว่า “Additive Color”แสงสี RGB มักจะถูกใช้สาหรับการส่องแสงทั้งบน จอภาพทีวีและจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสร้างจากสารที่ทาให้เกิดแสงสีแดง สีเขียว และสีน้าเงิน ทาให้สี ดูสว่างกว่าความเป็นจริง ^ รูปแสดงแสงสีแดง เขียว และ น้าเงินที่ผสมกันเป็นสีต่าง ๆ
  • 4. โมเดล CMYKตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์ โมเดล CMYK มีแหล่งกาเนิดสีอยู่ที่การซึมซับ (Absorb) ของหมึกพิมพ์บนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐานคือ พื้นฐานคือ สีฟ้ า (Cyan) สีบานเย็น (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) โดยเรียกการผสมสีทั้ง 3 สีข้าง สีข้างต้นว่า “Subtractive color” แต่สี CMYก็ไม่สามารถผสมรวมกันให้ได้สีบางสี เช่น สีน้าตาล จึง จึงต้องมีการเพิ่มสีดา (Black) ลงไปฉะนั้นเมื่อรวมกันทั้ง 4 สี คือ CMYK สีที่ได้จากการพิมพ์ จึงจะ จะครอบคลุมทุกสี ^ รูปแสดงหมึกพิมพ์ ฟ้ า บานเย็น เหลือง และสีดา
  • 5. โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE โมเดล Lab เป็นค่าสีที่กาหนดขึ้นโดย CIE (commission Internationale d ́ Eclairage)ให้เป็น มาตรฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYK และใช้ได้กับสีที่เกิดจาก จากอุปกรณ์ทุกอย่างไม่ว่าจะ เป็นจอคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนและอื่น ๆ ส่วนประกอบของโหมดสีนี้ได้แก่ L หมายถึง ค่าความสว่าง (Luminance) a หมายถึง ส่วนประกอบที่แสดงการไล่สีจากสีเขียวไปยังสีแดง b หมายถึง ส่วนประกอบที่แสดงการไล่สีจากสีน้าเงินถึงสีเหลือง
  • 6. โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม Photoshop จากการมองเห็นสีดดยทั่วไปมาสู่หลักการมองเห็นสีใน Photoshop ที่เราเรียกว่า “ โหมด(MOde)”ซึ่งโหมดของสีในPhotoshop จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 โหมดที่อ้างอิงตามโมเดล กลุ่มที่ 2 โหมดที่ถูกกาหนดขึ้นมาพิเศษหรือที่เรียกว่า “ โหมด Specialozed” กลุ่มที่ 3 โหมดสีผสมที่เรียกว่า “โหมด Blending” กลุ่มที่ 1 โหมดที่อ้างอิงตามโมเด โหมด RGB ใช้หลักการโหมดของโมเดล RGB โดยมีการกาหนดค่าความเข้มข้นของสีแดง เขียว และน้า น้าเงินที่มาผสมกันในแต่ละจุดสี เป็นค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 ตัวอย่างเช่น สี Bright Red เกิดจาก จาก R (สีแดง) ที่ 246 และ G (สีเขียว) ที่20และ B (สีน้าเงิน ที่ 50) ภาพที่เกิดจากโหมด RGB จะเป็นการซ้อนภาพสี 3 ชั้น ชั้นละสี ซึ่งเราเรียกชั้นของสีเหล่านี้ เหล่านี้ว่า “Channel” โดยจะมีสีที่แตกต่างเกิดขึ้นถึง 16.7 ล้านสี หรือ
  • 7. ^ ภาพในโหมด RGB ซึ่งเกิดจากการผสมของแสงสี แดง เขียว และน้าเงิน ^ แสงสีแดง Red ^ แสงสีเขียว Green ^แสงสีน้าเงิน Blue
  • 8. โหมด CMYK ใช้หลักการของโมเดล CMYK โดยมีการกาหนดค่าสีจากเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของสีแต่ละสีที่มา ผสมกัน เช่น สี Bright Red เกิดจาก C= 2%, M=93%, Y=90%, และ K=0% (หรือสีขาว) ^ ภาพในโหมด CMYK ซึ่งเกิดจากการผสมของหมึกสี Cyan,Magenta,Yellow และ Black
  • 9. 9.2 การเปลี่ยนโหมดสีของภาพ โดยมากภาพที่เราเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์นั้นจะเป็นโหมดRGBแต่ถ้าเราต้องเปลี่ยนโหมดของภาพเพื่อ ภาพเพื่อได้เหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนาไปใช้ก็สามารถเปลี่ยนโหมดสีได้ดังนี้ เปลี่ยนโหมดสี RGB เป็ น CMYK เรามักจะเริ่มต้นสร้างชิ้นงานในโหมดสี RGB เพราะเป็นโหมดสีที่เราคุ้นเคยและเป็นโหมดสีที่ใช้ ใช้แสดงผลในหน้าจอคอมพิวเตอร์ แต่ก่อนที่เราจะบันทึกภาพไปส่งพิมพ์ที่โรงพิมพ์ เราควรเปลี่ยนโหมด เปลี่ยนโหมดสีของภาพเป็น CMYK เพื่อให้ตรงกับการแยกสีในงานสิ่งพิมพ์ ดังนี้ 1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode>CMYK color 2.แสดงผลลัพธ์เป็นภาพในโหมดสี CMYK
  • 10. เปลี่ยนโหมดสีเป็น Bitmap ภาพขาวดาโหมด Bitmap จะเหมาะกับงานที่เป็นลายเส้น เช่น เครื่องหมายการค้า และโลโก้ ใน การเปลี่ยน โหมดจากภาพสีให้มาเป็น Bitmap เราจะต้องเปลี่ยนภาพให้เป็น Grayscale เสียก่อน จากนั้นจึงจะเปลี่ยนมาเป็น Bitmap ได้ และในการบันทึกภาพนั้นต้องบันทึกเป็น นามสกุล BMP ซึ่งเป็นรูปแบบที่รองรับภาพในโหมด Bitmap 1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode> Bitmap 2.กาหนดค่าความละเอียด ของภาพ 3.คลิกปุ่มลูกศร เลือก วิธีการ 4.คลิกเมาส์แปลงภาพ
  • 11. เปลี่ยนโหมดสีเป็น Duotone เรามักจะเห็นภาพ Duotone ในการนาไปพิมพ์เป็นงานโฆษณา หรือใบปลิว 2 สี ในการ เปลี่ยนแปลงโหมดสีเราจะต้องถอดสีออกจากภาพให้เป็น Grayscale เสียก่อน จากนั้นจึงจะ แปลงเป็น Duotone โดยการกาหนด สีแรกแทนส่วนสีดา และสีที่สองแทนส่วนที่เป็นสีขาว ดังนี้ 1.เลือกเมนูคาสั่ง Image>Mode> Duotone 2.เลือกสีที่จะใช้แทนสีดา 3.เลือกสีที่จะใช้แทนสีขาว 4.คลิกเพื่อใช้สีที่กาหนด
  • 12. กาหนดค่าสีในข้อ 2และ3 Ink 1=C:100% M:0% Y:0% K:0% Ink2= C:0% M:100% Y:0% K:0% ^ ภาพต้นฉบับ ^ หลักการเปลี่ยนโหมด Duotone