SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
คูมือการใชงาน
Photoshop CS3 ขั้นพื้นฐาน
ทําความรูจักกับโปรแกรม Photoshop CS3
โปรแกรม Photoshop เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางหรือตกแตงภาพกราฟก ซึ่งตัวโปรแกรม
สามารถจัดการไดทั้งภาพ Bitmap และ ภาพ Vector
• ภาพ Bitmap หรือ ภาพ Raster
เปนภาพที่ประกอบขึ้นมาจากจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกวา Pixel มาเรียงตอกันจนกลาย
เปนภาพ เมื่อมองดูโดยรวม ตาเราจะเห็นเปนภาพเสมือนจริง แตเมื่อมีการปรับขนาด
ของภาพจะทําใหความคมชัดของภาพลดลง ไฟลภาพประเภทนี้ ไดแก .gif .jpg และ
.bmp เปนตน
ชนิดของกราฟฟคไฟลประเภท Raster
คุณสมบัติและขอดี, ขอเสียของกราฟฟคไฟลประเภท Raster
• ภาพ Vector
เปนภาพที่เกิดขึ้นจากการคํานวณของโปรแกรม ทําใหเกิดเสนและรูปทรงตาง ๆ
เมื่อมีการปรับขนาดของภาพ ความคมชัดของภาพจะยังคงไมเสียไป ไฟลภาพประเภทนี้
ไดแก .ai และ .swf เปนตน
Resolution of graphic / ความละเอียดของ กราฟฟก
Resolution คือ การวัดของไฟลที่ออกมาวามีคุณภาพ หรือความละเอียดเทาไร โดยใชการวัด
จากหนวย pixel หรือ dot
- Pixel คือจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่อยูในภาพ หรือ ประกอบเปนภาพที่คุณเห็นในจอคอมพิวเตอรหรือทีวี
- DPI (dot per inch) คือ หนวยแสดงความละเอียด หรือ คุณภาพของงานพิมพ หรือหมายถึง
จํานวนจุดตอ 1 ตารางนิ้วบนภาพประเภท raster
ไฟลที่เหมาะสมกับงานพิมพจะเปน 300 dpi แตถาทํางานอื่นๆ เชน web, presentation ที่อาศัยแค
การแสดงผลทางหนาจอคอมพิวเตอร ไฟลที่เหมาะสมจะเปน 72 หรือ 96 dpi
สวนประกอบหนาจอโปรแกรม
- เมนูหลัก (Menu Bar) จะประกอบดวยกลุมคําสั่งตางๆ ที่ใชจัดการกับไฟล, ทํางานกับรูปภาพ
และใชปรับแตงการทํางานของโปรแกรมโดยแบงตามลักษณะการใชงาน ซึ่งในบางเมนูหลักจะมีเมนูยอย
ซอนอยู ซึ่งเราตองเปดเขาไปเพื่อเลือกคําสั่งภายในอีกที
- แถบเครื่องมือ (Toolbox) จะประกอบดวยเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวาด ตกแตง และแกไขภาพ
เครื่องมือเหลานี้มีจํานวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวบรวมเครื่องมือที่ทําหนาที่คลายๆ กัน ไวในปุมเดียวกัน
- แถบตัวเลือก (Option Bar) เปนสวนที่ใชปรับแตงคาการทํางานของเครื่องมือตางๆ โดยรายละเอียด
ใน Option Bar จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่คุณเลือกใช
- แถบพาเนล (Panel) เปนวินโดวยอยๆ ที่ใชเลือกรายละเอียด หรือคําสั่งควบคุมการทํางานตางๆ
ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยูเปนจํานวนมาก เชน Color ใชสําหรับเลือกสี, Layers
ใชสําหรับจัดการกับเลเยอร, Info ใชแสดงคาสีตรงตําแหนงที่เมาสชี้ รวมถึงขนาดตําแหนงของพื้นที่ที่เลือกไว
สิ่งที่ควรรูกอนใชงาน Photoshop CS3
1. ความละเอียดของภาพ (Resolution)
คาความละเอียดของภาพ มีหนวยเปน Pixels ตอตารางนิ้ว ซึ่งหากคาความละเอียดมาก จํานวนพิกเซลก็จะ
มากตามไปดวย และทําใหภาพมีคุณภาพมากขึ้น สามารถตรวจสอบได โดยคลิกที่เมนู Image –> Image Size
2. เลเยอร (Layers)
การตกแตงภาพตั้งแตสองภาพขึ้นไปบนหนาผลงานเดียวกันใน Photoshop จะอาศัยการซอนภาพเปนชั้นๆ
เรียกวา เลเยอร (Layers)
3. โหมดสีที่สําคัญ (ไปที่เมนู Image < Mode)
โหมดสีมีหลายชนิดและมีคุณสมบัติที่แตกตางกันควรเลือกใหเหมาะสมกับการใชงานแตละประเภท แตถาจะ
กลาวถึงโหมดที่นิยม และมีผูใชกวางขวางที่สุดก็จะมีอยู ดังนี้
Grayscale เปนโหมดสีขาว/ดํา ที่ใหเฉดสี 256 สี มีการไลโทนน้ําหนักแสงเงา เหมาะกับงาน
ออกแบบสีเดียว สามารถนําไปเปลี่ยนเปนสีอื่นแทนสีดําไดเมื่อเขาสูระบบการพิมพ ไฟลภาพมีขนาดเล็กกวา
ไฟลขาว/ดําชนิดอื่นๆ
Duotone เปนภาพที่มีสีมากกวาแบบขาว/ดํา สามารถใชสีไดสองโทนสีมาผสมกัน เหมาะกับงานที่
ตองการสีสัน แตใชตนทุนการพิมพไมมาก
RGB Color เปนโหมดสีที่นิยมใชกันมาก สามารถพบไดจากภาพถายดิจิทัล งานออกแบบที่
แสดงผลทางจอมอนิเตอร สีกลุมนี้เกิดจากการผสมของแมสีแสง ไดแก สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และ
สีน้ําเงิน (Blue)
CMYK Color เปนโหมดสีที่ใชในระบบงานพิมพ ประกอบดวยสีสี่สี คือ สีฟา (Cyan) สีชมพูบานเย็น
หรือชมพูมวง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) และสีดํา (Black) ในระบบงานพิมพมักจะเรียกวา พิมพสี่สี ซึ่งก็
คือการใชแมสีสี่สีนี้มาซอนกันจนเกิดเปนสีใหมมากมาย ที่ทําใหไดภาพสีสันสมจริงขึ้นมา
สารบัญ 
เริ่มต้นกับโปรแกรม Photoshop CS3 ........................................................................................................ 1 
ประเภทของภาพ Graphic ......................................................................................................................... 1 
ส่วนประกอบหน้าจอโปรแกรม ................................................................................................................ 2 
การสร้างไฟล์ภาพใหม่ .............................................................................................................................. 3 
การเปิดไฟล์ภาพ ....................................................................................................................................... 4 
การจัดเก็บไฟล์ภาพ ................................................................................................................................... 5 
การนําเข้าภาพ........................................................................................................................................... 6 
เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) ......................................................................................................................... 7 
การปรับขนาดและความละเอียดของภาพ .................................................................................................. 8 
การปรับรูปทรงของภาพ (Transform) ..................................................................................................... 10 
การเลือกพื้นที่บนภาพ (Selection & Mask) ............................................................................................. 11 
การตัดแบ่งภาพออกเป็นหลายชิ้นส่วน .................................................................................................... 13 
การพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ ................................................................................................... 14 
การวาดและตกแต่งภาพ .......................................................................................................................... 16 
การเลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand ......................................................................................................... 19 
การย่อ/ขยายมุมมองของภาพด้วยเครื่องมือ Zoom.................................................................................... 19 
การใช้งาน .............................................................................................................................................. 20 
Layers Palette ........................................................................................................................................ 21 
การเลือกสี .............................................................................................................................................. 24 
Palette สําหรับการปรับแต่งตัวอักษร ...................................................................................................... 27 
การสร้างจุดไข่ปลารอบ ๆ รูป ................................................................................................................. 28 
การทํารูปขอบพับมุม .............................................................................................................................. 34 
การสร้างข้อความที่มีพื้นตัวอักษรเป็นรูปภาพต่าง ๆ ................................................................................. 39 
การเปลี่ยนสีภาพ ..................................................................................................................................... 42 
การทําภาพโพลาลอยด์ ............................................................................................................................ 45 
การทําภาพให้พื้นหลังมีสีเทา ภาพหลักสี ................................................................................................. 50 
การทํา Background ลายอมยิ้ม ................................................................................................................ 54 
 
Page 3
 
   
 
การสร้างไฟล์ภาพใหม่
ขั้นตอนในการสร้างไฟล์ภาพใหม่ 
1. คลิกที่เมนู File > New 
2. กําหนดขนาดความกว้าง และความยาวของภาพตามต้องการ 
• Width : ความกว้างของภาพ 
• Height : ความสูงของภาพ 
3. กําหนดความละเอียดของภาพ (Resolution) 
4. เลือกโหมดสีของภาพ (Color Mode) 
5. เลือกลักษณะของพื้นหลัง ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ 
• White : ให้พื้นหลังมีสีขาว 
• Background Color : ให้พื้นหลังเป็นสีตามที่กําหนด 
• Transparent : ให้พื้นหลังเป็นแบบโปร่งใส 
6. คลิกปุ่ม  Ok 
 
 
 
 
 
Page 4
 
   
 
การเปิ ดไฟล์ภาพ
ขั้นตอนในการเปิ ดไฟล์ภาพ 
7. คลิกที่เมนู File > Open 
8. คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด 
9. คลิกปุ่ม  
10. ไฟล์ภาพจะปรากฏบนพื้นที่ของโปรแกรม 
 
 
 
 
 
 
Page 5
 
   
 
การจัดเก็บไฟล์ภาพ
ขั้นตอนในการจัดเก็บไฟล์ภาพ 
1. คลิกที่เมนู File > Save As 
2. เลือก Drive และ Folder ที่จะใช้เก็บไฟล์ 
3. ตั้งชื่อไฟล์ 
4. คลิกปุ่ม  
Note  :  ถ้าต้องการบันทึกเพื่อใช้ในการแก้ไขครั้งต่อไปให้บันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .psd แต่ถ้าต้องการ
บันทึกเพื่อนําไฟล์ไปใช้งานให้บันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .gif , jpg หรือ png 
 
 
 
 
Page 6
 
   
 
การนําเข้าภาพ
ขั้นตอนในการนําเข้าภาพ 
1. เลือกคําสั่ง File > Place 
2. เลือก Drive และ Folder ที่เก็บไฟล์ภาพ 
3. คลิกเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการวาง 
4. คลิกปุ่ม Place 
5. ภาพจะปรากฏบนหน้าจอ ให้ปรับขนาด และตําแหน่งตามต้องการ 
6. กดคีย์ Enter เพื่อยืนยัน 
 
 
 
 
 
Page 7
 
   
 
เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox)
 
 
•    Move : ใช้ในการย้ายพื้นที่ที่เลือกไว้ หรือย้ายเส้น Guide 
•    Marquee  :  ใช้ในการเลือกพื้นที่บนภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี หรือ เลือกเป็น
แถว คอลัมน์ที่ขนาด 1 Pixel 
•    Lasso : ใช้เลือกพื้นที่บนภาพแบบอิสระ 
•    Magic Wand / Quick Selection : ใช้เลือกพื้นที่จากสีที่ใกล้เคียงกัน 
•    Crop : ใช้ตัดขอบภาพ 
•    Slice / Slice Select : ใช้ตัดแบ่งภาพเป็นภาพย่อย ๆ สําหรับนําไปสร้างเว็บเพจ 
•    Healing Brush / Patch / Red Eye : ใช้ตกแต่งลบรายตําหนิในภาพ และแก้ปัญหาตา
แดงในภาพถ่าย 
 
Page 8
 
   
 
•    Brush / Pencil  : ใช้ระบายสีภาพเหมือนกับพู่กัน หรือดินสอ เพื่อเปลี่ยนสีให้กับวัตถุ 
•    Clone / Pattern Stamp : ใช้ทําสําเนาภาพโดยการคัดลอกภาพจากบริเวณอื่น ๆ มา
ระบาย หรือระบายด้วยลวดลายที่เลือก 
•    History / Art History Brush : ใช้ระบายภาพด้วยภาพเดิมที่ผ่านมา 
•    Eraser : ใช้ลบภาพ 
•    Gradient / Paint Bucket : ใช้เติมสีแบบไล่ระดับโทนสี หรือเทสีลงบนพื้นที่ของภาพ 
•    Blur / Sharpen / Smudge : ใช้ระบายสีให้เบลอ หรือ คมชัดขึ้น 
•    Dodge  /  Burn  /  Sponge  :  ใช้ระบายเพื่อเพิ่มความสว่าง/มืดของสี หรือเพิ่ม/ลด
ความสดของสี 
•    Pen / Anchor Point : ใช้วาดเส้น Path 
•    Type : ใช้พิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ 
•    Path / Direct Selection : ใช้เลือกและปรับแต่งเส้น Path 
•    Shape : ใช้วาดรูปทรงเรขาคณิต หรือ รูปทรงสําเร็จรูป 
•    Note / Audio Annotation : ใช้บันทึกหมายเหตุกํากับภาพ 
•    Eyedropper  /  Color  Sampler  /  Ruler  /  Count  :  ใช้เลือกสี หรือ วัดระยะและมุม
ระหว่างจุดต่าง ๆ บนภาพ หรือ ใช้นับจํานวนวัตถุบนภาพ 
•    Hand : ใช้เลื่อนดูส่วนต่าง ๆ ของภาพ 
•    Zoom : ใช้ย่อ / ขยายมุมมองภาพ 
 
การปรับขนาดและความละเอียดของภาพ
การปรับขนาดของภาพ มี 2 วิธี ได้แก่
 
Page 9
 
   
 
1. การปรับโดยเพิ่ม/ลดจํานวน Pixel ของภาพ (Pixel Dimensions) 
2. การปรับ Document Size และ Resolution โดยให้จํานวน Pixel คงเดิม 
 
 
ขั้นตอนในการปรับขนาดของภาพด้วยวิธีปรับ Document Size 
1. คลิกที่เมนูหลัก เลือกคําสั่ง Image > Image Size 
2. คลิก Resample Image ออก เพื่อให้จํานวน Pixel คงเดิม 
3. กําหนดค่า Width , Height และ Resolution ใหม่ 
4. คลิกปุ่ม Ok 
 
 
Page 10
 
   
 
การปรับรูปทรงของภาพ (Transform)
 
ขั้นตอนในการปรับรูปทรงของภาพ 
1. คลิกที่เมนูหลักเลือก Edit > Transform  
2. คลิกเลือกคําสั่งปรับรูปทรง 
คําสั่งในการปรับรูปทรง มีดังนี้ 
• Scale     : ปรับขนาด 
• Rotate     : หมุนภาพ 
• Skew   : บิดด้านหรือมุมของภาพไปตามแนวกรอบด้านใดด้านหนึ่ง 
• Distort    : บิดด้านหรือมุมของภาพไปตามแนวอย่างอิสระ 
• Perspective  : บิดภาพให้เกิดสัดส่วนแบบใกล้ไกล 
• Warp   : บิดและดึงส่วนต่าง ๆ อย่างอิสระ 
 
 
การเลือกพื้นที่บนภาพ (Selection & Mask)
เครื่องมือกลุ่ม Marquee : ใช้ในการเลือกพื้นที่บนภาพเป็นรูปทรงเรขาคณิต
 
o Rectangular Marquee : ใช้เลือกพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
o Elliptical Marquee : ใช้เลือกพื้นที่รูปวงกลม หรือวงรี
o Single Row Marquee : ใช้เลือกพื้นที่ในแนวนอน ขนาด 1 Pixel
o Single column Marquee : ใช้เลือกพื้นที่ในแนวตั้ง ขนาด 1 Pixel
 
ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Marquee
เลือกเครื่องมือ  Maquee ที่ต้องการจาก Toolbox 1.
กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar 2.
ใช้เมาส์คลิกลากให้คลุมพื้นที่ที่ต้องการ จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น 3.
 
เครื่องมือกลุ่ม Lasso : ใช้ในการเลือกพื้นที่แบบอิสระ
 
o Lasso : ใช้เลือกพื้นที่ด้วยการใช้เมาส์คลิกลากไปตามส่วนต่าง ๆ ของ
ภาพตามต้องการ 
o Polygonal Lasso : ใช้เลือกพื้นที่ด้วยการใช้เมาส์คลิกเพื่อสร้างรูปหลายเหลี่ยม
ล้อมรอบพื้นที่ 
o Magnetic Lasso : ใช้เลือกพื้นที่โดยให้โปรแกรมกําหนดขอบเขตเองโดย
อัตโนมัติ ตามเส้นทางที่เมาส์เลื่อนผ่านไป 
Page 11 
   
   
 
Page 12
 
   
 
ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Lasso
1. เลือกเครื่องมือ Lasso จาก Toolbox 
2. กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar 
3. ใช้เมาส์คลิกลากรอบพื้นที่ที่ต้องการเลือก จนวนกลับไปที่จุดเริ่มต้นอีกครั้ง จะเห็นมีเส้น
ล้อมรอบภาพเกิดขึ้น 
 
เครื่องมือ Magic Wand : ใช้เลือกพื้นที่โดยการดูจากค่าสีที่ใกล้เคียงกันในตําแหน่งที่
เราคลิก
ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Magic Wand 
o เลือกเครื่องมือ Magic Wand จาก Toolbox
o กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar
o ใช้เมาส์คลิกบริเวณของสีที่เราต้องการเลือก จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น
 
เครื่องมือ Crop : ใช้เลือกพื้นที่ของภาพโดยการเพิ่ม และตัดขอบภาพ
ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Crop 
o เลือกเครื่องมือ Crop จาก Toolbox
o ใช้เมาส์คลิกลากบนภาพเป็นกรอบสี่เหลี่ยมบริเวณที่ต้องการ
o กดคีย์ Enter เพื่อยืนยัน จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น
 
Page 13
 
   
 
การตัดแบ่งภาพออกเป็นหลายชิ้นส่วน
เครื่องมือ Slice : ใช้ในการตัดแบ่งภาพออกเป็นชิ้นส่วน
 
o Slice : ใช้ตัดแบ่งภาพออกเป็นชิ้นส่วน
o Slice Select : ใช้เลือกและจัดการกับภาพแต่ละชิ้นส่วน
 
ขั้นตอนในการสไลด์ภาพ 
1. เปิดภาพ หรือสร้างภาพขึ้นมา 
2. คลิกเลือก   Slice จาก Toolbox 
3. คลิกเมาส์ลากวาดเป็นกรอบสี่เหลี่ยมลงบนภาพ เพื่อตัดแบ่งเป็นชิ้นส่วน 
4. เมื่อคลิกเมาส์ตัดแบ่งชิ้นส่วนแล้ว ถ้าต้องการปรับปรุงแก้ไขให้คลิกเลือก Slice Select เพื่อ
ปรับแก้ไข 
 
การพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ
เครื่องมือที่ใช้จะเป็นเครื่องมือในกลุ่ม Type
 
o Horizontal Type : ใช้พิมพ์ข้อความแนวนอน
o Vertical Type : ใช้พิมพ์ข้อความแนวตั้ง
o Horizontal Type Mask : ใช้สร้าง Selection ให้พิมพ์ข้อความในแนวนอน
o Vertical Type Mask : ใช้สร้าง Selection ให้พิมพ์ข้อความในแนวตั้ง
   
ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความแนวนอน  
เลือกเครื่องมือ Horizontal Type จาก Toolbox 1.
คลิกตรงบริเวณที่ต้องการวางข้อความ 2.
พิมพ์ข้อความตามต้องการ 3.
4. ปรับแต่งข้อความได้จาก Options Bar ด้านบน หรือ Character และ Paragraph 
Palette 
 
 
Page 14 
   
   
 
Page 15
 
   
 
ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความภายในรูปทรง 
1. เลือกเครื่องมือ Pen เพื่อสร้างเส้น Path ปลายปิด หรือสร้างรูปทรงอิสระ 
2. เลือกเครื่องมือ Horizontal Type จาก Toolbox 
3. คลิกภายในรูปทรง แล้วพิมพ์ข้อความ 
 
ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความตามเส้น Path 
1. เลือกเครื่องมือ Pen จาก Toolbox 
2. วาดเส้น Path เป็นเส้นโค้ง หรือ รูปทรงอิสระ 
3. เลือกเครื่องมือ Horizontal Type 
4. คลิกบนเส้น Path ตรงตําแหน่งที่จะเริ่มพิมพ์ 
5. กําหนด Option ของตัวอักษร จาก Options Bar เพื่อกําหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น ชนิด
ตัวอักษร ขนาดตัวอักษร เป็นต้น 
6. พิมพ์ข้อความตามต้องการ 
 
การวาดและตกแต่งภาพ
เครื่องมือ Brush และ Pencil : ใช้ในการวาดรูป
 
ขั้นตอนในการวาดรูปด้วยเครื่องมือ Brush 
เลือกเครื่องมือ  Brush หรือ  Pencil จาก Toolbox 1.
2. คลิกเลือกสีของหัวแปรง หรือ ปรับลักษณะรูปแบบของหัวแปรงได้จาก Brush Palette หรือ
จาก Options Bar 
 
วาดหรือระบายสีบนพื้นที่ภาพตามต้องการ 3.
Page 16 
   
   
 
Page 17
 
   
 
เครื่องมือ Pen : ใช้ในการวาดเส้น Path
 
o Pen : ใช้วาดเส้น Path ด้วยวิธีคลิกเพื่อกําหนดจุดตําแหน่ง
o Freeform Pen : ใช้วาดเส้น Path ด้วยวิธีคลิกลากเมาส์แบบอิสระ
o Add Anchor Point : ใช้เพิ่มจุด
o Delete Anchor Point : ใช้ลบจุด
o Convert Point : ใช้เปลี่ยนจส่วนโค้งเป็นมุม หรือกลับกัน
 
 
 
ขั้นตอนในการวาดเส้น Path 
1. เลือกเครื่องมือ Pen จาก Toolbox 
2. คลิกบนพื้นที่ของภาพเป็นจุดหลาย ๆ จุด เพื่อใช้ในการสร้างภาพขึ้นมา วนกลับ
มาถึงจุดเริ่มต้น เป็นการสร้างเส้น Path แบบปิด 
3. เลือกเครื่องมือ Add Anchor Point เมื่อต้องการเพิ่มจุด เพื่อปรับลักษณะของภาพ
ที่วาด  
4. เลือกเครื่องมือ Delete Anchor Point  เมื่อต้องการลบจุด เพื่อปรับลักษณะของ
ภาพที่วาด 
เครื่องมือ Shape : ใช้ในการวาดรูปทรงเรขาคณิต และรูปทรงสําเร็จรูป
 
 
o Rectangle ใช้วาดรูปสี่เหลี่ยม
o Rounded Rectangle ใช้วาดรูปสี่เหลี่ยมมุมโค้ง
o Ellipse ใช้วาดรูปวงกลม และวงรี
o Polygon ใช้วาดรูปหลายเหลี่ยม และรูปดาว
o Line ใช้วาดเส้น
o Custom Shape ใช้วาดรูปทรงสําเร็จรูปต่าง ๆ ที่โปรแกรมกําหนดมาให้
 
 
 
Page 18 
   
   
 
Page 19
 
   
 
ขั้นตอนในการวาดรูปทรงเรขาคณิต และรูปทรงสําเร็จรูป
1. เลือกเครื่องมือในการวาดรูปทรงเรขาคณิต จาก Toolbox 
2. คลิกเมาส์ลากลงบนพื้นที่ภาพ เพื่อวาดภาพตามต้องการ 
3. ปรับสีเส้น และสีที่เติมในพื้นที่ภาพตามต้องการ 
 
เครื่องมือ Selection : ใช้ในการปรับแต่งเส้นพาธ
 
 
o Path Selection ใช้ในการย้าย หมุน หรือปรับขนาดเส้น Path ทั้งเส้น
o Direct Selection ใช้ในการเลือกจุดเพื่อดัดแปลงรูปทรงของเส้น Path
 
การเลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand
ขั้นตอนในการการเลื่อนดูภาพ 
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Hand จาก Toolbox 
2. เลื่อนเมาส์ไปคลิกลากบนภาพ 
 
การย่อ/ขยายมุมมองของภาพด้วยเครื่องมือ Zoom
ขั้นตอนในการซูมภาพ 
1. คลิกเลือก เครื่องมือ Zoom จาก Toolbox 
2. เลื่อนเมาส์ไปคลิก หรือวาดเป็ดกรอบสี่เหลี่ยมบนภาพ 
• ใช้ขยายมุมมองของภาพ 
• ใช้ย่อมุมมองของภาพ 
การใช้งาน Palette 
  Palette เป็น Window เล็ก ๆ ที่ใช้สําหรับแสดงรายละเอียด หรือควบคุมการทํางานต่าง ๆ ของ
โปรแกรม
               
วิธีเปิ ด / ปิ ด Palette : เลือกคําสั่ง Window > ชื่อ Palette
 
Page 20 
   
   
 
Page 21
 
   
 
Layers Palette
 
การซ่อน/แสดง Layer : ทําได้โดยการคลิกในช่องหน้า Layer
o เปิด Layer
o ปิด Layer
การสร้าง Layer ใหม่ : คลิกที่ เพื่อสร้าง Layer ใหม่
การคัดลอก Layer : คลิกลาก Layer ไปวางทับปุ่ม
การลบ Layer : คลิกลาก Layer ไปวางทับที่ปุ่ม
การจัดกลุ่มให้ Layer (Group) :
1. คลิกที่ปุ่ม เพื่อสร้างกลุ่ม Layer แล้ว 
2. คลิก Layer ที่ต้องการจัดกลุ่ม ลากไปวางทับกลุ่ม Layer ที่สร้างขึ้นมา 
การปรับความทึบของ Layer
 
 
o Opacity : เป็นค่าความทึบหลัก ซึ่งจะส่งผลทั้งต่อภาพใน Layer และ Style ที่เรา
กําหนดให้ layer นั้นด้วย
o Fill : เป็นค่าที่ส่งผลต่อภาพใน Layer เท่านั้น โดยไม่มีผลต่อ Style ของ Layer
 
Page 22
 
   
 
การย้าย Layer ออกจากกลุ่ม : ทําได้โดยคลิกลาก Layer ย้ายไปแทรกระหว่าง Layer
อื่นที่อยู่นอกกลุ่ม
การรวม Layer (Merge) : คือการรวมภาพหลาย ๆ Layer เข้าด้วยกันให้เป็น Layer
เดียว ซึ่งโปรแกรมจะทําการซ้อนทับ Layer ต่าง ๆ ทํานํามารวมกัน หลังจากรวมแล้วก็
จะไม่สามารถแก้ไขภาพแต่ละส่วนได้อย่างอิสระอีก
o Merge Down : รวม Layer ปัจจุบันเข้ากับ Layer ที่อยู่ถัดลงไปด้านล่าง 1 Layer
o Merge Visible : รวมทุก ๆ Layer ที่แสดงอยู่ในขณะนั้น
o Flatten Image : รวม Layer ทั้งหมดให้กลายเป็น Layer Background เพียง Layer
เดียว
 
แบบต่าง ๆLayer Effect
o Drop Shadow : สร้างเงาแบบตกบนพื้นหลังของภาพ
o Inner Shadow : สร้างเงาบริเวณขอบภายในของภาพ จะทําให้ภาพดูยุบลง
o Outer Glow : สร้างแสงเรืองบริเวณขอบด้านนอกของภาพ
o Inner Glow : สร้างแสงเรืองบริเวณขอบด้านในของภาพ
o Bevel and Emboss : เพิ่มแสงและเงาตามส่วนต่างๆ ของภาพจะทําให้ภาพดูนูนขึ้น
o Contour : ใช้ในการปรับลักษณะการนูนของภาพให้เป็นแบบต่าง ๆ
o Texture : ใช้เพิ่มลวดลายพื้นผิว
o Satin : ทําให้พื้นผิวของภาพมีสีเหลื่อมเป็นเงา
o Color Overlay : เติมสีภายในภาพ
o Gradient Overlay : เติมสีแบบไล่เฉดสีภายในภาพ
o Pattern Overlay : เติมลวดลายพื้นผิวภายในภาพ
o Stroke : เติมเส้นขอบให้ภาพ
Page 23 
   
   
 
Page 24
 
   
 
การเลือกสี
สี Foreground และ Background
เป็นส่วนที่ใช้ในการเลือกสีให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ การเลือกสี Foreground และ
Background นี้ทําได้โดยใช้เครื่องมือบน Toolbox 
วิธีการเปลี่ยนสีของ Foreground และ Background
1. คลิกที่ช่องสี Foreground หรือ Background บน Toolbox 
2. จะแสดง Dialog Box Color Picker 
3. คลิกเลือกตรงสีที่ต้องการ 
4. คลิกปุ่ม Ok 
 
 
 
 
Page 25
 
   
 
Color Palette
 
 
o การเปิด / ปิด Color Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > color
 
ขั้นตอนในการใช้สีใน Color Palette 
1. คลิกเลือกว่าต้องการเปลี่ยนสี Foreground หรือ Background 
2. คลิกเลือกสีที่ต้องการ 
Swatches Palette
เป็น Palette  ที่ใช้สําหรับเก็บสีต่าง ๆ ที่ต้องใช้บ่อย ๆ เอาไว้ เพื่อให้เรียกกลับมาได้
สะดวก
 
o การเปิด / ปิด Swatches Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > Swatches
 
ขั้นตอนในการใช้สีใน Swatches Palette 
1. คลิกเลือกว่าต้องการเปลี่ยนสี Foreground หรือ Background  
2. คลิกเลือกสีที่ต้องการ 
 
เลือกสี
Foreground 
Background 
 
Page 26
 
   
 
Styles Palette
 
o การเปิด / ปิด Styles Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > Swatches
วิธีการเรียกใช้ Styles สําเร็จรูป
1. เลือก Layer  
2. คลิกเลือก Styles ที่ต้องการ 
 
 
Page 27
 
   
 
Palette สําหรับการปรับแต่งตัวอักษร
Character Palette
ประกอบด้วย Options  ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดรูปแบบตัวอักษร เช่น ชนิดตัวอักษร
ลักษณะตัวอักษร ขนาดตัวอักษร เป็นต้น
 
 
Paragraph
ประกอบด้วย Options ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดตําแหน่งของข้อความ เช่น ชิดซ้าย ตรง
กลาง ชิดขวา เต็มขอบ เป็นต้น
 
 
Page 28
 
   
 
Workshop
การสร้างจุดไข่ปลารอบ ๆ รูป
 
 
 
 
Page 29
 
   
 
ขั้นตอนในการสร้างจุดไข่ปลารอบ ๆ รูป 
1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 
 
 
2. เลือกเครื่องมือ  Wand หรือ เครื่องมืออื่นๆ จาก Toolbox โดยดูจากลักษณะของภาพ เพื่อ
ทําการ Selection  
3. ทํา Selection รอบรูปที่เราต้องการ 
 
 
 
 
Page 30
 
   
 
4. เลือกคําสั่ง Select > Modify > Expand  เพื่อขยับระยะห่างออกมาจากภาพที่เลือก 
 
 
 
5. ใส่ค่าระยะตามต้องการ ในที่นี้ใส่ค่าประมาณ 8px  แล้วคลิกปุ่ม Ok 
 
 
6. จะได้ภาพที่มีเส้น Selection ห่างออกมาจากภาพ 
 
 
 
Page 31
 
   
 
7. เลือกเครื่องมือ  Brush จาก Toolbox 
8. ที่ Brush Tip Shape ให้เลือกหัวแปรงขนาดตามต้องการ และ ที่ Spacing ให้ปรับค่าระยะห่างของ
จุดไข่ปลา 
 
9. ไปที่ Paths Palette กดปุ่ม   Make work path from selection   เพื่อสร้าง Path ใหม่เพิ่มขึ้น
อีก 1 อัน 
 
10. จะได้ภาพที่มีเส้น Path ล้อมรอบ 
 
 
Page 32
 
   
 
11. เลือกสี Foreground  ที่ต้องการ 
12. คลิกขวาที่ Path ที่เราเพิ่งสร้างขึ้นมา แล้วเลือกคําสั่ง Stroke Path 
 
13. ให้เลือก Brush แล้วคลิกปุ่ม Ok 
 
 
14. จะได้ภาพที่เป็นลายจุดไข่ปลาขึ้นมาตามเส้น Path 
 
 
 
Page 33
 
   
 
15. คลิกเลือก Work Pathใน Path Palette  แล้วลากไปที่ปุ่ม เพื่อลบ Path 
 
 
 
16. จบขั้นตอนการสร้าง 
 
Page 34
 
   
 
การทํารูปขอบพับมุม
 
 
 
Page 35
 
   
 
ขั้นตอนในการทํารูปขอบพับมุม 
1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 
 
 
 
2. คลิกที่ Layer ภาพต้นฉบับ แล้วคลิกเมาส์ลากไปที่ปุ่ม เพื่อทําการ Duplicate Layer ต้นฉบับ
ให้สามารถทําการแก้ไขได้ 
 
 
 
Page 36
 
   
 
3. เลือกคําสั่ง Edit > Transform > Warp 
 
 
4. จะมีเส้นปรากฏขึ้นดังภาพ 
 
 
 
Page 37
 
   
 
5. ใช้เมาส์ดึงมุมล่างขวาของภาพขึ้นมา แล้วคลิกที่ เพื่อยืนยัน 
 
 
 
6. คลิกขวาที่ Layer ภาพ เลือก Blending Options 
 
 
7. Blending Mode > Drop Shadow เพื่อใส่เงาให้ภาพ โดยปรับแต่งเงาตามต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Ok 
 
 
 
สร้าง Layer ใหม่ 1 Layer  แล้วคลิกลากย้ายไปไว้ใต้ Layer ภาพ 8.
 
เลือกสี Foreground เป็นสีขาว 9.
เลือกเครื่องมือ Paint Bucket จาก Toolbox เพื่อเทสีขาวลงบน Layer ใหม่ 10.
จบขั้นตอนการสร้างภาพ11.
Page 38 
   
   
 
Page 39
 
   
 
การสร้างข้อความที่มีพื้นตัวอักษรเป็นรูปภาพต่าง ๆ
 
 
 
ขั้นตอนในการสร้างข้อความพื้นตัวอักษรรูปภาพ 
1. สร้างไฟล์ภาพใหม่  
2. คลิกเครื่องมือ Horizontal  Type จาก Toolbox 
3. ไปที่ Character Palette  เพื่อปรับแต่งลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษร 
 
 
4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการแสดง แล้วคลิกปุ่ม ที่ Options Bar เพื่อยืนยัน 
 
 
5. เลือกคําสั่ง File > Place เพื่อนําไฟล์ภาพเข้ามา 
 
 
Page 40
 
   
 
 
 
6. คลิกขวาที่ Layer ภาพ แล้วเลือก Create Clipping Mask 
 
 
7. จะปรากฏดังภาพ 
 
 
เลือกเครื่องมือ  Move  ลากบนภาพ เพื่อปรับตําแหน่งของภาพตามต้องการ 8.
จบขั้นตอนการสร้างภาพ 9.
 
 
 
Page 41 
   
   
 
Page 42
 
   
 
การเปลี่ยนสีภาพ
 
 
 
 
Page 43
 
   
 
ขั้นตอนในการเปลี่ยนสีภาพ
1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 
 
 
 
2. เลือกคําสั่ง Image>Adjustments>Hue/Saturation 
 
 
3. คลิก  Preview  เพื่อให้แสดงภาพทันทีที่มีการปรับเปลี่ยน 
 
 
 
เลื่อน Scale สีต่าง ๆ ให้ได้สีตามต้องการ  แล้วคลิกปุ่ม Ok 4.
จบขั้นตอนการสร้างภาพ 5.
Page 44 
   
   
 
Page 45
 
   
 
การทําภาพโพลาลอยด์
 
 
 
 
Page 46
 
   
 
ขั้นตอนในการทําภาพโพลาลอยด์
1. สร้างไฟล์ภาพใหม่โดยใช้ Background สีขาว  โดยสร้างขนาดให้ใหญ่กว่าภาพจริงเล็กน้อย 
 
 
 
2. คลิกที่ เพื่อสร้าง Layer ใหม่  
 
 
3. เลือกสี Foreground  ตามต้องการ แล้วเทสีที่เลือกลงบน Layer ใหม่ 
 
Page 47
 
   
 
4. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 
 
 
 
5. คลิกเลือกที่ Layer ใหม่  แล้วเลือกคําสั่ง Edit > Free Transform  เพื่อปรับขนาดให้ใหญ่กว่าภาพ
ต้นฉบับ ปรับขนาดให้ดูสวยงาม 
 
 
 
 
Page 48
 
   
 
6. เมื่อปรับเสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม ที่ Options Bar เพื่อยืนยัน
 
 
 
7. เลือกคําสั่ง Layer > Layer Style > Drop Shadow เพื่อใส่เงาให้กับภาพ 
 
 
8. ปรับแต่งค่าตามต้องการ  แล้วคลิกปุ่ม Ok 
 
 
 
ภาพจะมีเงาปรากฏขึ้น ให้ตกแต่งข้อความตามต้องการ 9.
จบขั้นตอนการสร้างภาพ 10.
 
 
Page 49 
   
   
 
Page 50
 
   
 
การทําภาพให้พื้นหลังมีสีเทา ภาพหลักสี
 
 
 
ขั้นตอนในการทําภาพพื้นหลังสีเทา ภาพหลักสี
เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 1.
 
 
 
คลิกลาก Layer ไฟล์ภาพต้นฉบับ ไปที่ปุ่ม      เพื่อ Duplicate Layer ภาพต้นฉบับ  2.
เลือก Layer รูป แล้วเลือกคําสั่ง Image > Adjustments > Desaturate 3.
 
Page 51 
   
   
 
Page 52
 
   
 
4.  จะได้ภาพมีสีขาว ดํา 
 
5. เลือกเครื่องมือ Eraser   ลบบริเวณที่ต้องการให้มีสีปกติ 
 
 
เลือกคําสั่ง Layer > Flatten Image เพื่อรวม Layer 6.
 
 
จบขั้นตอนการสร้างภาพ 7.
Page 53 
   
   
 
Page 54
 
   
 
การทํา Background ลายอมยิ้ม
 
 
 
ขั้นตอนในการทํา Background ลายอมยิ้ม
สร้าง Pattern ใหม่ โดยการสร้างไฟล์ภาพใหม่ และกําหนดขนาดเป็น 50 x 50 พื้นสีขาว 1.
 
 
เลือกเครื่องมือ Marquee  มาทํา Selection บนพื้นที่ตามภาพ โดยเลือก ที่ Options 
Bar  เพื่อให้สามารถทําแบบต่อเนื่องได้   
2.
 
 
 
 
Page 55 
   
   
 
Page 56
 
   
 
3. เลือกสีที่ต้องการเทลงใน Selection แล้วกดปุ่ม Ctrl + D เพื่อลบ Selection 
4. กด Ctrl + A  ที่ Keyboard  1 ครั้ง แล้วเลือกคําสั่ง Edit > Define Pattern  เพื่อสร้าง Pattern ใหม่ 
 
 
 
5. สร้างไฟล์ภาพใหม่ขึ้นมาอีกครั้ง โดยกําหนดขนาดตามต้องการ 
6. สร้าง Layer ใหม่ 
 
Page 57
 
   
 
7. กดปุ่ม Shift + F5  จะมีหน้าจอให้กําหนด Fill Pattern  เลือก Use : Pattern  และคลิกที่ Custom 
Pattern เป็น Pattern ที่เราเพิ่งสร้างใหม่ แล้วคลิกปุ่ม Ok 
 
 
8. จะปรากฏลายบนพื้นที่ภาพ 
 
 
 
Page 58
 
   
 
9. เลือกคําสั่ง Filter > Distort > Polar Coordinates 
 
 
10. จะปรากฏหน้าจอ Polar Coordinates  คลิกปุ่ม Ok 
 
 
เลือกคําสั่ง Filter > Distort > Twirl 11.
 
 
 
จะปรากฏหน้าจอ ปรับค่าตามภาพ แล้วคลิกปุ่ม Ok 12.
 
 
จบขั้นตอนการสร้างภาพ 13.
Page 59 
   
   

More Related Content

Similar to Photoshop cs3

คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์พัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกainam29
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสีPakornkrits
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
illustrator & design workshop
illustrator & design workshopillustrator & design workshop
illustrator & design workshopBhuridech Sudsee
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2krujew
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2kroopoom ponritti
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพเทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to Photoshop cs3 (20)

คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่งบทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
 
1.3
1.31.3
1.3
 
1.6
1.61.6
1.6
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
illustrator & design workshop
illustrator & design workshopillustrator & design workshop
illustrator & design workshop
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
EbookPictureFormat
EbookPictureFormatEbookPictureFormat
EbookPictureFormat
 
7.2
7.27.2
7.2
 

Photoshop cs3

  • 2. ทําความรูจักกับโปรแกรม Photoshop CS3 โปรแกรม Photoshop เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางหรือตกแตงภาพกราฟก ซึ่งตัวโปรแกรม สามารถจัดการไดทั้งภาพ Bitmap และ ภาพ Vector • ภาพ Bitmap หรือ ภาพ Raster เปนภาพที่ประกอบขึ้นมาจากจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกวา Pixel มาเรียงตอกันจนกลาย เปนภาพ เมื่อมองดูโดยรวม ตาเราจะเห็นเปนภาพเสมือนจริง แตเมื่อมีการปรับขนาด ของภาพจะทําใหความคมชัดของภาพลดลง ไฟลภาพประเภทนี้ ไดแก .gif .jpg และ .bmp เปนตน
  • 5. • ภาพ Vector เปนภาพที่เกิดขึ้นจากการคํานวณของโปรแกรม ทําใหเกิดเสนและรูปทรงตาง ๆ เมื่อมีการปรับขนาดของภาพ ความคมชัดของภาพจะยังคงไมเสียไป ไฟลภาพประเภทนี้ ไดแก .ai และ .swf เปนตน Resolution of graphic / ความละเอียดของ กราฟฟก Resolution คือ การวัดของไฟลที่ออกมาวามีคุณภาพ หรือความละเอียดเทาไร โดยใชการวัด จากหนวย pixel หรือ dot - Pixel คือจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่อยูในภาพ หรือ ประกอบเปนภาพที่คุณเห็นในจอคอมพิวเตอรหรือทีวี - DPI (dot per inch) คือ หนวยแสดงความละเอียด หรือ คุณภาพของงานพิมพ หรือหมายถึง จํานวนจุดตอ 1 ตารางนิ้วบนภาพประเภท raster ไฟลที่เหมาะสมกับงานพิมพจะเปน 300 dpi แตถาทํางานอื่นๆ เชน web, presentation ที่อาศัยแค การแสดงผลทางหนาจอคอมพิวเตอร ไฟลที่เหมาะสมจะเปน 72 หรือ 96 dpi
  • 6. สวนประกอบหนาจอโปรแกรม - เมนูหลัก (Menu Bar) จะประกอบดวยกลุมคําสั่งตางๆ ที่ใชจัดการกับไฟล, ทํางานกับรูปภาพ และใชปรับแตงการทํางานของโปรแกรมโดยแบงตามลักษณะการใชงาน ซึ่งในบางเมนูหลักจะมีเมนูยอย ซอนอยู ซึ่งเราตองเปดเขาไปเพื่อเลือกคําสั่งภายในอีกที - แถบเครื่องมือ (Toolbox) จะประกอบดวยเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวาด ตกแตง และแกไขภาพ เครื่องมือเหลานี้มีจํานวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวบรวมเครื่องมือที่ทําหนาที่คลายๆ กัน ไวในปุมเดียวกัน - แถบตัวเลือก (Option Bar) เปนสวนที่ใชปรับแตงคาการทํางานของเครื่องมือตางๆ โดยรายละเอียด ใน Option Bar จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่คุณเลือกใช - แถบพาเนล (Panel) เปนวินโดวยอยๆ ที่ใชเลือกรายละเอียด หรือคําสั่งควบคุมการทํางานตางๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยูเปนจํานวนมาก เชน Color ใชสําหรับเลือกสี, Layers ใชสําหรับจัดการกับเลเยอร, Info ใชแสดงคาสีตรงตําแหนงที่เมาสชี้ รวมถึงขนาดตําแหนงของพื้นที่ที่เลือกไว
  • 7. สิ่งที่ควรรูกอนใชงาน Photoshop CS3 1. ความละเอียดของภาพ (Resolution) คาความละเอียดของภาพ มีหนวยเปน Pixels ตอตารางนิ้ว ซึ่งหากคาความละเอียดมาก จํานวนพิกเซลก็จะ มากตามไปดวย และทําใหภาพมีคุณภาพมากขึ้น สามารถตรวจสอบได โดยคลิกที่เมนู Image –> Image Size 2. เลเยอร (Layers) การตกแตงภาพตั้งแตสองภาพขึ้นไปบนหนาผลงานเดียวกันใน Photoshop จะอาศัยการซอนภาพเปนชั้นๆ เรียกวา เลเยอร (Layers)
  • 8. 3. โหมดสีที่สําคัญ (ไปที่เมนู Image < Mode) โหมดสีมีหลายชนิดและมีคุณสมบัติที่แตกตางกันควรเลือกใหเหมาะสมกับการใชงานแตละประเภท แตถาจะ กลาวถึงโหมดที่นิยม และมีผูใชกวางขวางที่สุดก็จะมีอยู ดังนี้ Grayscale เปนโหมดสีขาว/ดํา ที่ใหเฉดสี 256 สี มีการไลโทนน้ําหนักแสงเงา เหมาะกับงาน ออกแบบสีเดียว สามารถนําไปเปลี่ยนเปนสีอื่นแทนสีดําไดเมื่อเขาสูระบบการพิมพ ไฟลภาพมีขนาดเล็กกวา ไฟลขาว/ดําชนิดอื่นๆ Duotone เปนภาพที่มีสีมากกวาแบบขาว/ดํา สามารถใชสีไดสองโทนสีมาผสมกัน เหมาะกับงานที่ ตองการสีสัน แตใชตนทุนการพิมพไมมาก
  • 9. RGB Color เปนโหมดสีที่นิยมใชกันมาก สามารถพบไดจากภาพถายดิจิทัล งานออกแบบที่ แสดงผลทางจอมอนิเตอร สีกลุมนี้เกิดจากการผสมของแมสีแสง ไดแก สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และ สีน้ําเงิน (Blue) CMYK Color เปนโหมดสีที่ใชในระบบงานพิมพ ประกอบดวยสีสี่สี คือ สีฟา (Cyan) สีชมพูบานเย็น หรือชมพูมวง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) และสีดํา (Black) ในระบบงานพิมพมักจะเรียกวา พิมพสี่สี ซึ่งก็ คือการใชแมสีสี่สีนี้มาซอนกันจนเกิดเปนสีใหมมากมาย ที่ทําใหไดภาพสีสันสมจริงขึ้นมา
  • 10. สารบัญ  เริ่มต้นกับโปรแกรม Photoshop CS3 ........................................................................................................ 1  ประเภทของภาพ Graphic ......................................................................................................................... 1  ส่วนประกอบหน้าจอโปรแกรม ................................................................................................................ 2  การสร้างไฟล์ภาพใหม่ .............................................................................................................................. 3  การเปิดไฟล์ภาพ ....................................................................................................................................... 4  การจัดเก็บไฟล์ภาพ ................................................................................................................................... 5  การนําเข้าภาพ........................................................................................................................................... 6  เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) ......................................................................................................................... 7  การปรับขนาดและความละเอียดของภาพ .................................................................................................. 8  การปรับรูปทรงของภาพ (Transform) ..................................................................................................... 10  การเลือกพื้นที่บนภาพ (Selection & Mask) ............................................................................................. 11  การตัดแบ่งภาพออกเป็นหลายชิ้นส่วน .................................................................................................... 13  การพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ ................................................................................................... 14  การวาดและตกแต่งภาพ .......................................................................................................................... 16  การเลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand ......................................................................................................... 19  การย่อ/ขยายมุมมองของภาพด้วยเครื่องมือ Zoom.................................................................................... 19  การใช้งาน .............................................................................................................................................. 20  Layers Palette ........................................................................................................................................ 21  การเลือกสี .............................................................................................................................................. 24  Palette สําหรับการปรับแต่งตัวอักษร ...................................................................................................... 27  การสร้างจุดไข่ปลารอบ ๆ รูป ................................................................................................................. 28  การทํารูปขอบพับมุม .............................................................................................................................. 34  การสร้างข้อความที่มีพื้นตัวอักษรเป็นรูปภาพต่าง ๆ ................................................................................. 39  การเปลี่ยนสีภาพ ..................................................................................................................................... 42  การทําภาพโพลาลอยด์ ............................................................................................................................ 45  การทําภาพให้พื้นหลังมีสีเทา ภาพหลักสี ................................................................................................. 50  การทํา Background ลายอมยิ้ม ................................................................................................................ 54 
  • 11.   Page 3         การสร้างไฟล์ภาพใหม่ ขั้นตอนในการสร้างไฟล์ภาพใหม่  1. คลิกที่เมนู File > New  2. กําหนดขนาดความกว้าง และความยาวของภาพตามต้องการ  • Width : ความกว้างของภาพ  • Height : ความสูงของภาพ  3. กําหนดความละเอียดของภาพ (Resolution)  4. เลือกโหมดสีของภาพ (Color Mode)  5. เลือกลักษณะของพื้นหลัง ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ  • White : ให้พื้นหลังมีสีขาว  • Background Color : ให้พื้นหลังเป็นสีตามที่กําหนด  • Transparent : ให้พื้นหลังเป็นแบบโปร่งใส  6. คลิกปุ่ม  Ok         
  • 12.   Page 4         การเปิ ดไฟล์ภาพ ขั้นตอนในการเปิ ดไฟล์ภาพ  7. คลิกที่เมนู File > Open  8. คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด  9. คลิกปุ่ม   10. ไฟล์ภาพจะปรากฏบนพื้นที่ของโปรแกรม           
  • 13.   Page 5         การจัดเก็บไฟล์ภาพ ขั้นตอนในการจัดเก็บไฟล์ภาพ  1. คลิกที่เมนู File > Save As  2. เลือก Drive และ Folder ที่จะใช้เก็บไฟล์  3. ตั้งชื่อไฟล์  4. คลิกปุ่ม   Note  :  ถ้าต้องการบันทึกเพื่อใช้ในการแก้ไขครั้งต่อไปให้บันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .psd แต่ถ้าต้องการ บันทึกเพื่อนําไฟล์ไปใช้งานให้บันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .gif , jpg หรือ png       
  • 14.   Page 6         การนําเข้าภาพ ขั้นตอนในการนําเข้าภาพ  1. เลือกคําสั่ง File > Place  2. เลือก Drive และ Folder ที่เก็บไฟล์ภาพ  3. คลิกเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการวาง  4. คลิกปุ่ม Place  5. ภาพจะปรากฏบนหน้าจอ ให้ปรับขนาด และตําแหน่งตามต้องการ  6. กดคีย์ Enter เพื่อยืนยัน         
  • 15.   Page 7         เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox)     •    Move : ใช้ในการย้ายพื้นที่ที่เลือกไว้ หรือย้ายเส้น Guide  •    Marquee  :  ใช้ในการเลือกพื้นที่บนภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี หรือ เลือกเป็น แถว คอลัมน์ที่ขนาด 1 Pixel  •    Lasso : ใช้เลือกพื้นที่บนภาพแบบอิสระ  •    Magic Wand / Quick Selection : ใช้เลือกพื้นที่จากสีที่ใกล้เคียงกัน  •    Crop : ใช้ตัดขอบภาพ  •    Slice / Slice Select : ใช้ตัดแบ่งภาพเป็นภาพย่อย ๆ สําหรับนําไปสร้างเว็บเพจ  •    Healing Brush / Patch / Red Eye : ใช้ตกแต่งลบรายตําหนิในภาพ และแก้ปัญหาตา แดงในภาพถ่าย 
  • 16.   Page 8         •    Brush / Pencil  : ใช้ระบายสีภาพเหมือนกับพู่กัน หรือดินสอ เพื่อเปลี่ยนสีให้กับวัตถุ  •    Clone / Pattern Stamp : ใช้ทําสําเนาภาพโดยการคัดลอกภาพจากบริเวณอื่น ๆ มา ระบาย หรือระบายด้วยลวดลายที่เลือก  •    History / Art History Brush : ใช้ระบายภาพด้วยภาพเดิมที่ผ่านมา  •    Eraser : ใช้ลบภาพ  •    Gradient / Paint Bucket : ใช้เติมสีแบบไล่ระดับโทนสี หรือเทสีลงบนพื้นที่ของภาพ  •    Blur / Sharpen / Smudge : ใช้ระบายสีให้เบลอ หรือ คมชัดขึ้น  •    Dodge  /  Burn  /  Sponge  :  ใช้ระบายเพื่อเพิ่มความสว่าง/มืดของสี หรือเพิ่ม/ลด ความสดของสี  •    Pen / Anchor Point : ใช้วาดเส้น Path  •    Type : ใช้พิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ  •    Path / Direct Selection : ใช้เลือกและปรับแต่งเส้น Path  •    Shape : ใช้วาดรูปทรงเรขาคณิต หรือ รูปทรงสําเร็จรูป  •    Note / Audio Annotation : ใช้บันทึกหมายเหตุกํากับภาพ  •    Eyedropper  /  Color  Sampler  /  Ruler  /  Count  :  ใช้เลือกสี หรือ วัดระยะและมุม ระหว่างจุดต่าง ๆ บนภาพ หรือ ใช้นับจํานวนวัตถุบนภาพ  •    Hand : ใช้เลื่อนดูส่วนต่าง ๆ ของภาพ  •    Zoom : ใช้ย่อ / ขยายมุมมองภาพ    การปรับขนาดและความละเอียดของภาพ การปรับขนาดของภาพ มี 2 วิธี ได้แก่
  • 17.   Page 9         1. การปรับโดยเพิ่ม/ลดจํานวน Pixel ของภาพ (Pixel Dimensions)  2. การปรับ Document Size และ Resolution โดยให้จํานวน Pixel คงเดิม      ขั้นตอนในการปรับขนาดของภาพด้วยวิธีปรับ Document Size  1. คลิกที่เมนูหลัก เลือกคําสั่ง Image > Image Size  2. คลิก Resample Image ออก เพื่อให้จํานวน Pixel คงเดิม  3. กําหนดค่า Width , Height และ Resolution ใหม่  4. คลิกปุ่ม Ok   
  • 18.   Page 10         การปรับรูปทรงของภาพ (Transform)   ขั้นตอนในการปรับรูปทรงของภาพ  1. คลิกที่เมนูหลักเลือก Edit > Transform   2. คลิกเลือกคําสั่งปรับรูปทรง  คําสั่งในการปรับรูปทรง มีดังนี้  • Scale     : ปรับขนาด  • Rotate     : หมุนภาพ  • Skew   : บิดด้านหรือมุมของภาพไปตามแนวกรอบด้านใดด้านหนึ่ง  • Distort    : บิดด้านหรือมุมของภาพไปตามแนวอย่างอิสระ  • Perspective  : บิดภาพให้เกิดสัดส่วนแบบใกล้ไกล  • Warp   : บิดและดึงส่วนต่าง ๆ อย่างอิสระ     
  • 19. การเลือกพื้นที่บนภาพ (Selection & Mask) เครื่องมือกลุ่ม Marquee : ใช้ในการเลือกพื้นที่บนภาพเป็นรูปทรงเรขาคณิต   o Rectangular Marquee : ใช้เลือกพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม o Elliptical Marquee : ใช้เลือกพื้นที่รูปวงกลม หรือวงรี o Single Row Marquee : ใช้เลือกพื้นที่ในแนวนอน ขนาด 1 Pixel o Single column Marquee : ใช้เลือกพื้นที่ในแนวตั้ง ขนาด 1 Pixel   ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Marquee เลือกเครื่องมือ  Maquee ที่ต้องการจาก Toolbox 1. กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar 2. ใช้เมาส์คลิกลากให้คลุมพื้นที่ที่ต้องการ จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น 3.   เครื่องมือกลุ่ม Lasso : ใช้ในการเลือกพื้นที่แบบอิสระ   o Lasso : ใช้เลือกพื้นที่ด้วยการใช้เมาส์คลิกลากไปตามส่วนต่าง ๆ ของ ภาพตามต้องการ  o Polygonal Lasso : ใช้เลือกพื้นที่ด้วยการใช้เมาส์คลิกเพื่อสร้างรูปหลายเหลี่ยม ล้อมรอบพื้นที่  o Magnetic Lasso : ใช้เลือกพื้นที่โดยให้โปรแกรมกําหนดขอบเขตเองโดย อัตโนมัติ ตามเส้นทางที่เมาส์เลื่อนผ่านไป  Page 11         
  • 20.   Page 12         ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Lasso 1. เลือกเครื่องมือ Lasso จาก Toolbox  2. กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar  3. ใช้เมาส์คลิกลากรอบพื้นที่ที่ต้องการเลือก จนวนกลับไปที่จุดเริ่มต้นอีกครั้ง จะเห็นมีเส้น ล้อมรอบภาพเกิดขึ้น    เครื่องมือ Magic Wand : ใช้เลือกพื้นที่โดยการดูจากค่าสีที่ใกล้เคียงกันในตําแหน่งที่ เราคลิก ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Magic Wand  o เลือกเครื่องมือ Magic Wand จาก Toolbox o กําหนด Option ต่าง ๆ บน Options Bar o ใช้เมาส์คลิกบริเวณของสีที่เราต้องการเลือก จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น   เครื่องมือ Crop : ใช้เลือกพื้นที่ของภาพโดยการเพิ่ม และตัดขอบภาพ ขั้นตอนการเลือกพื้นที่ด้วยเครื่องมือ Crop  o เลือกเครื่องมือ Crop จาก Toolbox o ใช้เมาส์คลิกลากบนภาพเป็นกรอบสี่เหลี่ยมบริเวณที่ต้องการ o กดคีย์ Enter เพื่อยืนยัน จะเห็นมีเส้นล้อมรอบภาพเกิดขึ้น
  • 21.   Page 13         การตัดแบ่งภาพออกเป็นหลายชิ้นส่วน เครื่องมือ Slice : ใช้ในการตัดแบ่งภาพออกเป็นชิ้นส่วน   o Slice : ใช้ตัดแบ่งภาพออกเป็นชิ้นส่วน o Slice Select : ใช้เลือกและจัดการกับภาพแต่ละชิ้นส่วน   ขั้นตอนในการสไลด์ภาพ  1. เปิดภาพ หรือสร้างภาพขึ้นมา  2. คลิกเลือก   Slice จาก Toolbox  3. คลิกเมาส์ลากวาดเป็นกรอบสี่เหลี่ยมลงบนภาพ เพื่อตัดแบ่งเป็นชิ้นส่วน  4. เมื่อคลิกเมาส์ตัดแบ่งชิ้นส่วนแล้ว ถ้าต้องการปรับปรุงแก้ไขให้คลิกเลือก Slice Select เพื่อ ปรับแก้ไข   
  • 22. การพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความบนภาพ เครื่องมือที่ใช้จะเป็นเครื่องมือในกลุ่ม Type   o Horizontal Type : ใช้พิมพ์ข้อความแนวนอน o Vertical Type : ใช้พิมพ์ข้อความแนวตั้ง o Horizontal Type Mask : ใช้สร้าง Selection ให้พิมพ์ข้อความในแนวนอน o Vertical Type Mask : ใช้สร้าง Selection ให้พิมพ์ข้อความในแนวตั้ง     ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความแนวนอน   เลือกเครื่องมือ Horizontal Type จาก Toolbox 1. คลิกตรงบริเวณที่ต้องการวางข้อความ 2. พิมพ์ข้อความตามต้องการ 3. 4. ปรับแต่งข้อความได้จาก Options Bar ด้านบน หรือ Character และ Paragraph  Palette      Page 14         
  • 23.   Page 15         ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความภายในรูปทรง  1. เลือกเครื่องมือ Pen เพื่อสร้างเส้น Path ปลายปิด หรือสร้างรูปทรงอิสระ  2. เลือกเครื่องมือ Horizontal Type จาก Toolbox  3. คลิกภายในรูปทรง แล้วพิมพ์ข้อความ    ขั้นตอนในการพิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความตามเส้น Path  1. เลือกเครื่องมือ Pen จาก Toolbox  2. วาดเส้น Path เป็นเส้นโค้ง หรือ รูปทรงอิสระ  3. เลือกเครื่องมือ Horizontal Type  4. คลิกบนเส้น Path ตรงตําแหน่งที่จะเริ่มพิมพ์  5. กําหนด Option ของตัวอักษร จาก Options Bar เพื่อกําหนดลักษณะต่าง ๆ เช่น ชนิด ตัวอักษร ขนาดตัวอักษร เป็นต้น  6. พิมพ์ข้อความตามต้องการ   
  • 24. การวาดและตกแต่งภาพ เครื่องมือ Brush และ Pencil : ใช้ในการวาดรูป   ขั้นตอนในการวาดรูปด้วยเครื่องมือ Brush  เลือกเครื่องมือ  Brush หรือ  Pencil จาก Toolbox 1. 2. คลิกเลือกสีของหัวแปรง หรือ ปรับลักษณะรูปแบบของหัวแปรงได้จาก Brush Palette หรือ จาก Options Bar    วาดหรือระบายสีบนพื้นที่ภาพตามต้องการ 3. Page 16         
  • 25.   Page 17         เครื่องมือ Pen : ใช้ในการวาดเส้น Path   o Pen : ใช้วาดเส้น Path ด้วยวิธีคลิกเพื่อกําหนดจุดตําแหน่ง o Freeform Pen : ใช้วาดเส้น Path ด้วยวิธีคลิกลากเมาส์แบบอิสระ o Add Anchor Point : ใช้เพิ่มจุด o Delete Anchor Point : ใช้ลบจุด o Convert Point : ใช้เปลี่ยนจส่วนโค้งเป็นมุม หรือกลับกัน       ขั้นตอนในการวาดเส้น Path  1. เลือกเครื่องมือ Pen จาก Toolbox  2. คลิกบนพื้นที่ของภาพเป็นจุดหลาย ๆ จุด เพื่อใช้ในการสร้างภาพขึ้นมา วนกลับ มาถึงจุดเริ่มต้น เป็นการสร้างเส้น Path แบบปิด  3. เลือกเครื่องมือ Add Anchor Point เมื่อต้องการเพิ่มจุด เพื่อปรับลักษณะของภาพ ที่วาด   4. เลือกเครื่องมือ Delete Anchor Point  เมื่อต้องการลบจุด เพื่อปรับลักษณะของ ภาพที่วาด 
  • 26. เครื่องมือ Shape : ใช้ในการวาดรูปทรงเรขาคณิต และรูปทรงสําเร็จรูป     o Rectangle ใช้วาดรูปสี่เหลี่ยม o Rounded Rectangle ใช้วาดรูปสี่เหลี่ยมมุมโค้ง o Ellipse ใช้วาดรูปวงกลม และวงรี o Polygon ใช้วาดรูปหลายเหลี่ยม และรูปดาว o Line ใช้วาดเส้น o Custom Shape ใช้วาดรูปทรงสําเร็จรูปต่าง ๆ ที่โปรแกรมกําหนดมาให้       Page 18         
  • 27.   Page 19         ขั้นตอนในการวาดรูปทรงเรขาคณิต และรูปทรงสําเร็จรูป 1. เลือกเครื่องมือในการวาดรูปทรงเรขาคณิต จาก Toolbox  2. คลิกเมาส์ลากลงบนพื้นที่ภาพ เพื่อวาดภาพตามต้องการ  3. ปรับสีเส้น และสีที่เติมในพื้นที่ภาพตามต้องการ    เครื่องมือ Selection : ใช้ในการปรับแต่งเส้นพาธ     o Path Selection ใช้ในการย้าย หมุน หรือปรับขนาดเส้น Path ทั้งเส้น o Direct Selection ใช้ในการเลือกจุดเพื่อดัดแปลงรูปทรงของเส้น Path   การเลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand ขั้นตอนในการการเลื่อนดูภาพ  1. คลิกเลือกเครื่องมือ Hand จาก Toolbox  2. เลื่อนเมาส์ไปคลิกลากบนภาพ    การย่อ/ขยายมุมมองของภาพด้วยเครื่องมือ Zoom ขั้นตอนในการซูมภาพ  1. คลิกเลือก เครื่องมือ Zoom จาก Toolbox  2. เลื่อนเมาส์ไปคลิก หรือวาดเป็ดกรอบสี่เหลี่ยมบนภาพ  • ใช้ขยายมุมมองของภาพ  • ใช้ย่อมุมมองของภาพ 
  • 28. การใช้งาน Palette    Palette เป็น Window เล็ก ๆ ที่ใช้สําหรับแสดงรายละเอียด หรือควบคุมการทํางานต่าง ๆ ของ โปรแกรม                 วิธีเปิ ด / ปิ ด Palette : เลือกคําสั่ง Window > ชื่อ Palette   Page 20         
  • 29.   Page 21         Layers Palette   การซ่อน/แสดง Layer : ทําได้โดยการคลิกในช่องหน้า Layer o เปิด Layer o ปิด Layer การสร้าง Layer ใหม่ : คลิกที่ เพื่อสร้าง Layer ใหม่ การคัดลอก Layer : คลิกลาก Layer ไปวางทับปุ่ม การลบ Layer : คลิกลาก Layer ไปวางทับที่ปุ่ม การจัดกลุ่มให้ Layer (Group) : 1. คลิกที่ปุ่ม เพื่อสร้างกลุ่ม Layer แล้ว  2. คลิก Layer ที่ต้องการจัดกลุ่ม ลากไปวางทับกลุ่ม Layer ที่สร้างขึ้นมา  การปรับความทึบของ Layer     o Opacity : เป็นค่าความทึบหลัก ซึ่งจะส่งผลทั้งต่อภาพใน Layer และ Style ที่เรา กําหนดให้ layer นั้นด้วย o Fill : เป็นค่าที่ส่งผลต่อภาพใน Layer เท่านั้น โดยไม่มีผลต่อ Style ของ Layer
  • 30.   Page 22         การย้าย Layer ออกจากกลุ่ม : ทําได้โดยคลิกลาก Layer ย้ายไปแทรกระหว่าง Layer อื่นที่อยู่นอกกลุ่ม การรวม Layer (Merge) : คือการรวมภาพหลาย ๆ Layer เข้าด้วยกันให้เป็น Layer เดียว ซึ่งโปรแกรมจะทําการซ้อนทับ Layer ต่าง ๆ ทํานํามารวมกัน หลังจากรวมแล้วก็ จะไม่สามารถแก้ไขภาพแต่ละส่วนได้อย่างอิสระอีก o Merge Down : รวม Layer ปัจจุบันเข้ากับ Layer ที่อยู่ถัดลงไปด้านล่าง 1 Layer o Merge Visible : รวมทุก ๆ Layer ที่แสดงอยู่ในขณะนั้น o Flatten Image : รวม Layer ทั้งหมดให้กลายเป็น Layer Background เพียง Layer เดียว  
  • 31. แบบต่าง ๆLayer Effect o Drop Shadow : สร้างเงาแบบตกบนพื้นหลังของภาพ o Inner Shadow : สร้างเงาบริเวณขอบภายในของภาพ จะทําให้ภาพดูยุบลง o Outer Glow : สร้างแสงเรืองบริเวณขอบด้านนอกของภาพ o Inner Glow : สร้างแสงเรืองบริเวณขอบด้านในของภาพ o Bevel and Emboss : เพิ่มแสงและเงาตามส่วนต่างๆ ของภาพจะทําให้ภาพดูนูนขึ้น o Contour : ใช้ในการปรับลักษณะการนูนของภาพให้เป็นแบบต่าง ๆ o Texture : ใช้เพิ่มลวดลายพื้นผิว o Satin : ทําให้พื้นผิวของภาพมีสีเหลื่อมเป็นเงา o Color Overlay : เติมสีภายในภาพ o Gradient Overlay : เติมสีแบบไล่เฉดสีภายในภาพ o Pattern Overlay : เติมลวดลายพื้นผิวภายในภาพ o Stroke : เติมเส้นขอบให้ภาพ Page 23         
  • 32.   Page 24         การเลือกสี สี Foreground และ Background เป็นส่วนที่ใช้ในการเลือกสีให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ การเลือกสี Foreground และ Background นี้ทําได้โดยใช้เครื่องมือบน Toolbox  วิธีการเปลี่ยนสีของ Foreground และ Background 1. คลิกที่ช่องสี Foreground หรือ Background บน Toolbox  2. จะแสดง Dialog Box Color Picker  3. คลิกเลือกตรงสีที่ต้องการ  4. คลิกปุ่ม Ok       
  • 33.   Page 25         Color Palette     o การเปิด / ปิด Color Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > color   ขั้นตอนในการใช้สีใน Color Palette  1. คลิกเลือกว่าต้องการเปลี่ยนสี Foreground หรือ Background  2. คลิกเลือกสีที่ต้องการ  Swatches Palette เป็น Palette  ที่ใช้สําหรับเก็บสีต่าง ๆ ที่ต้องใช้บ่อย ๆ เอาไว้ เพื่อให้เรียกกลับมาได้ สะดวก   o การเปิด / ปิด Swatches Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > Swatches   ขั้นตอนในการใช้สีใน Swatches Palette  1. คลิกเลือกว่าต้องการเปลี่ยนสี Foreground หรือ Background   2. คลิกเลือกสีที่ต้องการ    เลือกสี Foreground  Background 
  • 34.   Page 26         Styles Palette   o การเปิด / ปิด Styles Palette ทําได้โดยเลือกคําสั่ง Window > Swatches วิธีการเรียกใช้ Styles สําเร็จรูป 1. เลือก Layer   2. คลิกเลือก Styles ที่ต้องการ   
  • 35.   Page 27         Palette สําหรับการปรับแต่งตัวอักษร Character Palette ประกอบด้วย Options  ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดรูปแบบตัวอักษร เช่น ชนิดตัวอักษร ลักษณะตัวอักษร ขนาดตัวอักษร เป็นต้น     Paragraph ประกอบด้วย Options ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดตําแหน่งของข้อความ เช่น ชิดซ้าย ตรง กลาง ชิดขวา เต็มขอบ เป็นต้น  
  • 37.   Page 29         ขั้นตอนในการสร้างจุดไข่ปลารอบ ๆ รูป  1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ      2. เลือกเครื่องมือ  Wand หรือ เครื่องมืออื่นๆ จาก Toolbox โดยดูจากลักษณะของภาพ เพื่อ ทําการ Selection   3. ทํา Selection รอบรูปที่เราต้องการ       
  • 38.   Page 30         4. เลือกคําสั่ง Select > Modify > Expand  เพื่อขยับระยะห่างออกมาจากภาพที่เลือก        5. ใส่ค่าระยะตามต้องการ ในที่นี้ใส่ค่าประมาณ 8px  แล้วคลิกปุ่ม Ok      6. จะได้ภาพที่มีเส้น Selection ห่างออกมาจากภาพ     
  • 39.   Page 31         7. เลือกเครื่องมือ  Brush จาก Toolbox  8. ที่ Brush Tip Shape ให้เลือกหัวแปรงขนาดตามต้องการ และ ที่ Spacing ให้ปรับค่าระยะห่างของ จุดไข่ปลา    9. ไปที่ Paths Palette กดปุ่ม   Make work path from selection   เพื่อสร้าง Path ใหม่เพิ่มขึ้น อีก 1 อัน    10. จะได้ภาพที่มีเส้น Path ล้อมรอบ   
  • 40.   Page 32         11. เลือกสี Foreground  ที่ต้องการ  12. คลิกขวาที่ Path ที่เราเพิ่งสร้างขึ้นมา แล้วเลือกคําสั่ง Stroke Path    13. ให้เลือก Brush แล้วคลิกปุ่ม Ok      14. จะได้ภาพที่เป็นลายจุดไข่ปลาขึ้นมาตามเส้น Path     
  • 41.   Page 33         15. คลิกเลือก Work Pathใน Path Palette  แล้วลากไปที่ปุ่ม เพื่อลบ Path        16. จบขั้นตอนการสร้าง 
  • 43.   Page 35         ขั้นตอนในการทํารูปขอบพับมุม  1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ        2. คลิกที่ Layer ภาพต้นฉบับ แล้วคลิกเมาส์ลากไปที่ปุ่ม เพื่อทําการ Duplicate Layer ต้นฉบับ ให้สามารถทําการแก้ไขได้     
  • 44.   Page 36         3. เลือกคําสั่ง Edit > Transform > Warp      4. จะมีเส้นปรากฏขึ้นดังภาพ     
  • 45.   Page 37         5. ใช้เมาส์ดึงมุมล่างขวาของภาพขึ้นมา แล้วคลิกที่ เพื่อยืนยัน        6. คลิกขวาที่ Layer ภาพ เลือก Blending Options      7. Blending Mode > Drop Shadow เพื่อใส่เงาให้ภาพ โดยปรับแต่งเงาตามต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Ok   
  • 46.     สร้าง Layer ใหม่ 1 Layer  แล้วคลิกลากย้ายไปไว้ใต้ Layer ภาพ 8.   เลือกสี Foreground เป็นสีขาว 9. เลือกเครื่องมือ Paint Bucket จาก Toolbox เพื่อเทสีขาวลงบน Layer ใหม่ 10. จบขั้นตอนการสร้างภาพ11. Page 38         
  • 47.   Page 39         การสร้างข้อความที่มีพื้นตัวอักษรเป็นรูปภาพต่าง ๆ       ขั้นตอนในการสร้างข้อความพื้นตัวอักษรรูปภาพ  1. สร้างไฟล์ภาพใหม่   2. คลิกเครื่องมือ Horizontal  Type จาก Toolbox  3. ไปที่ Character Palette  เพื่อปรับแต่งลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษร      4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการแสดง แล้วคลิกปุ่ม ที่ Options Bar เพื่อยืนยัน      5. เลือกคําสั่ง File > Place เพื่อนําไฟล์ภาพเข้ามา   
  • 48.   Page 40             6. คลิกขวาที่ Layer ภาพ แล้วเลือก Create Clipping Mask      7. จะปรากฏดังภาพ   
  • 49.   เลือกเครื่องมือ  Move  ลากบนภาพ เพื่อปรับตําแหน่งของภาพตามต้องการ 8. จบขั้นตอนการสร้างภาพ 9.       Page 41         
  • 51.   Page 43         ขั้นตอนในการเปลี่ยนสีภาพ 1. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ        2. เลือกคําสั่ง Image>Adjustments>Hue/Saturation      3. คลิก  Preview  เพื่อให้แสดงภาพทันทีที่มีการปรับเปลี่ยน   
  • 52.     เลื่อน Scale สีต่าง ๆ ให้ได้สีตามต้องการ  แล้วคลิกปุ่ม Ok 4. จบขั้นตอนการสร้างภาพ 5. Page 44         
  • 54.   Page 46         ขั้นตอนในการทําภาพโพลาลอยด์ 1. สร้างไฟล์ภาพใหม่โดยใช้ Background สีขาว  โดยสร้างขนาดให้ใหญ่กว่าภาพจริงเล็กน้อย        2. คลิกที่ เพื่อสร้าง Layer ใหม่       3. เลือกสี Foreground  ตามต้องการ แล้วเทสีที่เลือกลงบน Layer ใหม่ 
  • 55.   Page 47         4. เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ        5. คลิกเลือกที่ Layer ใหม่  แล้วเลือกคําสั่ง Edit > Free Transform  เพื่อปรับขนาดให้ใหญ่กว่าภาพ ต้นฉบับ ปรับขนาดให้ดูสวยงาม       
  • 56.   Page 48         6. เมื่อปรับเสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม ที่ Options Bar เพื่อยืนยัน       7. เลือกคําสั่ง Layer > Layer Style > Drop Shadow เพื่อใส่เงาให้กับภาพ      8. ปรับแต่งค่าตามต้องการ  แล้วคลิกปุ่ม Ok   
  • 59. ขั้นตอนในการทําภาพพื้นหลังสีเทา ภาพหลักสี เปิดไฟล์ภาพต้นฉบับ 1.       คลิกลาก Layer ไฟล์ภาพต้นฉบับ ไปที่ปุ่ม      เพื่อ Duplicate Layer ภาพต้นฉบับ  2. เลือก Layer รูป แล้วเลือกคําสั่ง Image > Adjustments > Desaturate 3.   Page 51         
  • 60.   Page 52         4.  จะได้ภาพมีสีขาว ดํา    5. เลือกเครื่องมือ Eraser   ลบบริเวณที่ต้องการให้มีสีปกติ     
  • 62.   Page 54         การทํา Background ลายอมยิ้ม      
  • 63. ขั้นตอนในการทํา Background ลายอมยิ้ม สร้าง Pattern ใหม่ โดยการสร้างไฟล์ภาพใหม่ และกําหนดขนาดเป็น 50 x 50 พื้นสีขาว 1.     เลือกเครื่องมือ Marquee  มาทํา Selection บนพื้นที่ตามภาพ โดยเลือก ที่ Options  Bar  เพื่อให้สามารถทําแบบต่อเนื่องได้    2.         Page 55         
  • 64.   Page 56         3. เลือกสีที่ต้องการเทลงใน Selection แล้วกดปุ่ม Ctrl + D เพื่อลบ Selection  4. กด Ctrl + A  ที่ Keyboard  1 ครั้ง แล้วเลือกคําสั่ง Edit > Define Pattern  เพื่อสร้าง Pattern ใหม่        5. สร้างไฟล์ภาพใหม่ขึ้นมาอีกครั้ง โดยกําหนดขนาดตามต้องการ  6. สร้าง Layer ใหม่ 
  • 65.   Page 57         7. กดปุ่ม Shift + F5  จะมีหน้าจอให้กําหนด Fill Pattern  เลือก Use : Pattern  และคลิกที่ Custom  Pattern เป็น Pattern ที่เราเพิ่งสร้างใหม่ แล้วคลิกปุ่ม Ok      8. จะปรากฏลายบนพื้นที่ภาพ     
  • 66.   Page 58         9. เลือกคําสั่ง Filter > Distort > Polar Coordinates      10. จะปรากฏหน้าจอ Polar Coordinates  คลิกปุ่ม Ok     
  • 67. เลือกคําสั่ง Filter > Distort > Twirl 11.       จะปรากฏหน้าจอ ปรับค่าตามภาพ แล้วคลิกปุ่ม Ok 12.     จบขั้นตอนการสร้างภาพ 13. Page 59