SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
การบริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช

บทนํา
       การบริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯและภายในหนวยงานซึ่งแตละสวนตองดูแล
รับผิดชอบ ซึ่งอาจจัดหามาจากงบประมาณทําการ งบประมาณลงทุน หรือการผลิต ซอมสรางขึ้นมาเอง การ
บริจาคมาก็ตาม เปนสิ่งจําเปนที่แตละหนวยงานจะตองใหความสําคัญ ดูแล บํารุงรักษา รวมทั้งมีฐานขอมูล
จํานวนสิ่งของที่ครบถวน พรอมมูลคาราคาของสินทรัพยนั้น อีกทั้งหากสินทรัพยหรือสิ่งของเครื่องใชเหลานั้น
ชํารุด ใชการไมได มีความจําเปนที่จะตองดําเนินการตัดบัญชี ,ตัดจําหนายเลิกใชการ และไปสูกระบวนการขาย
ทําลายตอไป เปนสิ่งจําเปนที่หัวหนางานและเจาหนาที่ในสวนที่เกี่ยวของจะตองมีความรู ความเขาใจ รับทราบ
ถึงแนวทาง ระเบียบ วิธีการ รวมทั้งกระบวนการที่จะดําเนินการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด


เปาหมาย : จะตองสามารถรับรองบัญชีสินทรัพยที่มีอยูในบัญชีทั้งหมดได


สิ่งที่ควรศึกษาเรียนรู
      1.ความหมายและคําศัพทที่เกี่ยวของ
      2.ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวของ
      3.การจัดทําฐานขอมูลบัญชีสินทรัพยและสิ่งของ


กิจกรรม
        1.พัฒนาจัดทําโปรแกรมเพื่อใชในการรวบรวม รายการสินทรัพย ใหเปน File Electronic
        2.สํารวจรายการสินทรัพยและบันทึกขอมูล
        3.อบรม ใหความรู คําแนะนํา รับฟงขอเสนอแนะจากผูที่เกี่ยวของ
        4.บูรณาการปรับปรุงขั้นตอนในการ รวบรวม รายงานการตัดบัญชีและตัดจําหนาย เปนลักษณะ
          One Stop Service
        5.ติดตาม ประเมินผล ประสานงานกับผูเกี่ยวของอยางใกลชิดและตอเนื่อง
         6.การพบปะ ประชุม เยี่ยมเยียน ภายในหนวยงาน




(การบริหารสินทรัพย)                                                                                 หนา 1
ความหมายและคําศัพท

สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ

จะเห็นไดวาในสมการบัญชีมีคําที่เกี่ยวของอยูทั้งหมด 3 คํา คือคําวา สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ
เราจะมาทําความเขาใจกับคําทั้งสามคํานี้กอน

สินทรัพย (Assets) หมายถึง ทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มีมูลคาที่วัดไดเปนตัวเงินที่กิจการเปนเจาของ ซึ่งจะมี
ตัวตนหรือไมมีตัวตนก็ได เชน เงินสด รถยนต สัมปทาน เปนตน เราสามารถจําแนกสินทรัพยออกเปนประเภท
ตาง ๆ 4 ประเภท ดังนี้

สินทรัพยหมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพยที่เปนเงินสด หรือสามารถเปลี่ยนเปนเงินสดได
ภายใน 1 รอบระยะเวลาของการดําเนินธุรกิจหรือ 1 ป ไดแก

1.1 เงินสด (Cash) หมายถึง ธนบัตร และเหรียญกษาปณที่กิจการมีอยูในมือ และรวมถึงเช็คที่ถึงกําหนดไดรับ
เงินแลวแตกิจการยังไมไดนําไปขึ้นเงินหรือนําฝากธนาคาร ดราฟท ธนานัติ แคชเชียรเช็ค เปนตน

1.2 เงินฝากธนาคาร (Cash in Bank or Deposit) หมายถึง บัญชีเงินฝากธนาคารที่กิจการมีอยูไมวาจะเปน
บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน บัญชีเงินฝากออมทรัพย บัญชีเงินฝากประจํา

1.3 เงินลงทุนระยะสั้น (Short-term Investment) หมายถึง การที่กิจการไดนําเงินที่มีอยูไปลงทุนใน
หลักทรัพย หรือสินทรัพยอื่น เชน ทองคํา โดยมีวัตถุประสงคที่จะเก็งกําไรในระยะสั้น ๆ แลวขายคืนภาย
ใน 1 ป

1.4 ลูกหนี้การคา (Account Receivable) หมายถึง จํานวนเงินที่ลูกคามีภาระผูกพันที่จะตองชดใชใหกับ
กิจการในอนาคตขางหนาอันเนื่องมาจากธุรกิจการคา

1.5 ตั๋วเงินรับ (Notes Receivable) หมายถึง เอกสารหรือสัญญาที่ลูกคาหรือลูกหนี้ไดออกใหแกกิจการเพื่อใช
เปนเอกสารในการเรียกเก็บเงินภายหลัง เชน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน เช็คลงวันที่ลวงหนา เปนตน

1.6 สินคาคงเหลือ (Inventories) หมายถึง สินคาสําเร็จรูป งานระหวางผลิต วัตถุดิบ ที่มีไวเพื่อจําหนายหรือมี
ไวเพื่อใชในการผลิต แตยังไมไดจําหนายออกไปจากกิจการ ยังคงเหลืออยูในกิจการ

1.7 ลูกหนี้อื่น ๆ (Other Receivables) หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากเหตุการณอื่นที่ไมใชเกิดจากการดําเนิน
ธุรกิจตามปกติของกิจการ เชน เกิดจากการกูยืม เปนตน

(การบริหารสินทรัพย)                                                                                  หนา 2
1.8 รายไดคางรับ (Accrued Revenue) หมายถึง รายไดอื่น ๆ ที่ไมเปนรายไดจากการดําเนินธุรกิจตามปกติ
ของกิจการที่กิจการควรจะไดรับ แตยังไมไดรับ เชน ดอกเบี้ยคางรับ เปนตน

1.9 คาใชจายจายลวงหนา (Prepaid Expenses) หมายถึง คาใชจายที่กิจการไดจายเงินไปกอน โดยที่ยังไมได
รับประโยชนจากเงินที่จายไปนั้น เชน คาเบี้ยประกันภัยจายลวงหนา คาเชาจายลวงหนา เปนตน

1.10 วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) หมายถึง วัสดุอุปกรณที่ใชในกิจการที่มีลักษณะที่ใชแลวหมดไปภายใน 1 ป
เชน น้ํามันหลอลื่น ดาย ผงซักฟอก เปนตน และถาหากวัสดุสิ้นเปลืองนั้นใชในสํานักงาน ก็จะถูกเรียกวา วัสดุ
สํานักงาน (Office Supplies) เชน ปากกา ดินสอ ลวดเย็บกระดาษ เปนตน

เงินลงทุนระยะยาว (Long-term Investment) หมายถึง จํานวนเงินที่กิจการนําไปลงทุนในสินทรัพยตาง ๆ
เพื่อที่จะไดรับผลตอบแทนในอนาคตขางหนา โดยตั้งใจจะลงทุนเปนระยะเวลานานเกินกวา 1 ป

สินทรัพยถาวร (Fixed Assets) หมายถึง สินทรัพยที่มีตัวตนและมีอายุการใชงานเกิน 1 ป ที่กิจการมีไว
เพื่อที่จะใชผลิตสินคาหรือบริการเพื่อที่จะกอใหเกิดรายไดกับกิจการ ตัวอยางของสินทรัพยถาวร ไดแก ที่ดิน
อาคาร รถยนต เครื่องจักร เปนตน อยางไรก็ตามหากสินทรัพยที่มีตัวตนและมีอายุการใชงานเกิน 1 ป แตไมได
มีไวในเพื่อผลิตสินคาหรือบริการของกิจการ ก็ไมถือวาเปนสินทรัพยถาวร เชน หากกิจการเปนกิจการขาย
รถยนต รถยนตที่มีไวเพื่อขายก็ไมถือวาเปนสินทรัพยถาวร แตจะถือวาเปนสินคาคงเหลือ หรือหากกิจการซื้อ
ที่ดินไวเพื่อการเก็งกําไร โดยหากราคาของที่ดินสูงขึ้นจะขายที่ดินแปลงนี้ออกไป ที่ดินแปลงนี้ก็ไมถือวาเปน
สินทรัพยถาวร แตจะถือวาเปนเงินลงทุนระยะยาว เปนตน

สินทรัพยอื่น (Other Assets) หมายถึงสินทรัพยอื่นที่นอกเหนือจากสินทรัพยที่ไดกลาวมาแลวทั้ง 3 ประเภท
ในทางบัญชีสินทรัพยอื่นนี้จะหมายถึง สินทรัพยที่ไมมีตัวตน เชน สัมปทาน สิทธิบัตร เปนตน ซึ่งสินทรัพยอื่นนี้
จะมีอายุการใชประโยชนเกิน 1 ป

หนี้สิน (Liabilities) หมายถึง จํานวนเงินที่กิจการเปนหนี้บุคคลหรือกิจการอื่น ซึ่งมีภาระผูกพันที่จะตองชําระ
คืนใหกับบุคคลหรือกิจการเหลานั้นในอนาคตขางหนา หนี้สินสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนภายใน
ระยะเวลาไมเกิน 1 ป ไดแก

1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร (Bank Overdraft) หมายถึง เงินที่กิจการเบิกเกินจากบัญชีเงินฝากกระแส
รายวัน ซึ่งธนาคารยอมใหเบิกเกินบัญชีไปกอนในระยะสั้น ๆ ซึ่งกิจการจะตองชําระคืนธนาคารในอนาคต

1.2 เงินกูยืมธนาคารระยะสั้น (Short-term Bank Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทําสัญญาตกลงกับธนาคาร
ในการกูยืมเงินจํานวนหนึ่ง โดยที่มีกําหนดชําระคืนภายใน 1 ป
(การบริหารสินทรัพย)                                                                                    หนา 3
1.3 เจาหนี้การคา (Account Payable) หมายถึงจํานวนเงินที่กิจการมีภาระผูกพันที่จะตองชําระใหกับบุคคล
หรือกิจการอื่นเปนคาสินคาหรือบริการที่กิจการซื้อมาเปนเงินเชื่อ

1.4 ตั๋วเงินจาย (Notes Payable) หมายถึง เอกสารที่กิจการออกใหกับบุคคลหรือกิจการ เพื่อเปนสัญญาวา
เมื่อครบกําหนดตามเอกสารนั้น กิจการจะจายเงินใหกับผูที่ถือเอกสาร ในจํานวนเงินตามเอกสารนั้น

1.5 รายไดรับลวงหนา (Deferred Revenue) หมายถึง รายไดที่กิจการไดรับเงินมาแลว แตยังไมไดสงมอบ
สินคาหรือบริการใหกับลูกคา ซึ่งจะมีภาระผูกพันที่จะตองสงมอบสินคาหรือบริการใหกับลูกคาในอนาคต
เนื่องจากไดรับเงินมาแลว

1.6 คาใชจายคางจาย (Accrued Expenses) หมายถึง คาใชจายตาง ๆ ที่ครบกําหนดที่จะตองจายแลว แต
กิจการยังไมไดจายเงิน และกิจการยังไมเคยรับรูและมีการบันทึกบัญชีมากอน จนถึงวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ
เชน คาเชาคางจาย คาสาธารณูปโภคคางจาย เปนตน

1.7 เจาหนี้อื่น (Other Payable) หมายถึง ภาระผูพันที่กิจการจะตองชําระหนี้ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่
ไมใชเจาหนี้การคา เชน เจาหนี้ที่เกิดจากการกูยืมระยะสั้นที่ไมไชธนาคาร เปนตน

หนี้สินระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันที่กิจการจะตองชําระคืนบุคคลหรือกิจการอื่น
ที่มีระยะเวลาการชําระคืนเกิน 1 ป แตถาหากหนี้สินระยะยาวใดที่จะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปขางหนา
หนี้สินระยะยาวจํานวนนั้น จะถือเปนหนี้สินหมุนเวียน ตัวอยางเชน กิจการกูเงินกูระยะยาวจากธนาคาร
จํานวน 1,000,000 บาท มีกําหนดชําระคืนเงินตน 10 ป ปละ 100,000 บาท เริ่มชําระคืนเงินตนปหนานี้เปน
ปแรก ดังนั้น เงินจํานวน 100,000 บาท ที่จะตองชําระคืนในปหนา จะถือวาเปนหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สิน
ระยะยาวจะเปนจํานวนเงินเพียงแค 900,000 บาท หนี้สินระยะยาวแบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก

2.1 หุนกู (Bonds Payable) หมายถึง การที่กิจการกูเงินจากบุคคลภายนอก โดยออกหุนกูไวใหเปนหลักฐาน
ซึ่งกิจการจะจายผลตอบแทนใหกับผูถือหุนกูในรูปของดอกเบี้ย ซึ่งหุนกูนี้มักจะมีกําหนดการไถถอนมากกวา 1
ปและเมื่อครบกําหนดไถถอนแลว กิจการก็จะตองนําเงินไปชําระคืนใหกับผูถือหุนกู ซึ่งเราเรียกวาการไถถอน
หุนกูนั้นเอง

2.2 เงินกูระยะยาวโดยมีการจํานอง หรือเงินกูจํานอง (Mortgage Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทําการกูยืม
เงินจากบุคคลหรือกิจการหรือสถาบันการเงิน โดยการนําสินทรัพยถาวรของกิจการไปจํานองกับผูใหกูไวเพื่อ
เปนหลักประกันเงินกู และเงินกูนั้นมีกําหนดชําระคืนเงินตนเกิน 1 ปขึ้นไป




(การบริหารสินทรัพย)                                                                                หนา 4
2.3 เงินกูระยะยาวโดยไมมีการจํานอง หรือเงินกูระยะยาว (Long-term Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทํา
การกูยืมเงินกูระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการหรือสถาบันการเงิน โดยไมตองมีหลักทรัพยไปค้ําประกัน และ
เงินกูนั้นมีกําหนดชําระคืนเงินตนเกิน 1 ปขึ้นไป

สวนของเจาของ (Owner’s Equity) หรือบางทีอาจจะเรียกวา ทุน (Proprietorship) หมายถึง มูลคาของ
สินทรัพยทีเจาของกิจการเปนเจาของโดยปราศจากการมีหนี้สินทึ่จะตองชําระคืนในอนาคต สวนของเจาของ
ของกิจการที่ดําเนินงานแตละรูปแบบมีความแตกตางกัน ดังนี้

1. กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorship) สําหรับกิจการเจาของคนเดียว สวนของเจาของคือ
สินทรัพยที่เจาของกิจการนํามาลงทุนในกิจการเปนครั้งแรก ซึ่งจะเรียกวา “ทุน” ทุนจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น
จากผลการดําเนินงานของกิจการที่มีกําไร หรือจากการที่เจาของกิจการนําสินทรัพยมาลงทุนเพิ่มเติม และทุน
จะมีจํานวนลดลงจากผลการดําเนินงานของกิจการที่ขาดทุน หรือจากการที่เจาของกิจการไดถอนทุนคืนไป

2. กิจการหางหุนสวน (Partnership) สําหรับกิจการหางหุนสวน สวนของเจาของจะเรียกวา “สวนของผูถือ
หุน” ซึ่งจะประกอบไปดวยทุนของผูเปนหุนสวนแตละคน และทุนของผูเปนหุนสวนแตละคนจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อ
ไดรับสวนแบงกําไร หรือมีการลงทุนเพิ่ม และทุนของผูเปนหุนสวนแตละคนจะลดลงเมื่อไดรับสวนแบงการ
ขาดทุน หรือเมื่อมีการถอนทุนคืน

3. กิจการบริษัทจํากัด (Limited Company) สําหรับกิจการบริษัทจํากัด สวนของเจาของจะเรียกวา “สวน
ของผูถือหุน” ซึ่งจะประกอบไปดวย ทุนเรือนหุนไมวาจะเปนหุนสามัญหรือหุนบุริมสิทธิ์ สวนเกินมูลคาหุน
สามัญ ซึ่งคือจํานวนเงินที่ไดมาจากการจําหนายหุนในราคาที่สูงกวามูลคาที่ตราไว และกําไรสะสมหรือขาดทุน
สะสม ซึ่งหมายถึงผลการดําเนินงานที่สะสมมาในแตละปตั้งแตเริ่มดําเนินกิจการ

จากสมการบัญชี

สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ

ทําใหเราเขาใจไดวาสินทรัพยซึ่งเปนของกิจการนั้นประกอบไปดวยแหลงที่มา 2 แหลง ก็คือมาจากการกูยืม
หรือเปนหนี้บุคคลหรือกิจการอื่นซึ่งมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนในอนาคต (หนี้สิน) และอีกแหลงคือเปนของ
กิจการเองโดยไมมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนในอนาคต (สวนของเจาของ)

ขอมูลโดย : http://coursewares.mju.ac.th/

คําคนหาที่เกี่ยวของ : สมการบัญชี, สินทรัพยถาวร, สินทรัพยหมุนเวียน, หนี้สินหมุนเวียน, เงินลงทุนระยะยาว
Posted in บทความเกี่ยวกับบัญชี | No Comments »


(การบริหารสินทรัพย)                                                                                หนา 5
ระเบียบ คําสั่งที่เกี่ยวของ ของการรถไฟแหงประเทศไทย




คําสั่งเฉพาะ                                                                 การรถไฟแหงประเทศไทย

ที่ ก.138 / 4039         ถนนรองเมือง กทม.10330

                                    ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับสินทรัพยถาวร

                                          -----------------------------

     โดยที่เห็นสมควรวางระเบียบเกี่ยวกับสินทรัพยถาวรของการรถไฟ ฯเพื่อใหเหมาะแกกาลสมัยและเปน
ระเบียบเรียบรอยสะดวกในการตรวจสอบและควบคุมมิใหบังเกิดการรั่วไหลขึ้นไดจึงใหผูเกี่ยวของถือปฏิบัติ
ตามระเบียบการฉบับนี้ ดังตอไปนี้
1.             คําวา “ สินทรัพยถาวร ” หมายถึง
                   สินทรัพยที่จัดหาหรือสรางขึ้นโดยใช งบประมาณรายจายลงทุนรวมทั้งที่ไดรับบริจาคมีมูลคา
หรือราคาตอหนวยตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป
2. บัญชีสินทรัพยถาวรใหจัดทําไวใหเรียบรอยอยูเสมอ พรอมที่จะไดรับการตรวจทุก
ขณะและใหมีการสํารวจใหญปละครั้ง ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกป

3. ผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานผูรับผิดชอบสินทรัพยถาวรออกคําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการเพื่อตรวจสอบสินทรัพยถาวรประจําป จํานวนไมนอยกวา 4 ทาน ประกอบดวย
 3.1 พนักงานชั้นหัวหนากองหรือเทียบเทาขึ้นไปในฝายหรือสํานักงาน เปนประธาน
 3.2 พนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาในฝายหรือสํานักงาน 2 ทาน เปนกรรมการ
 3.3 พนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาตางฝายหรือสํานักงานที่อยูในเขตเดียวกัน
                       1 ทาน เปนกรรมการ
4. ในการรับสินทรัพยถาวรที่ไดรับการบริจาคมีมูลคาเกิน 30,000 บาท จะตองมี                   หนังสือรับรอง
การมอบสิ่งของนั้น จากบุคคลหรือนิติบุคคล ผูมอบ หากไมระบุสินทรัพยถาวรที่ไดรับบริจาคนั้น
มีมูลคาเทาใด ใหประเมินราคาสินทรัพยถาวรนั้น ณ วันที่รับมอบ และหากเปนการรับมอบอาคารตาม
สัญญาเชา ฝายการชางโยธาจะตองประเมินราคาอาคารที่ไดรับบริจาค แลวแจงใหฝายการเงินและการบัญชีนํา
(การบริหารสินทรัพย)                                                                                 หนา 6
ขึ้นบัญชีสินทรัพยถาวรที่ไดรับการบริจาคใหถูกตอง ซึ่งเมื่อฝายการเงินและการบัญชีดําเนินการในสวนที่
เกี่ยวของเรียบรอยแลว จะบันทึกยืนยันใหฝายหรือสํานักงานผูรับมอบทราบวาสินทรัพยถาวรที่ไดรับบริจาค
นั้นขึ้นบัญชีสินทรัพยถาวรไวในรหัสประเภทบัญชีใด            วันที่บันทึกสินทรัพยถาวรไดรับบริจาค และเปน
จํานวนเงินเทาใดเพื่อใหเจาหนาที่ของฝายหรือสํานักงานที่ไดรับบริจาคบันทึกในทะเบียนใหถูกตองตรงกันกับ
ของฝายการเงินและการบัญชี เพราะหากมีเหตุจะตองตัดบัญชีสินทรัพยถาวร                หรือดําเนินการอยางใดอยาง
หนึ่งจะไดไวเปนหลักฐาน
           5. หากมีการโอนสินทรัพยถาวรระหวางหนวยงาน ใหผูโอนทําหนังสือเปนหลักฐานในการโอน
และสงสําเนาใหฝายการเงินและการบัญชีบันทึกทะเบียนสินทรัพยถาวรใหถูกตอง
           6. เมื่อสินทรัพยถาวรชํารุดเสียหายพอที่จะจัดซอมไดใหใชประโยชนตอไปได ก็ใหรีบจัดทํา
โดยเร็ว หากชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถจะซอมใหใชการได ใหดําเนินการตัดบัญชีสินทรัพยถาวรโดย
ดําเนินการตามระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ (
คําสั่งทั่วไปที่ ก. 84 / 2935 ลว.01 มิ.ย.2531 )
           7. การตัดบัญชีสินทรัพยถาวรที่อยูในสวนกลาง         คณะกรรมการสอบสวนและพิจารณาตัด
บัญชีสินทรัพยถาวร จะตองมีพนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาในฝายการเงินและการบัญชี 1 ทาน
รวมเปนกรรมการดวย
           8. การตัดบัญชีสินทรัพยถาวรที่อยูในสวนภูมิภาค เมื่อคณะกรรมการสอบสวนและ
พิจารณาตัดบัญชีสินทรัพยถาวรไดรายงานการสอบสวนผูแตงตั้งคณะกรรมการแลว                    ฝายหรือ
สํานักงานที่มีความประสงคจะตัดบัญชีสินทรัพยถาวร              ตองสงใหฝายการเงินและการบัญชี
ตรวจสอบความถูกตองของการขึ้นทะเบียนสินทรัพยถาวรและคาเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพยถาวร
นั้นกอน         จึงจะสงใหผูมีอํานาจตัดบัญชีลงนามอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยถาวรตอไป

            ทั้งนี้   ใหถือปฏิบัติตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

                 สั่ง ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2545



                                                 ( นายศรียุทธ ศิริเวทิน )
                                               รองผูวาการดานพัฒนาและวางแผน
                                              รักษาการในตําแหนงผูวาการรถไฟ ฯ


(การบริหารสินทรัพย)                                                                                   หนา 7
คําสั่งเฉพาะ                                                                        การรถไฟแหงประเทศไทย

ที่ ก.139 / 4040       ถนนรองเมือง กทม.10330

                                          ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับภาชนะถาวร

                                             -----------------------------

             เนื่องจากระเบียบการจัดทําบัญชีและหนาที่พึงปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใชภาชนะถาวร

ตามหนวยงานที่ทําการตางๆ ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501 ไดถือปฏิบัติมานานแลว เห็นสมควรปรับปรุงเสียใหม
เพื่อใหเหมาะสมกับกาลสมัย มีความคลองตัวในการปฏิบัติยิ่งขึ้น และเปนระเบียบเรียบรอยรัดกุมสะดวกแกการ
ตรวจสอบและการควบคุมมิใหบังเกิดการรั่วไหลขึ้นได
 ฉะนั้น จึงไดยกเลิกคําสั่งทั่วไป ที่ ก.82 / 5215 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501 และฉบับแกไขใหม
ตามคําสั่งทั่วไปที่ ก.185 / 5203 ลงวันที่ 22 กันยายน 2525 โดยใหผูเกี่ยวของถือปฏิบัติตามระเบียบการฉบับใหมที่ตรา
ขึ้นไวดังตอไปนี้
1.                   คําวา “ ภาชนะถาวร ” หมายถึง วัสดุหรือสิ่งของเครื่องใชประจําที่ทําการของหนวยงานตางๆ ที่จัดหา
หรือสรางขึ้นโดยใชงบประมาณรายจายทําการ และใชรหัสงบประมาณ 402 รวมทั้งวัสดุหรือสิ่งของที่ไดรับบริจาค ที่
มีราคาตอหนวยไมเกิน 30,000 บาท
2. เจาหนาที่ผูอยูในตําแหนงรับผิดชอบดูแลรักษาภาชนะถาวรประจําที่ทําการตองสํารวจภาชนะถาวรที่มี
อยูและจัดทําบัญชีภาชนะถาวร ( แบบ 294 ) แสดงรายการตลอดจนราคาหรือมูลคาสิ่งของนั้น ๆ กับตองแสดงรายการ
รับ , จําหนาย และยอดคงเหลือไวใหครบถวน
3. ในการนําภาชนะถาวรเกาขึ้นบัญชีเปนครั้งแรก ถาไมทราบราคาใหเปรียบเทียบประเมินราคา หรือ
ภาชนะถาวรรายการใดที่ไมสามารถตรวจสอบไดวามีราคาเทาใดก็ใหประเมินราคาไวดวย
4. การจัดทําบัญชีภาชนะถาวรใหจัดทําไวใหเรียบรอยอยูเสมอพรอมที่จะรับการตรวจไดทุกขณะ และ
ใหมีการสํารวจใหญปละครั้ง ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกป และสงสําเนาใหฝายการเงินและการบัญชี 1 ชุด
5. ในการรับไวซึ่งภาชนะถาวรใหม ผูรับหนาที่จะตองกรอกจํานวนกับราคาภาชนะถาวรตามใบ
รับไวในชองรับและใหกรอกเลขที่ใบรับ วันที่รับ ลงในชองหมายเหตุของบัญชีภาชนะถาวร (แบบ 294 ) เสมอ




(การบริหารสินทรัพย)                                                                                         หนา 8
6. เมื่อภาชนะถาวรชํารุดเสียหายพอที่จะจัดซอมใหใชประโยชนตอไปไดก็ใหรีบจัดทําโดยเร็ว
หากชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถจะซอมใหใชการได ใหดําเนินการตามระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการ
ตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ ( คําสั่งทั่วไปที่ ก.84 / 2935 ลงวันที่ 01 มิถุนายน 2531
) และใหกรอกรายการลงไวในชองจําหนาย โดยลงเลขที่ใบสง ( กรณีที่สงคืนฝายการพัสดุ ) วันที่สงไวในชอง
หมายเหตุ หรือหากทําการขายภาชนะถาวรที่ตัดจําหนายเลิกใชการแลวก็ใหกรอกเลขที่ใบเสร็จรับเงินไวในชอง
หมายเหตุและจะตองแจงใหฝายการเงินและการบัญชีทราบดวย

         ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

            สั่ง ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2545




                                                  ( นายศรียุทธ ศิริเวทิน )

                                               รองผูวาการดานพัฒนาและวางแผน

           รักษาการในตําแหนงผูวาการรถไฟ ฯ




(การบริหารสินทรัพย)                                                                                          หนา 9
คําสั่งทั่วไป                                                                             การรถไฟแหงประเทศไทย

ที่ ก.311 / 6570       ถนนรองเมือง กทม.10330

                               เรื่องระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการ

                                        สิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ( แกไขเพิ่มเติม )

                                                   -----------------------------

            ตามคําสั่งเฉพาะที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่องระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการ
ตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ดังความละเอียดแจงอยูแลว นั้น

 บัดนี้ เห็นสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของ
เครื่องใชของการรถไฟฯ เสียใหม เพื่อใหการตัดบัญชีสินทรัพยหมุนเวียน ประเภทวัสดุคงคลังเปนไปโดยชัดเจนในการ
ปฏิบัติ ฉะนั้น จึงใหยกเลิกขอความในขอ 4.2 ของคําสั่งทั่วไปที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เสีย และใหใช
ขอความตอไปนี้แทน

 “ 4.2 สินทรัพยหมุนเวียนประเภทวัสดุคงคลัง ตามขอ 1.3 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาชํารุดทรุดโทรมไป
ตามสภาพจากการเก็บรักษาไมสามารถใชการตอไปได หรือยกเลิกใชการไมสามารถนําไปใชประโยชนอื่นใดไดหรือเพราะ
เหตุสุดวิสัย หรือถูกโจรกรรม ซึ่งผูรับผิดชอบชดใชราคาสินทรัพยแลว หรือการรถไฟฯ ไดรับเงินหรือสิ่งทดแทนอยางอื่นตี
ราคาเปนเงินชดใชแลว ใหเสนอผูวาการรถไฟฯอนุมัติตัดบัญชีในวงเงินรายการสิ่งของละไมเกิน 50,000 บาท ทั้งหา
กรณี ”



            ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

                สั่ง ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2536



                                                 ( นายสมหมาย ตามไท )

                                                        ผูวาการรถไฟ ฯ



(การบริหารสินทรัพย)                                                                                             หนา 10
คําสั่งทั่วไป                                                                       การรถไฟแหงประเทศไทย

ที่ ก.84 / 2935

                            เรื่อง ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการ

                                                  สิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ

                                                    -----------------------------

            ตามคําสั่งทั่วไปที่ ก.058 / 1203 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2523 เรื่องระเบียบการตัดบัญชี
ทรัพยสินและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ แกไขเพิ่มเติมตามคําสั่งทั่วไปที่ ก. 001 / 48 ลง
วันที่ 6 มกราคม 2524 และคําสั่งทั่วไปที่ ก. 216 / 5229 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2528 ดังความละเอียดแจงอยูแลว นั้น
                    เนื่องจากคณะกรรมการรถไฟฯ ไดมีมติในคราวประชุมครั้งที่ 11 / 2531 เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2531
มอบอํานาจเพิ่มวงเงินและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการตัดบัญชีสินทรัพยใหอยูในอํานาจของการรถไฟฯเพิ่มขึ้น ประกอบ
กับไดมีการแกไขเพิ่มเติมระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯมา
หลายครั้ง ทําใหไมสะดวกตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ เห็นสมควรแกไขเพิ่มเติมและประมวลเสียใหม ฉะนั้น จึงให
ยกเลิกคําสั่งทั่วไปที่ ก.058 /1203 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2523, คําสั่งทั่วไปที่ ก.001 / 48 ลงวันที่ 6 มกราคม 2524
และคําสั่งทั่วไปที่ ก.216 / 5229 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2528 เสีย และใหใชระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัด
จําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ดังตอไปนี้แทน คือ.-
 1. สินทรัพยที่ตองขออนุมัติตัดบัญชีมีดังนี้.-
  1.1 เงินสด
  1.2 ลูกหนี้ของการรถไฟฯ
  1.3 วัสดุคงคลัง
  1.4 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯทุกชนิดที่จัดหาหรือสรางขึ้น
โดยใชจายจากงบประมาณรายจายลงทุน ยกเวนกรณีสินทรัพยเกาที่ชํารุดบุบสลายและมีหลักการกําหนดใหใช
งบประมาณรายจายทําการจัดหามาเปลี่ยนแทน
  1.5 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯที่ไดมาเปนกรณีดวยวิธีใดวิธี
หนึ่ง และขึ้นบัญชีไวตามประเภทของสินทรัพยนั้น
 2. สิ่งของเครื่องใชที่ตองขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการมีดังนี้.-




(การบริหารสินทรัพย)                                                                                       หนา 11
2.1 ภาชนะถาวร คือพัสดุถาวรและเครื่องใชประจําที่ทําการของหนวยงานตางๆ สุดแตสภาพของ
งาน ซึ่งจัดหามาหรือสรางขึ้นโดยใชเงินจากงบประมาณรายจายทําการและขึ้นบัญชีเครื่องใชภาชนะถาวรไว ตามคําสั่ง
ทั่วไปที่ ก.82 / 5215 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501
 2.2 สิ่งของเครื่องใชที่มีมูลคารวมอยูในบัญชีสินทรัพย ซึ่งตามหลักการกําหนดไววา เมื่อชํารุดบุบ
สลาย ตองจัดหาสิ่งของเครื่องใชใหมมาแทน โดยคิดคาจัดหาของมาแทนนั้นจากงบประมาณรายจายทําการ เชน
เครื่องมือ เครื่องใช วัสดุ อุปกรณที่ใชในการซอมบํารุง และวัสดุอุปกรณอันเปนสวนประกอบปลีกยอยของสินทรัพย
เกี่ยวกับทางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯดังตัวอยางตอไปนี้          อุปกรณชิ้นสวนควบของเครื่องจักรเครื่องยนตและ
เครื่องกล เครื่องมือวัดสอบและทดสอบ เครื่องเชื่อมและตัดดวยแกสและไฟฟา เครื่องมือประจําตัวชาง เครื่องมือ
ปลีกยอย อุปกรณชิ้นสวนควบของเตาเผาและหลอมเหล็ก อุปกรณชิ้นสวนของรถจักร รถสินคา และรถโดยสาร ไม
เหลี่ยม สะพาน ไมเสากลม ไมเสาโทรเลขเกา เหล็กประกับราง จานรองราง เครื่องประกอบราง                     และเครื่องยึด
เหนี่ยวรางอื่นๆ เปนตน
                   3.     เมื่อจะตัดสินทรัพยตามขอ 1 ออกจากบัญชี หรือจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชภาชนะถาวร
ตามขอ 2 ดวยเหตุใดเหตุหนึ่งก็ตาม        ใหเปนหนาที่ของผูที่รับผิดชอบควบคุมจัดเก็บดูแลบํารุงรักษาสินทรัพยและสิ่งของ
เครื่องใชภาชนะถาวรดังกลาว รายงานผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น จนถึงผูที่มีอํานาจแตงตั้งกรรมการขึ้นทําการ
สอบสวนสํารวจสภาพ ยกเวนสินทรัพยหรือสิ่งของหนวยใดที่มีราคาไมเกิน 500 บาท ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้.-
 3.1 สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 500 บาทขึ้นไป                               แตไมถึง
10,000 บาท ใหหัวหนากองหรือเทียบเทาสั่งแตงตั้งกรรมการสอบสวนในนามของผูอํานวยการ                      ฝายหรือหัวหนา
สํานักงาน ยกเวนสินทรัพยประเภทหมอนรองราง และรางซึ่งถอดออกจากทางตามวาระ ใหสารวัตรบํารุงทางประจํา
แขวงซึ่งเปนผูมีอํานาจสั่งการเปลี่ยนหมอนรองรางและรางอยูแลวในปจจุบัน ตามระเบียบคูมือบํารุงทางของฝายการ
ชางโยธา เปนกรรมการโดยตําแหนง ไมตองตั้งกรรมการสอบสวนสํารวจสภาพ ในนามของผูอํานวยการฝายหรือ
หัวหนาสํานักงาน
 3.2                      สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 10,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง
50,000 บาท ใหผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานสั่งตั้งกรรมการสอบสวนในนามของผูวาการรถไฟฯ
                   3.3     สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป ให
รายงานชี้แจงขึ้นไปเพื่อรองผูวาการรถไฟสั่งแตงตั้งกรรมการสอบสวนในนามผูวาการรถไฟ
                   3.4      สิ่งของเครื่องใช วัสดุอุปกรณที่ใชในการซอมบํารุง   และวัสดุอุปกรณอันเปนสวนประกอบ
ปลีกยอยของสินทรัพยเกี่ยวกับทางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ดังตัวอยางแจงในขอ 2.2 ซึ่งมีหลักการกําหนดไววา
เมื่อชํารุดบุบสลายตองจัดหาของใหมมาเปลี่ยนแทน โดยใชจากงบประมาณรายจายทําการ ถามีการรื้อถอนเลิกใชการ
และฝายที่เกี่ยวของไดวางหลักเกณฑมอบใหอยูในดุลพินิจของพนักงานไมต่ํากวาชั้นหัวหนาแผนกผูใดผูหนึ่ง หรือหลาย
คนที่จะสั่งใหทําการรื้อถอนเปลี่ยนซอมไวแลว ใหถือวาพนักงานนั้นเปนผูมีหนาที่สํารวจสภาพสิ่งของเครื่องใชและวัสดุ


(การบริหารสินทรัพย)                                                                                            หนา 12
อุปกรณเหลานั้นในคราวเดียวกันดวย เมื่อเห็นวาหมดสภาพใชการตอไปไมได ก็ใหเสนอขอเลิกใชการตอไป           ไมตองมี
กรรมการไปพิจารณาสอบสวนอีก
4.            อํานาจในการตัดบัญชีสินทรัพยและจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใช ใหเปนไปตามหลักการดังนี้
  4.1..สินทรัพยหมุนเวียนประเภทลูกหนี้ของการรถไฟฯ ตามขอ 1.2 ที่หมดอายุความเรียกรอง
ตามกฎหมาย และลูกหนี้ที่ไดติดตามทวงถามและไดดําเนินการตามขั้นตอนแหงระเบียบของการรถไฟฯจนถึงที่สุดแลวไม
เปนผลทั้งสองกรณี ใหเสนอผูวาการรถไฟอนุมัติตัดบัญชีเปนหนี้สูญ ในวงเงินลูกหนี้รายละไมเกิน 50,000 บาท
  4.2.....ยกเลิกแลว ใหดูคําสั่งทั่วไปที่                    ก.311 / 6570 ลว.20 ธ.ค.2536
  4.3....สินทรัพยตางๆ ตามขอ 1.4 และ 1.5 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาไดชํารุดทรุดโทรมไปตาม
สภาพและระยะเวลาที่ใชการมานาน ไมสามารถซอมใชการตอไปได หรือถูกโจรกรรมซึ่งมีผูรับผิดชอบชดใชแลว หรือ
เพราะเหตุสุดวิสัย หรือการรถไฟฯ ไดรับเงินหรือสิ่งทดแทนอยางอื่นตีราคาเปนเงินสดใชแลว ผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชี
สินทรัพยไดคือ.-
4.3.1....สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละไมถึง 5,000 บาท ใหอยูในอํานาจของหัวหนากองหรือ
เทียบเทาที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย
4.3.2.....สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละตั้งแต 5,000 บาท แตไมถึง 50,000 บาท ใหอยูใน
อํานาจของผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย      ยกเวนสินทรัพยประเภทหมอนรองราง
และรางซึ่งถอดออกจากทางตามวาระ ใหสารวัตรบํารุงทางประจําแขวงอนุมัติใหตัดบัญชีไดในนามของผูอํานวยการฝาย
หรือหัวหนาสํานักงาน
          4.3.3     สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละ 50,000 บาท แตไมถึง 300,000 บาท ใหอยูใน
อํานาจของรองผูวาการรถไฟที่จะอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพย
4.3.4 สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละตั้งแต 300,000 บาท แตไมเกิน 1,000,000
บาท ใหอยูในอํานาจของผูวาการรถไฟอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได
 4.4 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ที่ไดใชการจนไดคิดคาเสื่อมราคาไว
ครบราคาในทะเบียนสินทรัพยขณะที่ขอตัดออกจากบัญชีสินทรัพย ไมวาสินทรัพยนั้นจะมีราคาในทะเบียนสินทรัพย
หนวยละเทาใด ใหอยูในอํานาจของการรถไฟที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได แตถาสินทรัพยนั้นมีราคาในทะเบียน
สินทรัพยหนวยละไมถึง 300,000 บาท ก็ใหผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยดังกําหนดไวในขอ 4.3.1 ถึง 4.3.3
เปนผูพิจารณาและสั่งอนุมัติไดตามหลักเกณฑที่กําหนดไว
 4.5 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ซึ่งตามลักษณะและวิธีดําเนินงานตาม
งบประมาณลงทุนบนทางเปดที่ไดรับอนุมัติแลว จะตองตัดออกจากบัญชีเนื่องจากการรื้อถอน รื้อยาย รื้อเปลี่ยน
สภาพเพื่อปรับปรุงใหดีขึ้น หรือเพื่อสรางขึ้นใหมแทนของเดิม หรือเพื่อจะดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตามเปาหมายที่
กําหนดไวในงบประมาณลงทุนบนทางเปดสุดแตกรณี            ใหผูมีหนาที่ควบคุมดูแลบํารุงรักษาสินทรัพยนั้นจัดทํารายงาน
เสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจสั่งตั้งกรรมการสอบสวนสํารวจสภาพขึ้น ตามหลักเกณฑที่กําหนดไวใน

(การบริหารสินทรัพย)                                                                                         หนา 13
ขอ 3 เพื่อจะขออนุมัติตัดบัญชีและใหผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยดังกําหนดไวในขอ 4.3.1 ถึง 4.3.3 เปนผู
พิจารณารายงานของคณะกรรมการสอบสวนและสั่งอนุมัติไดตามหลักเกณฑที่กําหนดไว                        ถาเปนสินทรัพยที่มีราคาใน
ทะเบียนสินทรัพยหนวยละตั้งแต 300,000 บาท ใหเสนอผูวาการรถไฟพิจารณาอนุมัติในทุกกรณี
 4.6 การอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยในกรณีอื่นนอกจากที่กลาวในขอ 4.1 ถึง 4.5 ใหขออนุมัติ
คณะกรรมการรถไฟทั้งสิ้น
 4.7 สิ่งของเครื่องใชตามขอ 2.1 และ 2.2 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาไดชํารุดเสียหายไปตามสภาพ
และระยะเวลาที่ใชการมานานหรือเพราะเหตุสุดวิสัย ผูมีอํานาจใหตัดจําหนายเลิกใชการไดคือ.-
 4.7.1 สิ่งของเครื่องใชที่มีราคาทุนไมถึงหนวยละ 10,000 บาท ใหหัวหนากองหรือเทียบเทาเปนผู
พิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ
 4.7.2 สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 10,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง 30,000 บาท ให
วิศวกรอํานวยการกองเปนผูพิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ
 4.7.3 สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง 50,000 บาท ให
ผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานเปนผูพิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ
                        4.7.4   สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป ใหรายงานขออนุมัติ
จําหนายเลิกใชการตอรองผูวาการรถไฟ
                        5.   เมื่อไดมีการอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยหรือจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชตามขอ 4.1 ถึง
4.5 และ 4.7 แลว ใหผูเสนอขออนุมัติตัดบัญชีสงสําเนาเรื่องเกี่ยวของใหฝายการเงินและการบัญชีทราบทันที เพื่อ
ดําเนินการตัดสินทรัพยออกจากบัญชี
 6. เมื่อไดมีการอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยตามขอ 4.1 ถึง 4.5 แลว ใหผูเสนอขออนุมัติตัดบัญชี
รวบรวมรายการสินทรัพยที่ตัดบัญชีพรอมสําเนาเรื่องเกี่ยวของสงสํานักผูวาการปละ 2 ครั้ง หรือ 6 เดือนครั้ง เพื่อการ
รถไฟฯ เสนอคณะกรรมการรถไฟฯทราบ
           ทั้งนี้ ใหใชระเบียบการนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป คําสั่งหรือระเบียบการใดที่ขัดแยงกับคําสั่งนี้
ใหยกเลิกเสียทั้งสิ้น

              สั่ง ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2531




                                                       ( นายหิรัญ รดีศรี )

                                                           ผูวาการรถไฟ



(การบริหารสินทรัพย)                                                                                                 หนา 14
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 15
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 16
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 17
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 18
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 19
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 20
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 21
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 22
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 23
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 24
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 25
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 26
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 27
สรุปประเด็น
           1.จะตองมีความเขาใจถึง ความหมาย ของคําวา
                   “ สินทรัพยถาวร”
                   “ บัญชีภาชนะถาวร”
                    “อุปกรณสิ่งของที่เปนสวนหนึ่งของสินทรัพย
                    “วัสดุคงคลัง”
            2.จะตองมีความเขาใจในเรื่อง ขั้นตอนในการตัดบัญชี การตัดจําหนาย เลิกใชการ
            3.อํานาจการอนุมัติ ในการตัดบัญชี การตัดจําหนาย เลิกใชการ
            4.ระเบียบคําสั่ง การขาย ทําลาย




(การบริหารสินทรัพย)                                                                      หนา 28
(แบบฟอรม)
                              รายงานการขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ




                                            บันทึกขอความ
เลขที่                                                      วันที่……… เดือน…………….. พ.ศ………..

                                                         ฝาย/สํานักงาน…………………………………..

เรื่อง       ขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ(ชื่อรายการสิ่งของ)จํานวน ………..รายการ

เรียน        (หัวหนางานหนวยงาน)

สิ่งที่สงมาดวย 1) ภาพถาย
                   2) เอกสารที่เกี่ยวของ


เรื่องเดิม
         ทาง(ชื่อหนวยงาน) ไดทําการสํารวจ ตรวจสอบ สภาพ (ชื่อรายการสิ่งของ)จํานวน……..รายการ ซึ่งมี
ราคาตอหนวย (จํานวนเงิน) มีสภาพความชํารุด ดังนี้.-
         สภาพความชํารุด (ระบุรายละเอียด)
 ขอพิจารณา ไมสามารถซอมได หรือ ซอมแลวไมคุมคาพิจารณาแลว เห็นควรดําเนินการตัดจําหนายเลิกใช
การ
คําสั่งและระเบียบการ
             ตามระเบียบคําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่อง
ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ …….(อาง
ระเบียบ) ซึ่งรายการสิ่งขอที่ขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ ดังกลาวขางตน มีราคาทุนหนวยละ…………..บาท
อยูในอํานาจของ(ระบุอํานาจของหัวหนางานหนวยงาน) เปนผูพิจารณาอนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ

                                              จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการใหตอไปดวย

(การบริหารสินทรัพย)                                                                             หนา 29
(………………………………..)

                                                                          ตําแหนง……………………………..

หมายเหตุ การตัดจําหนายเลิกใชการตามขอ 2.1 และ 2.2 (ภาชนะถาวร,สิ่งของเครื่องใชที่มีมูลคารวมอยูใน
บัญชีสินทรัพย)

                                             (แบบฟอรม)
                                  รายงานการขออนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย




                                            บันทึกขอความ
เลขที่                                                     วันที่……… เดือน…………….. พ.ศ………..

                                                         ฝาย/สํานักงาน…………………………………..

เรื่อง       ขออนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย(ชื่อรายการสินทรัพย)จํานวน ………..รายการ

เรียน        (หัวหนางานหนวยงาน)

สิ่งที่สงมาดวย 1) ภาพถาย
                   2) เอกสารที่เกี่ยวของ


เรื่องเดิม
         ทาง(ชื่อหนวยงาน) ไดทําการสํารวจ ตรวจสอบ สภาพ สินทรัพย (ชื่อรายการสินทรัพย)จํานวน……..
รายการ เลขทะเบียนสินทรัพย(เลขที่………………)ป พ.ศ.ที่จัดหา(…………………….)ซึ่งมีราคาตอหนวย (จํานวน
เงิน) มีสภาพความชํารุด ดังนี้.-



(การบริหารสินทรัพย)                                                                           หนา 30
สภาพความชํารุด (ระบุรายละเอียด)
ขอพิจารณา
       1.ราคาทุนตอหนวย สินทรัพย(ชื่อรายการ) เลขทะเบียนสินทรัพย(เลขที่………………)ป พ.ศ.ที่จัดหา
(…………………….)ซึ่งมีราคาตอทุนหนวย (จํานวนเงิน) บาท
       2.มูลคาของสินทรัพยถึงปจจุบัน ซึ่งไดดําเนินการคิดคาเสื่อมราคา ในหมวด(อางอิงหมวดสินทรัพย) ซึ่ง
มีอัตราคาเสื่อมสภาพปละ( % คาเสื่อม) ดังนั้นคงเหลือมูลคาของสินทรัพยเทากับ ……………บาท
         พิจารณาแลว ไมสามารถซอมได หรือ ซอมแลวไมคุมคา เห็นควรดําเนินการตัดบัญชีสินทรัพย
คําสั่งและระเบียบการ
          ตามระเบียบคําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่อง
ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ …….(อาง
ระเบียบ) ซึ่งรายการสิ่งขอที่ขออนุมัติตัดบัญชี ดังกลาวขางตน มีราคาทุนหนวยละ…………..บาท อยูในอํานาจ
ของ(ระบุอํานาจของหัวหนางานหนวยงาน) เปนผูพิจารณาอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได

                                            จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการใหตอไปดวย



                                                                             (………………………………..)

                                                                           ตําแหนง……………………………..




(การบริหารสินทรัพย)                                                                               หนา 31
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 32
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 33
บันทึกขอความ

                                                                              วันที่   มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖


เลขที่                                                             ศูนยวิศวกรรมเครื่องกล ฝายการชางกล
เรื่อง       ขอใหแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อตัดบัญชีสินทรัพย จํานวน ๑ รายการ


เรียน                    หัวหนาหนวยธุรกิจการซอมบํารุง (คุณสิทธิพงษ พรมลา )
สิ่งที่สงมาดวย       เรื่องเกี่ยวของทั้งหมด
                   ดวยไดรับรายงานจากศูนยซอมบํารุง       เสนอขออนุมัติตัดบัญชีเครื่องฉีดน้ํารอนแรงดัน
สูง        ยี่หอ MALSBERY ผลิตภัณฑจากประเทศ USA. ราคา ๒๒๕,๑๗๘.- บาท จํานวน ๑ เครื่อง               รหัส
สินทรัพย ๓๐๐๑๖๙๘ มีอายุใชงาน ๑๘ ป ปจจุบันชํารุดไมสามารถใชงานได ซอมไมคุมทุน อะไหล
ผูผลิตเลิกผลิตไปนานแลว
                    เพื่อใหการดําเนินการดังกลาวเปนไปตามคําสั่งทั่วไปเลขที่ ก.๘๔/๒๙๓๕ ลงวันที่ ๐๑ มิ.ย.
๒๕๓๑ เรื่องการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ ๓.๓
                   จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อตัดบัญชีสินทรัพยของการ
รถไฟฯ จํานวน 1 รายการ สําหรับคณะกรรมการฝายการชางกล ขอเสนอผูดํารงตําแหนง ดังนี้ :-

            ๑. วิศวกรกํากับการกองรถดีเซลรางกรุงเทพ                          เปนประธานกรรมการ
               ศูนยซอมบํารุง ฝายการชางกล
                   ๒. สารวัตรงานบํารุงรถดีเซลรางแขวงกรุงเทพ1                           เปนกรรมการ
         กองซอมบํารุงรถดีเซลรางเขตกรุงเทพ ฝายการชางกล
                   ๓. พนักงานชั้นหัวหนาแผนกหรือเทียบเทา ในฝายการเงินและการบัญชี สุดแต อกบ.
                        จะจัดเปนกรรมการ
                                                                            (นายจุลพงษ จุฬานนท)

                                                                           วอก.ปฎิบัติการแทน วญก.


(การบริหารสินทรัพย)                                                                                หนา 34
เฉพาะ                                                                              การรถไฟแหงประเทศไทย

ที่ ก.

             เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน สํารวจสภาพ และพิจารณาตัดบัญชีสินทรัพย จํานวน ๑ รายการ

                                           ******************************

                  ดวยไดรับรายงานจากฝายการชางกลวา เครื่องฉีดน้ํารอนแรงดันสูง ยี่หอ     MALSBERY ผลิตภัณฑ
จากประเทศ USA. ของแขวง สบร.กท. ๑ ศูนยซอมบํารุง จํานวน ๑ เครื่อง รหัสสินทรัพย ๓๐๐๑๖๙๘ ขึ้น
ทะเบียนสินทรัพยไวราคา ๒๒๕,๑๗๘.- บาท มีอายุใชงานนาน ๑๘ ป ปจจุบันมีสภาพชํารุดไมสามารถใชงานได
ซอมไมคุมทุน อะไหลผูผลิตเลิกผลิตแลว        ไมสามารถซอมฟนคืนสภาพใหใชงานดังเดิมได เห็นสมควรตัดออกจาก
บัญชีสินทรัพย

         เพื่อใหดําเนินการเปนไปตามคําสั่งทั่วไปเลขที่ ก.            ๘๔ /๒๙๓๕ ลงวันที่ ๐๑ มิ.ย. ๓๑ เรื่องการตัด
บัญชีสินทรัพย และการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ ๓.๓ จึงแตงตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน เพื่อตัดบัญชีสินทรัพย ดังกลาว ประกอบดวยผูดํารงตําแหนง ดังนี้                                     :-
                       ๑. วิศวกรกํากับการกองรถดีเซลรางกรุงเทพ                                 เปนประธานกรรมการ
                                                  ศูนยซอมบํารุง ฝายการชางกล
                       ๒. สารวัตรงานบํารุงรถดีเซลรางแขวงกรุงเทพ1                        เปนกรรมการ
                           กองรถดีเซลรางกรุงเทพ ศูนยซอมบํารุ                                      งฝายการชางกล
                        ๓. พนักงานชั้นหัวหนาแผนกหรือเทียบเทา                                        เปนกรรมการ
                           ในฝายการเงินและการบัญชี                     ๑ คน สุดแต อกบ.จะจัด
  เมื่อคณะกรรมการสอบสวน สํารวจสภาพ และพิจารณาแลว มีความเห็นประการใด ใหรายงานให
ทราบ พรอมกับตรวจสอบราคาขึ้นที่ขึ้นบัญชีไว เพื่อประกอบการพิจารณาในคราวเดียวกัน
                     สั่ง ณ วันที่                           พ.ศ.                                           ๒๕๕๖
                                                                             (นายสิทธิพงษ พรมลา )

                                                                    หัวหนาหนวยธุรกิจการซอมบํารุง ปฏิบัติการแทน

                                                                            ผูวาการรถไฟแหงประเทศไทย


(การบริหารสินทรัพย)                                                                                       หนา 35
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 36
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 37
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 38
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 39
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 40
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 41
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 42
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 43
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 44
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 45
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 46
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 47
(การบริหารสินทรัพย)   หนา 48
การจัดทําฐานระบบขอมูล
                              บริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช
         ระบบฐานขอมูล เปนเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน ที่จะตองมีระบบการจัดการที่ดี หากมีความ
ถูกตองครบถวนสมบูรณ สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากมาย ไมวา การนําไปสูการรับรองสินทรัพยได
ทราบมูลคาของสินทรัพย การพิจารณาจัดหาเครื่องมือเครื่องจักรใหม ,การพิจารณาตัดบัญชี ตัดจําหนาย การ
วางแผนการซอมบํารุงดูแลรักษา การจัดทํามาตรฐาน Specifications เปนตน ไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
          ทางกองโครงการและวางแผน(วกค.)และทางพนักงานเทคนิค 9 (นายพัฒนพงษ ขวัญยืน) ได
ดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง นําโปรแกรมประยุกต Access มาออกแบบใชงานในเบื้องตน โดยมีรายละเอียดพอ
สังเขป ดังนี้.-
          1.ระบบงานบันทึกขอมูลบัญชีสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช
          2.ระบบการติดตามในแตละขั้นตอน(รายงานการตัดบัญชีสินทรัพย การตัดจําหนาย)
          3.ภาคการออกรายงาน
ขั้นตอนในการใชงานเบื้องตน
         1.คลิกเปดการใชงานโปรแกรม Access
         2.คลิก สินทรัพยถาวร
         3.คลิกคําสั่ง ตัวเลิก เปดโปรแกรมการใชงานโปรแกรมนี้




       4.คลิกเปด โปรแกรม



(การบริหารสินทรัพย)                                                                         หนา 49
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้

More Related Content

Similar to การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้

ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นsaowanee
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุน
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุนบทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุน
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุนKanok Phoocam
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfBigmong Mong
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 

Similar to การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้ (20)

Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
04 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-1304 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-13
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุน
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุนบทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุน
บทที่5ต้นทุนและจุดคุ้มทุน
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 

การบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้

  • 1. การบริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช บทนํา การบริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯและภายในหนวยงานซึ่งแตละสวนตองดูแล รับผิดชอบ ซึ่งอาจจัดหามาจากงบประมาณทําการ งบประมาณลงทุน หรือการผลิต ซอมสรางขึ้นมาเอง การ บริจาคมาก็ตาม เปนสิ่งจําเปนที่แตละหนวยงานจะตองใหความสําคัญ ดูแล บํารุงรักษา รวมทั้งมีฐานขอมูล จํานวนสิ่งของที่ครบถวน พรอมมูลคาราคาของสินทรัพยนั้น อีกทั้งหากสินทรัพยหรือสิ่งของเครื่องใชเหลานั้น ชํารุด ใชการไมได มีความจําเปนที่จะตองดําเนินการตัดบัญชี ,ตัดจําหนายเลิกใชการ และไปสูกระบวนการขาย ทําลายตอไป เปนสิ่งจําเปนที่หัวหนางานและเจาหนาที่ในสวนที่เกี่ยวของจะตองมีความรู ความเขาใจ รับทราบ ถึงแนวทาง ระเบียบ วิธีการ รวมทั้งกระบวนการที่จะดําเนินการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด เปาหมาย : จะตองสามารถรับรองบัญชีสินทรัพยที่มีอยูในบัญชีทั้งหมดได สิ่งที่ควรศึกษาเรียนรู 1.ความหมายและคําศัพทที่เกี่ยวของ 2.ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวของ 3.การจัดทําฐานขอมูลบัญชีสินทรัพยและสิ่งของ กิจกรรม 1.พัฒนาจัดทําโปรแกรมเพื่อใชในการรวบรวม รายการสินทรัพย ใหเปน File Electronic 2.สํารวจรายการสินทรัพยและบันทึกขอมูล 3.อบรม ใหความรู คําแนะนํา รับฟงขอเสนอแนะจากผูที่เกี่ยวของ 4.บูรณาการปรับปรุงขั้นตอนในการ รวบรวม รายงานการตัดบัญชีและตัดจําหนาย เปนลักษณะ One Stop Service 5.ติดตาม ประเมินผล ประสานงานกับผูเกี่ยวของอยางใกลชิดและตอเนื่อง 6.การพบปะ ประชุม เยี่ยมเยียน ภายในหนวยงาน (การบริหารสินทรัพย) หนา 1
  • 2. ความหมายและคําศัพท สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ จะเห็นไดวาในสมการบัญชีมีคําที่เกี่ยวของอยูทั้งหมด 3 คํา คือคําวา สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เราจะมาทําความเขาใจกับคําทั้งสามคํานี้กอน สินทรัพย (Assets) หมายถึง ทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มีมูลคาที่วัดไดเปนตัวเงินที่กิจการเปนเจาของ ซึ่งจะมี ตัวตนหรือไมมีตัวตนก็ได เชน เงินสด รถยนต สัมปทาน เปนตน เราสามารถจําแนกสินทรัพยออกเปนประเภท ตาง ๆ 4 ประเภท ดังนี้ สินทรัพยหมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพยที่เปนเงินสด หรือสามารถเปลี่ยนเปนเงินสดได ภายใน 1 รอบระยะเวลาของการดําเนินธุรกิจหรือ 1 ป ไดแก 1.1 เงินสด (Cash) หมายถึง ธนบัตร และเหรียญกษาปณที่กิจการมีอยูในมือ และรวมถึงเช็คที่ถึงกําหนดไดรับ เงินแลวแตกิจการยังไมไดนําไปขึ้นเงินหรือนําฝากธนาคาร ดราฟท ธนานัติ แคชเชียรเช็ค เปนตน 1.2 เงินฝากธนาคาร (Cash in Bank or Deposit) หมายถึง บัญชีเงินฝากธนาคารที่กิจการมีอยูไมวาจะเปน บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน บัญชีเงินฝากออมทรัพย บัญชีเงินฝากประจํา 1.3 เงินลงทุนระยะสั้น (Short-term Investment) หมายถึง การที่กิจการไดนําเงินที่มีอยูไปลงทุนใน หลักทรัพย หรือสินทรัพยอื่น เชน ทองคํา โดยมีวัตถุประสงคที่จะเก็งกําไรในระยะสั้น ๆ แลวขายคืนภาย ใน 1 ป 1.4 ลูกหนี้การคา (Account Receivable) หมายถึง จํานวนเงินที่ลูกคามีภาระผูกพันที่จะตองชดใชใหกับ กิจการในอนาคตขางหนาอันเนื่องมาจากธุรกิจการคา 1.5 ตั๋วเงินรับ (Notes Receivable) หมายถึง เอกสารหรือสัญญาที่ลูกคาหรือลูกหนี้ไดออกใหแกกิจการเพื่อใช เปนเอกสารในการเรียกเก็บเงินภายหลัง เชน ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน เช็คลงวันที่ลวงหนา เปนตน 1.6 สินคาคงเหลือ (Inventories) หมายถึง สินคาสําเร็จรูป งานระหวางผลิต วัตถุดิบ ที่มีไวเพื่อจําหนายหรือมี ไวเพื่อใชในการผลิต แตยังไมไดจําหนายออกไปจากกิจการ ยังคงเหลืออยูในกิจการ 1.7 ลูกหนี้อื่น ๆ (Other Receivables) หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากเหตุการณอื่นที่ไมใชเกิดจากการดําเนิน ธุรกิจตามปกติของกิจการ เชน เกิดจากการกูยืม เปนตน (การบริหารสินทรัพย) หนา 2
  • 3. 1.8 รายไดคางรับ (Accrued Revenue) หมายถึง รายไดอื่น ๆ ที่ไมเปนรายไดจากการดําเนินธุรกิจตามปกติ ของกิจการที่กิจการควรจะไดรับ แตยังไมไดรับ เชน ดอกเบี้ยคางรับ เปนตน 1.9 คาใชจายจายลวงหนา (Prepaid Expenses) หมายถึง คาใชจายที่กิจการไดจายเงินไปกอน โดยที่ยังไมได รับประโยชนจากเงินที่จายไปนั้น เชน คาเบี้ยประกันภัยจายลวงหนา คาเชาจายลวงหนา เปนตน 1.10 วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) หมายถึง วัสดุอุปกรณที่ใชในกิจการที่มีลักษณะที่ใชแลวหมดไปภายใน 1 ป เชน น้ํามันหลอลื่น ดาย ผงซักฟอก เปนตน และถาหากวัสดุสิ้นเปลืองนั้นใชในสํานักงาน ก็จะถูกเรียกวา วัสดุ สํานักงาน (Office Supplies) เชน ปากกา ดินสอ ลวดเย็บกระดาษ เปนตน เงินลงทุนระยะยาว (Long-term Investment) หมายถึง จํานวนเงินที่กิจการนําไปลงทุนในสินทรัพยตาง ๆ เพื่อที่จะไดรับผลตอบแทนในอนาคตขางหนา โดยตั้งใจจะลงทุนเปนระยะเวลานานเกินกวา 1 ป สินทรัพยถาวร (Fixed Assets) หมายถึง สินทรัพยที่มีตัวตนและมีอายุการใชงานเกิน 1 ป ที่กิจการมีไว เพื่อที่จะใชผลิตสินคาหรือบริการเพื่อที่จะกอใหเกิดรายไดกับกิจการ ตัวอยางของสินทรัพยถาวร ไดแก ที่ดิน อาคาร รถยนต เครื่องจักร เปนตน อยางไรก็ตามหากสินทรัพยที่มีตัวตนและมีอายุการใชงานเกิน 1 ป แตไมได มีไวในเพื่อผลิตสินคาหรือบริการของกิจการ ก็ไมถือวาเปนสินทรัพยถาวร เชน หากกิจการเปนกิจการขาย รถยนต รถยนตที่มีไวเพื่อขายก็ไมถือวาเปนสินทรัพยถาวร แตจะถือวาเปนสินคาคงเหลือ หรือหากกิจการซื้อ ที่ดินไวเพื่อการเก็งกําไร โดยหากราคาของที่ดินสูงขึ้นจะขายที่ดินแปลงนี้ออกไป ที่ดินแปลงนี้ก็ไมถือวาเปน สินทรัพยถาวร แตจะถือวาเปนเงินลงทุนระยะยาว เปนตน สินทรัพยอื่น (Other Assets) หมายถึงสินทรัพยอื่นที่นอกเหนือจากสินทรัพยที่ไดกลาวมาแลวทั้ง 3 ประเภท ในทางบัญชีสินทรัพยอื่นนี้จะหมายถึง สินทรัพยที่ไมมีตัวตน เชน สัมปทาน สิทธิบัตร เปนตน ซึ่งสินทรัพยอื่นนี้ จะมีอายุการใชประโยชนเกิน 1 ป หนี้สิน (Liabilities) หมายถึง จํานวนเงินที่กิจการเปนหนี้บุคคลหรือกิจการอื่น ซึ่งมีภาระผูกพันที่จะตองชําระ คืนใหกับบุคคลหรือกิจการเหลานั้นในอนาคตขางหนา หนี้สินสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนภายใน ระยะเวลาไมเกิน 1 ป ไดแก 1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร (Bank Overdraft) หมายถึง เงินที่กิจการเบิกเกินจากบัญชีเงินฝากกระแส รายวัน ซึ่งธนาคารยอมใหเบิกเกินบัญชีไปกอนในระยะสั้น ๆ ซึ่งกิจการจะตองชําระคืนธนาคารในอนาคต 1.2 เงินกูยืมธนาคารระยะสั้น (Short-term Bank Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทําสัญญาตกลงกับธนาคาร ในการกูยืมเงินจํานวนหนึ่ง โดยที่มีกําหนดชําระคืนภายใน 1 ป (การบริหารสินทรัพย) หนา 3
  • 4. 1.3 เจาหนี้การคา (Account Payable) หมายถึงจํานวนเงินที่กิจการมีภาระผูกพันที่จะตองชําระใหกับบุคคล หรือกิจการอื่นเปนคาสินคาหรือบริการที่กิจการซื้อมาเปนเงินเชื่อ 1.4 ตั๋วเงินจาย (Notes Payable) หมายถึง เอกสารที่กิจการออกใหกับบุคคลหรือกิจการ เพื่อเปนสัญญาวา เมื่อครบกําหนดตามเอกสารนั้น กิจการจะจายเงินใหกับผูที่ถือเอกสาร ในจํานวนเงินตามเอกสารนั้น 1.5 รายไดรับลวงหนา (Deferred Revenue) หมายถึง รายไดที่กิจการไดรับเงินมาแลว แตยังไมไดสงมอบ สินคาหรือบริการใหกับลูกคา ซึ่งจะมีภาระผูกพันที่จะตองสงมอบสินคาหรือบริการใหกับลูกคาในอนาคต เนื่องจากไดรับเงินมาแลว 1.6 คาใชจายคางจาย (Accrued Expenses) หมายถึง คาใชจายตาง ๆ ที่ครบกําหนดที่จะตองจายแลว แต กิจการยังไมไดจายเงิน และกิจการยังไมเคยรับรูและมีการบันทึกบัญชีมากอน จนถึงวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ เชน คาเชาคางจาย คาสาธารณูปโภคคางจาย เปนตน 1.7 เจาหนี้อื่น (Other Payable) หมายถึง ภาระผูพันที่กิจการจะตองชําระหนี้ใหกับบุคคลหรือกิจการอื่น ที่ ไมใชเจาหนี้การคา เชน เจาหนี้ที่เกิดจากการกูยืมระยะสั้นที่ไมไชธนาคาร เปนตน หนี้สินระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันที่กิจการจะตองชําระคืนบุคคลหรือกิจการอื่น ที่มีระยะเวลาการชําระคืนเกิน 1 ป แตถาหากหนี้สินระยะยาวใดที่จะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปขางหนา หนี้สินระยะยาวจํานวนนั้น จะถือเปนหนี้สินหมุนเวียน ตัวอยางเชน กิจการกูเงินกูระยะยาวจากธนาคาร จํานวน 1,000,000 บาท มีกําหนดชําระคืนเงินตน 10 ป ปละ 100,000 บาท เริ่มชําระคืนเงินตนปหนานี้เปน ปแรก ดังนั้น เงินจํานวน 100,000 บาท ที่จะตองชําระคืนในปหนา จะถือวาเปนหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สิน ระยะยาวจะเปนจํานวนเงินเพียงแค 900,000 บาท หนี้สินระยะยาวแบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก 2.1 หุนกู (Bonds Payable) หมายถึง การที่กิจการกูเงินจากบุคคลภายนอก โดยออกหุนกูไวใหเปนหลักฐาน ซึ่งกิจการจะจายผลตอบแทนใหกับผูถือหุนกูในรูปของดอกเบี้ย ซึ่งหุนกูนี้มักจะมีกําหนดการไถถอนมากกวา 1 ปและเมื่อครบกําหนดไถถอนแลว กิจการก็จะตองนําเงินไปชําระคืนใหกับผูถือหุนกู ซึ่งเราเรียกวาการไถถอน หุนกูนั้นเอง 2.2 เงินกูระยะยาวโดยมีการจํานอง หรือเงินกูจํานอง (Mortgage Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทําการกูยืม เงินจากบุคคลหรือกิจการหรือสถาบันการเงิน โดยการนําสินทรัพยถาวรของกิจการไปจํานองกับผูใหกูไวเพื่อ เปนหลักประกันเงินกู และเงินกูนั้นมีกําหนดชําระคืนเงินตนเกิน 1 ปขึ้นไป (การบริหารสินทรัพย) หนา 4
  • 5. 2.3 เงินกูระยะยาวโดยไมมีการจํานอง หรือเงินกูระยะยาว (Long-term Loan) หมายถึง การที่กิจการไดทํา การกูยืมเงินกูระยะยาวจากบุคคลหรือกิจการหรือสถาบันการเงิน โดยไมตองมีหลักทรัพยไปค้ําประกัน และ เงินกูนั้นมีกําหนดชําระคืนเงินตนเกิน 1 ปขึ้นไป สวนของเจาของ (Owner’s Equity) หรือบางทีอาจจะเรียกวา ทุน (Proprietorship) หมายถึง มูลคาของ สินทรัพยทีเจาของกิจการเปนเจาของโดยปราศจากการมีหนี้สินทึ่จะตองชําระคืนในอนาคต สวนของเจาของ ของกิจการที่ดําเนินงานแตละรูปแบบมีความแตกตางกัน ดังนี้ 1. กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorship) สําหรับกิจการเจาของคนเดียว สวนของเจาของคือ สินทรัพยที่เจาของกิจการนํามาลงทุนในกิจการเปนครั้งแรก ซึ่งจะเรียกวา “ทุน” ทุนจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น จากผลการดําเนินงานของกิจการที่มีกําไร หรือจากการที่เจาของกิจการนําสินทรัพยมาลงทุนเพิ่มเติม และทุน จะมีจํานวนลดลงจากผลการดําเนินงานของกิจการที่ขาดทุน หรือจากการที่เจาของกิจการไดถอนทุนคืนไป 2. กิจการหางหุนสวน (Partnership) สําหรับกิจการหางหุนสวน สวนของเจาของจะเรียกวา “สวนของผูถือ หุน” ซึ่งจะประกอบไปดวยทุนของผูเปนหุนสวนแตละคน และทุนของผูเปนหุนสวนแตละคนจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อ ไดรับสวนแบงกําไร หรือมีการลงทุนเพิ่ม และทุนของผูเปนหุนสวนแตละคนจะลดลงเมื่อไดรับสวนแบงการ ขาดทุน หรือเมื่อมีการถอนทุนคืน 3. กิจการบริษัทจํากัด (Limited Company) สําหรับกิจการบริษัทจํากัด สวนของเจาของจะเรียกวา “สวน ของผูถือหุน” ซึ่งจะประกอบไปดวย ทุนเรือนหุนไมวาจะเปนหุนสามัญหรือหุนบุริมสิทธิ์ สวนเกินมูลคาหุน สามัญ ซึ่งคือจํานวนเงินที่ไดมาจากการจําหนายหุนในราคาที่สูงกวามูลคาที่ตราไว และกําไรสะสมหรือขาดทุน สะสม ซึ่งหมายถึงผลการดําเนินงานที่สะสมมาในแตละปตั้งแตเริ่มดําเนินกิจการ จากสมการบัญชี สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ ทําใหเราเขาใจไดวาสินทรัพยซึ่งเปนของกิจการนั้นประกอบไปดวยแหลงที่มา 2 แหลง ก็คือมาจากการกูยืม หรือเปนหนี้บุคคลหรือกิจการอื่นซึ่งมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนในอนาคต (หนี้สิน) และอีกแหลงคือเปนของ กิจการเองโดยไมมีภาระผูกพันที่จะตองชําระคืนในอนาคต (สวนของเจาของ) ขอมูลโดย : http://coursewares.mju.ac.th/ คําคนหาที่เกี่ยวของ : สมการบัญชี, สินทรัพยถาวร, สินทรัพยหมุนเวียน, หนี้สินหมุนเวียน, เงินลงทุนระยะยาว Posted in บทความเกี่ยวกับบัญชี | No Comments » (การบริหารสินทรัพย) หนา 5
  • 6. ระเบียบ คําสั่งที่เกี่ยวของ ของการรถไฟแหงประเทศไทย คําสั่งเฉพาะ การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.138 / 4039 ถนนรองเมือง กทม.10330 ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับสินทรัพยถาวร ----------------------------- โดยที่เห็นสมควรวางระเบียบเกี่ยวกับสินทรัพยถาวรของการรถไฟ ฯเพื่อใหเหมาะแกกาลสมัยและเปน ระเบียบเรียบรอยสะดวกในการตรวจสอบและควบคุมมิใหบังเกิดการรั่วไหลขึ้นไดจึงใหผูเกี่ยวของถือปฏิบัติ ตามระเบียบการฉบับนี้ ดังตอไปนี้ 1. คําวา “ สินทรัพยถาวร ” หมายถึง สินทรัพยที่จัดหาหรือสรางขึ้นโดยใช งบประมาณรายจายลงทุนรวมทั้งที่ไดรับบริจาคมีมูลคา หรือราคาตอหนวยตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป 2. บัญชีสินทรัพยถาวรใหจัดทําไวใหเรียบรอยอยูเสมอ พรอมที่จะไดรับการตรวจทุก ขณะและใหมีการสํารวจใหญปละครั้ง ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกป 3. ผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานผูรับผิดชอบสินทรัพยถาวรออกคําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการเพื่อตรวจสอบสินทรัพยถาวรประจําป จํานวนไมนอยกวา 4 ทาน ประกอบดวย 3.1 พนักงานชั้นหัวหนากองหรือเทียบเทาขึ้นไปในฝายหรือสํานักงาน เปนประธาน 3.2 พนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาในฝายหรือสํานักงาน 2 ทาน เปนกรรมการ 3.3 พนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาตางฝายหรือสํานักงานที่อยูในเขตเดียวกัน 1 ทาน เปนกรรมการ 4. ในการรับสินทรัพยถาวรที่ไดรับการบริจาคมีมูลคาเกิน 30,000 บาท จะตองมี หนังสือรับรอง การมอบสิ่งของนั้น จากบุคคลหรือนิติบุคคล ผูมอบ หากไมระบุสินทรัพยถาวรที่ไดรับบริจาคนั้น มีมูลคาเทาใด ใหประเมินราคาสินทรัพยถาวรนั้น ณ วันที่รับมอบ และหากเปนการรับมอบอาคารตาม สัญญาเชา ฝายการชางโยธาจะตองประเมินราคาอาคารที่ไดรับบริจาค แลวแจงใหฝายการเงินและการบัญชีนํา (การบริหารสินทรัพย) หนา 6
  • 7. ขึ้นบัญชีสินทรัพยถาวรที่ไดรับการบริจาคใหถูกตอง ซึ่งเมื่อฝายการเงินและการบัญชีดําเนินการในสวนที่ เกี่ยวของเรียบรอยแลว จะบันทึกยืนยันใหฝายหรือสํานักงานผูรับมอบทราบวาสินทรัพยถาวรที่ไดรับบริจาค นั้นขึ้นบัญชีสินทรัพยถาวรไวในรหัสประเภทบัญชีใด วันที่บันทึกสินทรัพยถาวรไดรับบริจาค และเปน จํานวนเงินเทาใดเพื่อใหเจาหนาที่ของฝายหรือสํานักงานที่ไดรับบริจาคบันทึกในทะเบียนใหถูกตองตรงกันกับ ของฝายการเงินและการบัญชี เพราะหากมีเหตุจะตองตัดบัญชีสินทรัพยถาวร หรือดําเนินการอยางใดอยาง หนึ่งจะไดไวเปนหลักฐาน 5. หากมีการโอนสินทรัพยถาวรระหวางหนวยงาน ใหผูโอนทําหนังสือเปนหลักฐานในการโอน และสงสําเนาใหฝายการเงินและการบัญชีบันทึกทะเบียนสินทรัพยถาวรใหถูกตอง 6. เมื่อสินทรัพยถาวรชํารุดเสียหายพอที่จะจัดซอมไดใหใชประโยชนตอไปได ก็ใหรีบจัดทํา โดยเร็ว หากชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถจะซอมใหใชการได ใหดําเนินการตัดบัญชีสินทรัพยถาวรโดย ดําเนินการตามระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ ( คําสั่งทั่วไปที่ ก. 84 / 2935 ลว.01 มิ.ย.2531 ) 7. การตัดบัญชีสินทรัพยถาวรที่อยูในสวนกลาง คณะกรรมการสอบสวนและพิจารณาตัด บัญชีสินทรัพยถาวร จะตองมีพนักงานชั้นหัวหนางานหรือเทียบเทาในฝายการเงินและการบัญชี 1 ทาน รวมเปนกรรมการดวย 8. การตัดบัญชีสินทรัพยถาวรที่อยูในสวนภูมิภาค เมื่อคณะกรรมการสอบสวนและ พิจารณาตัดบัญชีสินทรัพยถาวรไดรายงานการสอบสวนผูแตงตั้งคณะกรรมการแลว ฝายหรือ สํานักงานที่มีความประสงคจะตัดบัญชีสินทรัพยถาวร ตองสงใหฝายการเงินและการบัญชี ตรวจสอบความถูกตองของการขึ้นทะเบียนสินทรัพยถาวรและคาเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพยถาวร นั้นกอน จึงจะสงใหผูมีอํานาจตัดบัญชีลงนามอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยถาวรตอไป ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2545 ( นายศรียุทธ ศิริเวทิน ) รองผูวาการดานพัฒนาและวางแผน รักษาการในตําแหนงผูวาการรถไฟ ฯ (การบริหารสินทรัพย) หนา 7
  • 8. คําสั่งเฉพาะ การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.139 / 4040 ถนนรองเมือง กทม.10330 ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับภาชนะถาวร ----------------------------- เนื่องจากระเบียบการจัดทําบัญชีและหนาที่พึงปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใชภาชนะถาวร ตามหนวยงานที่ทําการตางๆ ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501 ไดถือปฏิบัติมานานแลว เห็นสมควรปรับปรุงเสียใหม เพื่อใหเหมาะสมกับกาลสมัย มีความคลองตัวในการปฏิบัติยิ่งขึ้น และเปนระเบียบเรียบรอยรัดกุมสะดวกแกการ ตรวจสอบและการควบคุมมิใหบังเกิดการรั่วไหลขึ้นได ฉะนั้น จึงไดยกเลิกคําสั่งทั่วไป ที่ ก.82 / 5215 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501 และฉบับแกไขใหม ตามคําสั่งทั่วไปที่ ก.185 / 5203 ลงวันที่ 22 กันยายน 2525 โดยใหผูเกี่ยวของถือปฏิบัติตามระเบียบการฉบับใหมที่ตรา ขึ้นไวดังตอไปนี้ 1. คําวา “ ภาชนะถาวร ” หมายถึง วัสดุหรือสิ่งของเครื่องใชประจําที่ทําการของหนวยงานตางๆ ที่จัดหา หรือสรางขึ้นโดยใชงบประมาณรายจายทําการ และใชรหัสงบประมาณ 402 รวมทั้งวัสดุหรือสิ่งของที่ไดรับบริจาค ที่ มีราคาตอหนวยไมเกิน 30,000 บาท 2. เจาหนาที่ผูอยูในตําแหนงรับผิดชอบดูแลรักษาภาชนะถาวรประจําที่ทําการตองสํารวจภาชนะถาวรที่มี อยูและจัดทําบัญชีภาชนะถาวร ( แบบ 294 ) แสดงรายการตลอดจนราคาหรือมูลคาสิ่งของนั้น ๆ กับตองแสดงรายการ รับ , จําหนาย และยอดคงเหลือไวใหครบถวน 3. ในการนําภาชนะถาวรเกาขึ้นบัญชีเปนครั้งแรก ถาไมทราบราคาใหเปรียบเทียบประเมินราคา หรือ ภาชนะถาวรรายการใดที่ไมสามารถตรวจสอบไดวามีราคาเทาใดก็ใหประเมินราคาไวดวย 4. การจัดทําบัญชีภาชนะถาวรใหจัดทําไวใหเรียบรอยอยูเสมอพรอมที่จะรับการตรวจไดทุกขณะ และ ใหมีการสํารวจใหญปละครั้ง ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกป และสงสําเนาใหฝายการเงินและการบัญชี 1 ชุด 5. ในการรับไวซึ่งภาชนะถาวรใหม ผูรับหนาที่จะตองกรอกจํานวนกับราคาภาชนะถาวรตามใบ รับไวในชองรับและใหกรอกเลขที่ใบรับ วันที่รับ ลงในชองหมายเหตุของบัญชีภาชนะถาวร (แบบ 294 ) เสมอ (การบริหารสินทรัพย) หนา 8
  • 9. 6. เมื่อภาชนะถาวรชํารุดเสียหายพอที่จะจัดซอมใหใชประโยชนตอไปไดก็ใหรีบจัดทําโดยเร็ว หากชํารุดทรุดโทรมจนไมสามารถจะซอมใหใชการได ใหดําเนินการตามระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการ ตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ ( คําสั่งทั่วไปที่ ก.84 / 2935 ลงวันที่ 01 มิถุนายน 2531 ) และใหกรอกรายการลงไวในชองจําหนาย โดยลงเลขที่ใบสง ( กรณีที่สงคืนฝายการพัสดุ ) วันที่สงไวในชอง หมายเหตุ หรือหากทําการขายภาชนะถาวรที่ตัดจําหนายเลิกใชการแลวก็ใหกรอกเลขที่ใบเสร็จรับเงินไวในชอง หมายเหตุและจะตองแจงใหฝายการเงินและการบัญชีทราบดวย ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2545 ( นายศรียุทธ ศิริเวทิน ) รองผูวาการดานพัฒนาและวางแผน รักษาการในตําแหนงผูวาการรถไฟ ฯ (การบริหารสินทรัพย) หนา 9
  • 10. คําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.311 / 6570 ถนนรองเมือง กทม.10330 เรื่องระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการ สิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ( แกไขเพิ่มเติม ) ----------------------------- ตามคําสั่งเฉพาะที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่องระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการ ตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ดังความละเอียดแจงอยูแลว นั้น บัดนี้ เห็นสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของ เครื่องใชของการรถไฟฯ เสียใหม เพื่อใหการตัดบัญชีสินทรัพยหมุนเวียน ประเภทวัสดุคงคลังเปนไปโดยชัดเจนในการ ปฏิบัติ ฉะนั้น จึงใหยกเลิกขอความในขอ 4.2 ของคําสั่งทั่วไปที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เสีย และใหใช ขอความตอไปนี้แทน “ 4.2 สินทรัพยหมุนเวียนประเภทวัสดุคงคลัง ตามขอ 1.3 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาชํารุดทรุดโทรมไป ตามสภาพจากการเก็บรักษาไมสามารถใชการตอไปได หรือยกเลิกใชการไมสามารถนําไปใชประโยชนอื่นใดไดหรือเพราะ เหตุสุดวิสัย หรือถูกโจรกรรม ซึ่งผูรับผิดชอบชดใชราคาสินทรัพยแลว หรือการรถไฟฯ ไดรับเงินหรือสิ่งทดแทนอยางอื่นตี ราคาเปนเงินชดใชแลว ใหเสนอผูวาการรถไฟฯอนุมัติตัดบัญชีในวงเงินรายการสิ่งของละไมเกิน 50,000 บาท ทั้งหา กรณี ” ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2536 ( นายสมหมาย ตามไท ) ผูวาการรถไฟ ฯ (การบริหารสินทรัพย) หนา 10
  • 11. คําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.84 / 2935 เรื่อง ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการ สิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ----------------------------- ตามคําสั่งทั่วไปที่ ก.058 / 1203 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2523 เรื่องระเบียบการตัดบัญชี ทรัพยสินและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟ ฯ แกไขเพิ่มเติมตามคําสั่งทั่วไปที่ ก. 001 / 48 ลง วันที่ 6 มกราคม 2524 และคําสั่งทั่วไปที่ ก. 216 / 5229 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2528 ดังความละเอียดแจงอยูแลว นั้น เนื่องจากคณะกรรมการรถไฟฯ ไดมีมติในคราวประชุมครั้งที่ 11 / 2531 เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2531 มอบอํานาจเพิ่มวงเงินและเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการตัดบัญชีสินทรัพยใหอยูในอํานาจของการรถไฟฯเพิ่มขึ้น ประกอบ กับไดมีการแกไขเพิ่มเติมระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯมา หลายครั้ง ทําใหไมสะดวกตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ เห็นสมควรแกไขเพิ่มเติมและประมวลเสียใหม ฉะนั้น จึงให ยกเลิกคําสั่งทั่วไปที่ ก.058 /1203 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2523, คําสั่งทั่วไปที่ ก.001 / 48 ลงวันที่ 6 มกราคม 2524 และคําสั่งทั่วไปที่ ก.216 / 5229 ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2528 เสีย และใหใชระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัด จําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ดังตอไปนี้แทน คือ.- 1. สินทรัพยที่ตองขออนุมัติตัดบัญชีมีดังนี้.- 1.1 เงินสด 1.2 ลูกหนี้ของการรถไฟฯ 1.3 วัสดุคงคลัง 1.4 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯทุกชนิดที่จัดหาหรือสรางขึ้น โดยใชจายจากงบประมาณรายจายลงทุน ยกเวนกรณีสินทรัพยเกาที่ชํารุดบุบสลายและมีหลักการกําหนดใหใช งบประมาณรายจายทําการจัดหามาเปลี่ยนแทน 1.5 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯที่ไดมาเปนกรณีดวยวิธีใดวิธี หนึ่ง และขึ้นบัญชีไวตามประเภทของสินทรัพยนั้น 2. สิ่งของเครื่องใชที่ตองขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการมีดังนี้.- (การบริหารสินทรัพย) หนา 11
  • 12. 2.1 ภาชนะถาวร คือพัสดุถาวรและเครื่องใชประจําที่ทําการของหนวยงานตางๆ สุดแตสภาพของ งาน ซึ่งจัดหามาหรือสรางขึ้นโดยใชเงินจากงบประมาณรายจายทําการและขึ้นบัญชีเครื่องใชภาชนะถาวรไว ตามคําสั่ง ทั่วไปที่ ก.82 / 5215 ลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2501 2.2 สิ่งของเครื่องใชที่มีมูลคารวมอยูในบัญชีสินทรัพย ซึ่งตามหลักการกําหนดไววา เมื่อชํารุดบุบ สลาย ตองจัดหาสิ่งของเครื่องใชใหมมาแทน โดยคิดคาจัดหาของมาแทนนั้นจากงบประมาณรายจายทําการ เชน เครื่องมือ เครื่องใช วัสดุ อุปกรณที่ใชในการซอมบํารุง และวัสดุอุปกรณอันเปนสวนประกอบปลีกยอยของสินทรัพย เกี่ยวกับทางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟฯดังตัวอยางตอไปนี้ อุปกรณชิ้นสวนควบของเครื่องจักรเครื่องยนตและ เครื่องกล เครื่องมือวัดสอบและทดสอบ เครื่องเชื่อมและตัดดวยแกสและไฟฟา เครื่องมือประจําตัวชาง เครื่องมือ ปลีกยอย อุปกรณชิ้นสวนควบของเตาเผาและหลอมเหล็ก อุปกรณชิ้นสวนของรถจักร รถสินคา และรถโดยสาร ไม เหลี่ยม สะพาน ไมเสากลม ไมเสาโทรเลขเกา เหล็กประกับราง จานรองราง เครื่องประกอบราง และเครื่องยึด เหนี่ยวรางอื่นๆ เปนตน 3. เมื่อจะตัดสินทรัพยตามขอ 1 ออกจากบัญชี หรือจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชภาชนะถาวร ตามขอ 2 ดวยเหตุใดเหตุหนึ่งก็ตาม ใหเปนหนาที่ของผูที่รับผิดชอบควบคุมจัดเก็บดูแลบํารุงรักษาสินทรัพยและสิ่งของ เครื่องใชภาชนะถาวรดังกลาว รายงานผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น จนถึงผูที่มีอํานาจแตงตั้งกรรมการขึ้นทําการ สอบสวนสํารวจสภาพ ยกเวนสินทรัพยหรือสิ่งของหนวยใดที่มีราคาไมเกิน 500 บาท ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้.- 3.1 สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 500 บาทขึ้นไป แตไมถึง 10,000 บาท ใหหัวหนากองหรือเทียบเทาสั่งแตงตั้งกรรมการสอบสวนในนามของผูอํานวยการ ฝายหรือหัวหนา สํานักงาน ยกเวนสินทรัพยประเภทหมอนรองราง และรางซึ่งถอดออกจากทางตามวาระ ใหสารวัตรบํารุงทางประจํา แขวงซึ่งเปนผูมีอํานาจสั่งการเปลี่ยนหมอนรองรางและรางอยูแลวในปจจุบัน ตามระเบียบคูมือบํารุงทางของฝายการ ชางโยธา เปนกรรมการโดยตําแหนง ไมตองตั้งกรรมการสอบสวนสํารวจสภาพ ในนามของผูอํานวยการฝายหรือ หัวหนาสํานักงาน 3.2 สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 10,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง 50,000 บาท ใหผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานสั่งตั้งกรรมการสอบสวนในนามของผูวาการรถไฟฯ 3.3 สินทรัพยหรือสิ่งของที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยใดตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป ให รายงานชี้แจงขึ้นไปเพื่อรองผูวาการรถไฟสั่งแตงตั้งกรรมการสอบสวนในนามผูวาการรถไฟ 3.4 สิ่งของเครื่องใช วัสดุอุปกรณที่ใชในการซอมบํารุง และวัสดุอุปกรณอันเปนสวนประกอบ ปลีกยอยของสินทรัพยเกี่ยวกับทางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ดังตัวอยางแจงในขอ 2.2 ซึ่งมีหลักการกําหนดไววา เมื่อชํารุดบุบสลายตองจัดหาของใหมมาเปลี่ยนแทน โดยใชจากงบประมาณรายจายทําการ ถามีการรื้อถอนเลิกใชการ และฝายที่เกี่ยวของไดวางหลักเกณฑมอบใหอยูในดุลพินิจของพนักงานไมต่ํากวาชั้นหัวหนาแผนกผูใดผูหนึ่ง หรือหลาย คนที่จะสั่งใหทําการรื้อถอนเปลี่ยนซอมไวแลว ใหถือวาพนักงานนั้นเปนผูมีหนาที่สํารวจสภาพสิ่งของเครื่องใชและวัสดุ (การบริหารสินทรัพย) หนา 12
  • 13. อุปกรณเหลานั้นในคราวเดียวกันดวย เมื่อเห็นวาหมดสภาพใชการตอไปไมได ก็ใหเสนอขอเลิกใชการตอไป ไมตองมี กรรมการไปพิจารณาสอบสวนอีก 4. อํานาจในการตัดบัญชีสินทรัพยและจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใช ใหเปนไปตามหลักการดังนี้ 4.1..สินทรัพยหมุนเวียนประเภทลูกหนี้ของการรถไฟฯ ตามขอ 1.2 ที่หมดอายุความเรียกรอง ตามกฎหมาย และลูกหนี้ที่ไดติดตามทวงถามและไดดําเนินการตามขั้นตอนแหงระเบียบของการรถไฟฯจนถึงที่สุดแลวไม เปนผลทั้งสองกรณี ใหเสนอผูวาการรถไฟอนุมัติตัดบัญชีเปนหนี้สูญ ในวงเงินลูกหนี้รายละไมเกิน 50,000 บาท 4.2.....ยกเลิกแลว ใหดูคําสั่งทั่วไปที่ ก.311 / 6570 ลว.20 ธ.ค.2536 4.3....สินทรัพยตางๆ ตามขอ 1.4 และ 1.5 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาไดชํารุดทรุดโทรมไปตาม สภาพและระยะเวลาที่ใชการมานาน ไมสามารถซอมใชการตอไปได หรือถูกโจรกรรมซึ่งมีผูรับผิดชอบชดใชแลว หรือ เพราะเหตุสุดวิสัย หรือการรถไฟฯ ไดรับเงินหรือสิ่งทดแทนอยางอื่นตีราคาเปนเงินสดใชแลว ผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชี สินทรัพยไดคือ.- 4.3.1....สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละไมถึง 5,000 บาท ใหอยูในอํานาจของหัวหนากองหรือ เทียบเทาที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย 4.3.2.....สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละตั้งแต 5,000 บาท แตไมถึง 50,000 บาท ใหอยูใน อํานาจของผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย ยกเวนสินทรัพยประเภทหมอนรองราง และรางซึ่งถอดออกจากทางตามวาระ ใหสารวัตรบํารุงทางประจําแขวงอนุมัติใหตัดบัญชีไดในนามของผูอํานวยการฝาย หรือหัวหนาสํานักงาน 4.3.3 สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละ 50,000 บาท แตไมถึง 300,000 บาท ใหอยูใน อํานาจของรองผูวาการรถไฟที่จะอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพย 4.3.4 สินทรัพยที่มีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละตั้งแต 300,000 บาท แตไมเกิน 1,000,000 บาท ใหอยูในอํานาจของผูวาการรถไฟอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได 4.4 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ที่ไดใชการจนไดคิดคาเสื่อมราคาไว ครบราคาในทะเบียนสินทรัพยขณะที่ขอตัดออกจากบัญชีสินทรัพย ไมวาสินทรัพยนั้นจะมีราคาในทะเบียนสินทรัพย หนวยละเทาใด ใหอยูในอํานาจของการรถไฟที่จะอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได แตถาสินทรัพยนั้นมีราคาในทะเบียน สินทรัพยหนวยละไมถึง 300,000 บาท ก็ใหผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยดังกําหนดไวในขอ 4.3.1 ถึง 4.3.3 เปนผูพิจารณาและสั่งอนุมัติไดตามหลักเกณฑที่กําหนดไว 4.5 สินทรัพยถาวรประเภททางถาวรและเครื่องบริภัณฑรถไฟ ซึ่งตามลักษณะและวิธีดําเนินงานตาม งบประมาณลงทุนบนทางเปดที่ไดรับอนุมัติแลว จะตองตัดออกจากบัญชีเนื่องจากการรื้อถอน รื้อยาย รื้อเปลี่ยน สภาพเพื่อปรับปรุงใหดีขึ้น หรือเพื่อสรางขึ้นใหมแทนของเดิม หรือเพื่อจะดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตามเปาหมายที่ กําหนดไวในงบประมาณลงทุนบนทางเปดสุดแตกรณี ใหผูมีหนาที่ควบคุมดูแลบํารุงรักษาสินทรัพยนั้นจัดทํารายงาน เสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับจนถึงผูมีอํานาจสั่งตั้งกรรมการสอบสวนสํารวจสภาพขึ้น ตามหลักเกณฑที่กําหนดไวใน (การบริหารสินทรัพย) หนา 13
  • 14. ขอ 3 เพื่อจะขออนุมัติตัดบัญชีและใหผูมีอํานาจอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยดังกําหนดไวในขอ 4.3.1 ถึง 4.3.3 เปนผู พิจารณารายงานของคณะกรรมการสอบสวนและสั่งอนุมัติไดตามหลักเกณฑที่กําหนดไว ถาเปนสินทรัพยที่มีราคาใน ทะเบียนสินทรัพยหนวยละตั้งแต 300,000 บาท ใหเสนอผูวาการรถไฟพิจารณาอนุมัติในทุกกรณี 4.6 การอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยในกรณีอื่นนอกจากที่กลาวในขอ 4.1 ถึง 4.5 ใหขออนุมัติ คณะกรรมการรถไฟทั้งสิ้น 4.7 สิ่งของเครื่องใชตามขอ 2.1 และ 2.2 ซึ่งสอบแลวปรากฏวาไดชํารุดเสียหายไปตามสภาพ และระยะเวลาที่ใชการมานานหรือเพราะเหตุสุดวิสัย ผูมีอํานาจใหตัดจําหนายเลิกใชการไดคือ.- 4.7.1 สิ่งของเครื่องใชที่มีราคาทุนไมถึงหนวยละ 10,000 บาท ใหหัวหนากองหรือเทียบเทาเปนผู พิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ 4.7.2 สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 10,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง 30,000 บาท ให วิศวกรอํานวยการกองเปนผูพิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ 4.7.3 สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป แตไมถึง 50,000 บาท ให ผูอํานวยการฝายหรือหัวหนาสํานักงานเปนผูพิจารณาอนุมัติจําหนายเลิกใชการ 4.7.4 สิ่งของเครื่องใชหนวยใดที่มีราคาทุนตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป ใหรายงานขออนุมัติ จําหนายเลิกใชการตอรองผูวาการรถไฟ 5. เมื่อไดมีการอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยหรือจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชตามขอ 4.1 ถึง 4.5 และ 4.7 แลว ใหผูเสนอขออนุมัติตัดบัญชีสงสําเนาเรื่องเกี่ยวของใหฝายการเงินและการบัญชีทราบทันที เพื่อ ดําเนินการตัดสินทรัพยออกจากบัญชี 6. เมื่อไดมีการอนุมัติใหตัดบัญชีสินทรัพยตามขอ 4.1 ถึง 4.5 แลว ใหผูเสนอขออนุมัติตัดบัญชี รวบรวมรายการสินทรัพยที่ตัดบัญชีพรอมสําเนาเรื่องเกี่ยวของสงสํานักผูวาการปละ 2 ครั้ง หรือ 6 เดือนครั้ง เพื่อการ รถไฟฯ เสนอคณะกรรมการรถไฟฯทราบ ทั้งนี้ ใหใชระเบียบการนี้ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป คําสั่งหรือระเบียบการใดที่ขัดแยงกับคําสั่งนี้ ใหยกเลิกเสียทั้งสิ้น สั่ง ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2531 ( นายหิรัญ รดีศรี ) ผูวาการรถไฟ (การบริหารสินทรัพย) หนา 14
  • 28. สรุปประเด็น 1.จะตองมีความเขาใจถึง ความหมาย ของคําวา “ สินทรัพยถาวร” “ บัญชีภาชนะถาวร” “อุปกรณสิ่งของที่เปนสวนหนึ่งของสินทรัพย “วัสดุคงคลัง” 2.จะตองมีความเขาใจในเรื่อง ขั้นตอนในการตัดบัญชี การตัดจําหนาย เลิกใชการ 3.อํานาจการอนุมัติ ในการตัดบัญชี การตัดจําหนาย เลิกใชการ 4.ระเบียบคําสั่ง การขาย ทําลาย (การบริหารสินทรัพย) หนา 28
  • 29. (แบบฟอรม) รายงานการขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ บันทึกขอความ เลขที่ วันที่……… เดือน…………….. พ.ศ……….. ฝาย/สํานักงาน………………………………….. เรื่อง ขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ(ชื่อรายการสิ่งของ)จํานวน ………..รายการ เรียน (หัวหนางานหนวยงาน) สิ่งที่สงมาดวย 1) ภาพถาย 2) เอกสารที่เกี่ยวของ เรื่องเดิม ทาง(ชื่อหนวยงาน) ไดทําการสํารวจ ตรวจสอบ สภาพ (ชื่อรายการสิ่งของ)จํานวน……..รายการ ซึ่งมี ราคาตอหนวย (จํานวนเงิน) มีสภาพความชํารุด ดังนี้.- สภาพความชํารุด (ระบุรายละเอียด) ขอพิจารณา ไมสามารถซอมได หรือ ซอมแลวไมคุมคาพิจารณาแลว เห็นควรดําเนินการตัดจําหนายเลิกใช การ คําสั่งและระเบียบการ ตามระเบียบคําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่อง ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ …….(อาง ระเบียบ) ซึ่งรายการสิ่งขอที่ขออนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ ดังกลาวขางตน มีราคาทุนหนวยละ…………..บาท อยูในอํานาจของ(ระบุอํานาจของหัวหนางานหนวยงาน) เปนผูพิจารณาอนุมัติตัดจําหนายเลิกใชการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการใหตอไปดวย (การบริหารสินทรัพย) หนา 29
  • 30. (………………………………..) ตําแหนง…………………………….. หมายเหตุ การตัดจําหนายเลิกใชการตามขอ 2.1 และ 2.2 (ภาชนะถาวร,สิ่งของเครื่องใชที่มีมูลคารวมอยูใน บัญชีสินทรัพย) (แบบฟอรม) รายงานการขออนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย บันทึกขอความ เลขที่ วันที่……… เดือน…………….. พ.ศ……….. ฝาย/สํานักงาน………………………………….. เรื่อง ขออนุมัติตัดบัญชีสินทรัพย(ชื่อรายการสินทรัพย)จํานวน ………..รายการ เรียน (หัวหนางานหนวยงาน) สิ่งที่สงมาดวย 1) ภาพถาย 2) เอกสารที่เกี่ยวของ เรื่องเดิม ทาง(ชื่อหนวยงาน) ไดทําการสํารวจ ตรวจสอบ สภาพ สินทรัพย (ชื่อรายการสินทรัพย)จํานวน…….. รายการ เลขทะเบียนสินทรัพย(เลขที่………………)ป พ.ศ.ที่จัดหา(…………………….)ซึ่งมีราคาตอหนวย (จํานวน เงิน) มีสภาพความชํารุด ดังนี้.- (การบริหารสินทรัพย) หนา 30
  • 31. สภาพความชํารุด (ระบุรายละเอียด) ขอพิจารณา 1.ราคาทุนตอหนวย สินทรัพย(ชื่อรายการ) เลขทะเบียนสินทรัพย(เลขที่………………)ป พ.ศ.ที่จัดหา (…………………….)ซึ่งมีราคาตอทุนหนวย (จํานวนเงิน) บาท 2.มูลคาของสินทรัพยถึงปจจุบัน ซึ่งไดดําเนินการคิดคาเสื่อมราคา ในหมวด(อางอิงหมวดสินทรัพย) ซึ่ง มีอัตราคาเสื่อมสภาพปละ( % คาเสื่อม) ดังนั้นคงเหลือมูลคาของสินทรัพยเทากับ ……………บาท พิจารณาแลว ไมสามารถซอมได หรือ ซอมแลวไมคุมคา เห็นควรดําเนินการตัดบัญชีสินทรัพย คําสั่งและระเบียบการ ตามระเบียบคําสั่งทั่วไป การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก.84/2935 ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2531 เรื่อง ระเบียบการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ …….(อาง ระเบียบ) ซึ่งรายการสิ่งขอที่ขออนุมัติตัดบัญชี ดังกลาวขางตน มีราคาทุนหนวยละ…………..บาท อยูในอํานาจ ของ(ระบุอํานาจของหัวหนางานหนวยงาน) เปนผูพิจารณาอนุมัติตัดบัญชีสินทรัพยได จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดําเนินการใหตอไปดวย (………………………………..) ตําแหนง…………………………….. (การบริหารสินทรัพย) หนา 31
  • 34. บันทึกขอความ วันที่ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ เลขที่ ศูนยวิศวกรรมเครื่องกล ฝายการชางกล เรื่อง ขอใหแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อตัดบัญชีสินทรัพย จํานวน ๑ รายการ เรียน หัวหนาหนวยธุรกิจการซอมบํารุง (คุณสิทธิพงษ พรมลา ) สิ่งที่สงมาดวย เรื่องเกี่ยวของทั้งหมด ดวยไดรับรายงานจากศูนยซอมบํารุง เสนอขออนุมัติตัดบัญชีเครื่องฉีดน้ํารอนแรงดัน สูง ยี่หอ MALSBERY ผลิตภัณฑจากประเทศ USA. ราคา ๒๒๕,๑๗๘.- บาท จํานวน ๑ เครื่อง รหัส สินทรัพย ๓๐๐๑๖๙๘ มีอายุใชงาน ๑๘ ป ปจจุบันชํารุดไมสามารถใชงานได ซอมไมคุมทุน อะไหล ผูผลิตเลิกผลิตไปนานแลว เพื่อใหการดําเนินการดังกลาวเปนไปตามคําสั่งทั่วไปเลขที่ ก.๘๔/๒๙๓๕ ลงวันที่ ๐๑ มิ.ย. ๒๕๓๑ เรื่องการตัดบัญชีสินทรัพยและการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ ๓.๓ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อตัดบัญชีสินทรัพยของการ รถไฟฯ จํานวน 1 รายการ สําหรับคณะกรรมการฝายการชางกล ขอเสนอผูดํารงตําแหนง ดังนี้ :- ๑. วิศวกรกํากับการกองรถดีเซลรางกรุงเทพ เปนประธานกรรมการ ศูนยซอมบํารุง ฝายการชางกล ๒. สารวัตรงานบํารุงรถดีเซลรางแขวงกรุงเทพ1 เปนกรรมการ กองซอมบํารุงรถดีเซลรางเขตกรุงเทพ ฝายการชางกล ๓. พนักงานชั้นหัวหนาแผนกหรือเทียบเทา ในฝายการเงินและการบัญชี สุดแต อกบ. จะจัดเปนกรรมการ (นายจุลพงษ จุฬานนท) วอก.ปฎิบัติการแทน วญก. (การบริหารสินทรัพย) หนา 34
  • 35. เฉพาะ การรถไฟแหงประเทศไทย ที่ ก. เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน สํารวจสภาพ และพิจารณาตัดบัญชีสินทรัพย จํานวน ๑ รายการ ****************************** ดวยไดรับรายงานจากฝายการชางกลวา เครื่องฉีดน้ํารอนแรงดันสูง ยี่หอ MALSBERY ผลิตภัณฑ จากประเทศ USA. ของแขวง สบร.กท. ๑ ศูนยซอมบํารุง จํานวน ๑ เครื่อง รหัสสินทรัพย ๓๐๐๑๖๙๘ ขึ้น ทะเบียนสินทรัพยไวราคา ๒๒๕,๑๗๘.- บาท มีอายุใชงานนาน ๑๘ ป ปจจุบันมีสภาพชํารุดไมสามารถใชงานได ซอมไมคุมทุน อะไหลผูผลิตเลิกผลิตแลว ไมสามารถซอมฟนคืนสภาพใหใชงานดังเดิมได เห็นสมควรตัดออกจาก บัญชีสินทรัพย เพื่อใหดําเนินการเปนไปตามคําสั่งทั่วไปเลขที่ ก. ๘๔ /๒๙๓๕ ลงวันที่ ๐๑ มิ.ย. ๓๑ เรื่องการตัด บัญชีสินทรัพย และการตัดจําหนายเลิกใชการสิ่งของเครื่องใชของการรถไฟฯ ขอ ๓.๓ จึงแตงตั้งคณะกรรมการ สอบสวน เพื่อตัดบัญชีสินทรัพย ดังกลาว ประกอบดวยผูดํารงตําแหนง ดังนี้ :- ๑. วิศวกรกํากับการกองรถดีเซลรางกรุงเทพ เปนประธานกรรมการ ศูนยซอมบํารุง ฝายการชางกล ๒. สารวัตรงานบํารุงรถดีเซลรางแขวงกรุงเทพ1 เปนกรรมการ กองรถดีเซลรางกรุงเทพ ศูนยซอมบํารุ งฝายการชางกล ๓. พนักงานชั้นหัวหนาแผนกหรือเทียบเทา เปนกรรมการ ในฝายการเงินและการบัญชี ๑ คน สุดแต อกบ.จะจัด เมื่อคณะกรรมการสอบสวน สํารวจสภาพ และพิจารณาแลว มีความเห็นประการใด ใหรายงานให ทราบ พรอมกับตรวจสอบราคาขึ้นที่ขึ้นบัญชีไว เพื่อประกอบการพิจารณาในคราวเดียวกัน สั่ง ณ วันที่ พ.ศ. ๒๕๕๖ (นายสิทธิพงษ พรมลา ) หัวหนาหนวยธุรกิจการซอมบํารุง ปฏิบัติการแทน ผูวาการรถไฟแหงประเทศไทย (การบริหารสินทรัพย) หนา 35
  • 49. การจัดทําฐานระบบขอมูล บริหารสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช ระบบฐานขอมูล เปนเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน ที่จะตองมีระบบการจัดการที่ดี หากมีความ ถูกตองครบถวนสมบูรณ สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากมาย ไมวา การนําไปสูการรับรองสินทรัพยได ทราบมูลคาของสินทรัพย การพิจารณาจัดหาเครื่องมือเครื่องจักรใหม ,การพิจารณาตัดบัญชี ตัดจําหนาย การ วางแผนการซอมบํารุงดูแลรักษา การจัดทํามาตรฐาน Specifications เปนตน ไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทางกองโครงการและวางแผน(วกค.)และทางพนักงานเทคนิค 9 (นายพัฒนพงษ ขวัญยืน) ได ดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง นําโปรแกรมประยุกต Access มาออกแบบใชงานในเบื้องตน โดยมีรายละเอียดพอ สังเขป ดังนี้.- 1.ระบบงานบันทึกขอมูลบัญชีสินทรัพยและสิ่งของเครื่องใช 2.ระบบการติดตามในแตละขั้นตอน(รายงานการตัดบัญชีสินทรัพย การตัดจําหนาย) 3.ภาคการออกรายงาน ขั้นตอนในการใชงานเบื้องตน 1.คลิกเปดการใชงานโปรแกรม Access 2.คลิก สินทรัพยถาวร 3.คลิกคําสั่ง ตัวเลิก เปดโปรแกรมการใชงานโปรแกรมนี้ 4.คลิกเปด โปรแกรม (การบริหารสินทรัพย) หนา 49