SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๒ สีลวนาคจริยา (มาตุโปสกจริยา)
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
แต่ถึงแม้เราจะถูกเขาใส่ไว้ในเสาตะลุง เราก็ไม่คิดโกรธ เพื่อรักษาศีล เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้
บริบูรณ์. ถ้าเขาพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขาเลย เพราะเรากลัวศีล
ของเราจะขาด.
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๒. หัตถินาควรรค
หมวดว่าด้วยพญาช้างเป็นต้น
๒. การบาเพ็ญศีลบารมี
๑. มาตุโปสกจริยา
ว่าด้วยจริยาของพญาช้างตัวเลี้ยงมารดา
[๑] ในกาลที่เราเป็นช้างกุญชรเลี้ยงมารดาอยู่ในป่าใหญ่ ครั้งนั้น ในแผ่นดินนี้ ไม่มีอะไรที่จะ
เสมอด้วยคุณ(ศีล)ของเรา
[๒] พรานป่าพบเราในป่าใหญ่แล้ว ได้กราบทูลแด่พระราชาว่า ‘ข้าแต่มหาราช ช้างมงคลซึ่ง
สมควรแก่พระองค์อยู่ในป่าใหญ่
[๓] อันการจับช้างนั้นไม่ต้องขุดคู แม้การปักเสาตะลุง(เสาสาหรับผูกช้าง) และการขุดหลุมพราง
ก็ไม่ต้อง ในขณะที่จับที่งวงเท่านั้น ช้างนั้นก็จะมา ณ ที่นี้ เอง พระเจ้าข้า’
[๔] ฝ่ายพระราชาได้สดับคาของพรานป่านั้นแล้วก็ทรงดีพระทัย ทรงส่งควาญช้างซึ่งเป็น
อาจารย์ผู้ฉลาดศึกษาดีแล้วไป
[๕] ควาญช้างนั้นไปแล้ว ได้พบช้างกาลังถอนเหง้าบัวอยู่ในสระบัวหลวง เพื่อเลี้ยงมารดา
[๖] ควาญช้างรู้คุณคือศีลของเรา พิจารณาดูลักษณะแล้วกล่าวว่า มานี่แนะลูก แล้วได้จับที่งวง
ของเรา
[๗] ครั้งนั้น กาลังของเราที่มีอยู่ในกายตามปกติอันใด วันนี้ กาลังของเรานั้นเสมอเหมือนด้วย
กาลังของช้างหลายพันเชือก
[๘] ถ้าเราโกรธควาญช้างเหล่านั้น ผู้เข้ามาใกล้เพื่อจับเรา เราก็สามารถเหยียบเขาเหล่านั้น
(ให้แหลกละเอียด)ได้ แม้จนถึงราชสมบัติของมนุษย์
2
[๙] อีกอย่างหนึ่ง แม้เขาจะผูกข้าพเจ้าไว้ที่เสาตะลุง เราก็ไม่ทาความเสียใจ เพราะรักษาศีล
เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้บริบูรณ์
[๑๐] ถ้าเขาเหล่านั้นพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขา
เหล่านั้นเลย เพราะเรากลัวศีลขาด ฉะนี้ แล
มาตุโปสกจริยาที่ ๑ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๑. สีลวนาคจริยา
อรรถกถาหัตถินาควรรคที่ ๒
๒. การบาเพ็ญศีลบารมี
อรรถกถาสีลวนาคจริยาที่ ๑
เรื่องมีอยู่ว่า พระโพธิสัตว์ ในครั้งนั้นบังเกิดในกาเนิดช้าง ณ หิมวันตประเทศ. เผือกผ่องตลอด
รูปงาม สมบูรณ์ด้วยลักษณะเป็นหัวหน้าโขลง มีช้างบริวาร ๑๐๐,๐๐๐ เชือก.
ส่วนมารดาของพระโพธิสัตว์ตาบอด.
พระโพธิสัตว์ให้ผลาผลมีรสอร่อยในงวงช้างทั้งหลายแล้วเลี้ยงมารดา. ช้างทั้งหลายไม่เอาไปให้
มารดาเคี้ยวกินเสียเอง.
พระโพธิสัตว์คอยสังเกตดูก็รู้เรื่องราว คิดว่าเราจะเลิกละโขลงช้าง เลี้ยงดูมารดาเอง.
ตอนกลางคืน เมื่อช้างเหล่าอื่นไม่รู้ ก็พามารดาไปยังเชิงเขาจัณโฑรณบรรพต เข้าไปอาศัยสระ
บัวสระหนึ่ง ให้มารดาอยู่ในถ้าภูเขาซึ่งตั้งอยู่ แล้วเลี้ยงดู.
พรานป่าคนหนึ่งหลงทางไม่สามารถกาหนดทิศได้ร้องคร่าครวญเสียจนดัง. พระโพธิสัตว์ได้ยิน
เสียงของพรานป่านั้นจึงดาริว่าชายผู้นี้ ไร้ที่พึ่ง เมื่อเราอยู่การที่ชายผู้นี้ จะพึงพินาศไปในที่นี้ ไม่เป็นการ
สมควร. จึงไปหาพรานป่า เห็นพรานป่าหนีเพราะความกลัวจึงถามว่า ท่านผู้เจริญ ท่านไม่มีภัยเพราะอาศัย
เราดอก. อย่าหนีไปเลย. เพราะเหตุไร ท่านจึงเที่ยวร้องคร่าครวญอยู่เล่า.
พรานป่าตอบว่า ข้าพเจ้าหลงทางมา วันนี้ เป็นวันที่ ๗ แล้วละนาย.
พระโพธิสัตว์กล่าวว่า อย่ากลัวไปเลยพ่อ เราจะพาท่านไปที่ทางเดินของมนุษย์. แล้วให้พรานป่า
นั่งบนหลังของตนนาออกจากป่าแล้วก็กลับ.
พรานป่าลามกคิดว่าเราจักไปพระนครกราบทูลแด่พระราชา จึงทาเครื่องหมายต้นไม้ภูเขา
ออกไปกรุงพาราณสี.
ในกาลนั้น มงคลหัตถีของพระราชาล้ม. พรานป่าจึงเข้าไปเฝ้าพระราชา กราบทูลถึงความที่ตน
เห็นพระมหาบุรุษ.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
3
พรานป่าพบเราในป่าใหญ่แล้วได้กราบทูลแด่พระราชาว่า ข้าแต่มหาราช ช้างมงคลสมควรเป็น
ช้างพระที่นั่งทรง มีอยู่ในป่าใหญ่อันการจับช้างนั้นไม่ต้องขุดคู แม้การปักเสาตะลุงและการขุดหลุมลวงก็ไม่
ต้อง ในขณะจับเข้าที่งวงเท่านั้น ช้างนั้นก็จะมา ณ ที่นี่เอง พระเจ้าข้า.
พระราชาได้ให้พรานป่าเป็นผู้นาทางไปป่า ทรงส่งควาญช้างไปกับบริวารด้วยมีพระดารัสว่า
ท่านจงนาคชสารที่พรานป่าบอกมาให้ได้. ควาญช้างนั้นได้ไปกับพรานป่า เห็นพระโพธิสัตว์เข้าไปยังสระบัว
หาอาหาร ดังนี้ .
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
แม้พระราชาทรงได้ยินคาของพรานป่านั้นแล้ว ก็ทรงดีพระทัย ทรงส่งควาญช้างซึ่งเป็นอาจารย์ผู้
ฉลาดศึกษาดีแล้ว. ควาญช้างนั้นไปได้พบช้างกาลังถอนเหง้าบัวอยู่ในสระบัวหลวงเพื่อเอาไปเลี้ยงมารดา.
ควาญช้างรู้คุณศีลของเราพิจารณาดูลักษณะแล้ว กล่าวว่า มานี่แน่ลูกแล้วจับที่งวงของเรา.
พระโพธิสัตว์เห็นควาญช้างแล้วตั้งจิตอธิษฐานว่า ภัยของเรานี้ เกิดจากพรานป่าผู้นี้ เรามีกาลัง
มากสามารถจะกาจัดแม้ช้างตั้งพันเชือกได้. เราโกรธขึ้นมาพอที่จะยังเหล่านักรบพร้อมด้วยแคว้นให้พินาศลง
ไปได้. แต่หากเราโกรธ ศีลของเราก็จะขาด เพราะฉะนั้น แม้ควาญช้างจะเอาหอกทิ่มแทง เราก็จะไม่โกรธ
ดังนี้ แล้วก็โน้มศีรษะลงยืนนิ่งอยู่.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ในกาลนั้น กาลังของเราที่มีอยู่ในกายตามปกติ อันใด วันนี้ กาลังของเรานั้นเสมอเหมือนกับ
กาลังของช้างพันเชือก ถ้าเราโกรธควาญช้างผู้เข้ามาจับเรา เราพึงสามารถจะเหยียบย่าเขาเหล่านั้นได้ แม้
ตลอดราชสมบัติของมนุษย์.
แต่ถึงแม้เราจะถูกเขาใส่ไว้ในเสาตะลุง เราก็ไม่คิดโกรธ เพื่อรักษาศีล เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้
บริบูรณ์. ถ้าเขาพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขาเลย เพราะเรากลัวศีล
ของเราจะขาด.
ก็พระโพธิสัตว์ครั้นดาริอย่างนี้ แล้ว จึงยืนเฉยไม่ไหวติง. ควาญช้างหยั่งลงสู่สระประทุม เห็น
ลักษณะสมบัติของพระโพธิสัตว์นั้นจึงกล่าวว่า มานี่แน่ะลูก แล้วจับที่งวงเช่นกับพวงเงินไปถึงกรุงพาราณสีใน
๗ วัน.
ควาญช้างเมื่อถึงระหว่างทางได้ส่งข่าวถวายพระราชาให้ทรงทราบ.
พระราชาทรงให้ตกแต่งพระนคร.
ควาญช้างนาพระโพธิสัตว์ซึ่งมีสายรัดทาด้วยกลิ่นหอมประดับประดาตกแต่งแล้วไปสู่โรงช้างวง
ด้วยม่านอันวิจิตรกราบทูลพระราชาให้ทรงทราบ.
พระราชาทรงถือโภชนะมีรสเลิศต่างๆ ไปให้แก่พระโพธิสัตว์.
พระโพธิสัตว์มิได้ทรงรับโภชนาหารด้วยดาริว่า เราเว้นมารดาเสียแล้ว จักไม่รับอาหาร.
แม้พระราชาขอร้องก็ไม่รับ กล่าวว่า
มารดาผู้น่าสงสาร ตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ.
พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้ว ตรัสถามว่า
4
ท่านมหานาค ใครคือมารดาของท่านตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ.
พระโพธิสัตว์ทูลว่า
ข้าแต่มหาราช มารดาของข้าพระองค์ตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ.
เมื่อพระโพธิสัตว์ทูลว่า วันนี้ เป็นวันที่ ๗ มารดาของข้าพระองค์ยังไม่ได้อาหารเลย. เพราะฉะนั้น
พระราชาจึงตรัสว่า
พวกท่านจงปล่อยมหานาค มหานาคนี้ เลี้ยงมารดา ขอมหานาคจงอยู่อย่างสงบกับมารดา
พร้อมด้วยญาติเถิด.
แล้วรับสั่งให้ปล่อยไป.
กุญชรมหานาคพ้นจากพันธนาการแล้วพักผ่อนอยู่ครู่หนึ่งก็ได้ไปภูเขาอันเป็นที่อยู่.
ช้างตัวประเสริฐนั้นพ้นจากพันธนาการ แล้วพักอยู่หน่อยหนึ่ง แล้วแสดงทศพิธราชธรรมคาถา
ถวายพระราชา ทูลให้โอวาทว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ทรงประมาทเถิด.
มหาชนต่างบูชาด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น ออกจากพระนครเข้าไปหามารดาในวันนั้นเอง
แล้วแจ้งเรื่องราวทั้งหมดให้มารดาทราบ.
มารดาดีใจ ได้อนุโมทนาพระราชาว่า
ขอพระราชาผู้ปกครองแคว้นกาสีให้เจริญ ปล่อยลูกของเราผู้มีความอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ทุกเมื่อ
จงมีพระชนม์ยืนนานเถิด.
พระราชาทรงเลื่อมใสในคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ รับสั่งให้สร้างบ้านไม่ไกลสระบัว ทรง
ปรนนิบัติพระโพธิสัตว์และมารดาของพระโพธิสัตว์เป็นเนืองนิจ.
ครั้นต่อมาเมื่อมารดาล้ม พระโพธิสัตว์ทาการฝังศพมารดาแล้ว ไปกุรัณฑกอาศรมบท.
ก็ ณ ที่นั้นมีฤๅษี ๕๐๐ ลงจากหิมวันตประเทศอาศัยอยู่. พระราชาทรงปรนนิบัติฤๅษีเหล่านั้น
แล้วทรงให้ช่างแกะสลักหินทาเป็นรูปปฏิมาเหมือนรูปพระโพธิสัตว์ แล้วทรงบริจาคมหาสักการะ.
ชาวชมพูทวีปประชุมกันทุกปีโดยลาดับ กระทาการฉลองรูปเปรียบช้าง.
พระราชาในครั้งนั้นได้เป็นพระอานนท์ในครั้งนี้ .
นางช้างคือพระนางมหามายา.
พรานป่าคือเทวทัต.
ช้างตัวประเสริฐเลี้ยงมารดาคือตถาคต.
แม้ในสีลวนาคจริยานี้ ก็พึงเจาะจงกล่าวถึงทานบารมีเป็นต้นตามสมควร. แต่ศีลบารมีเป็นบารมี
ยอดเยี่ยม เพราะเหตุนั้น ศีลบารมีนั้น ท่านจึงยกขึ้นสู่เทศนา.
อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพแห่งพระมหาบุรุษไว้ในจริยานี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ
พระโพธิสัตว์แม้เกิดในกาเนิดเดียรัจฉานยังเข้าไปตั้งจิตเคารพมารดา อันสมควรแก่ความเป็นผู้
แม้อันพระสัพพัญญูพุทธเจ้าทรงสรรเสริญด้วยความเป็นพรหม เป็นบุรพเทพ เป็นบุรพาจารย์ เป็นอาหุไนย
บุคคลของบุตร แล้วทาไว้ในใจว่า ขึ้นชื่อว่ามารดาเป็นผู้มีอุปการะมากของบุตร. เพราะฉะนั้น การบารุง
มารดาอันบัณฑิตทั้งหลายบัญญัติไว้แล้ว. แล้วเลี้ยงดูมารดาด้วยคิดว่าเราเป็นใหญ่กว่าช้างพันเชือกไม่ใช่น้อย
5
มีอานุภาพ มาก เป็นหัวหน้าโขลง ช้างเหล่านั้นเชื่อฟังไม่คานึงถึงอันตรายในการอยู่ผู้เดียว ละโขลงผู้เดียว
จักบูชามารดาผู้เป็นเขตแห่งผู้มีอุปการะ.
การเห็นบุรุษหลงทางแล้วรับไปด้วยความเอ็นดู เลี้ยงด้วยอาหารของมนุษย์.
การอดกลั้นความผิดที่พรานป่านั้นทาไว้.
ถึงสามารถจักบีบบุรุษที่มาเพื่อจับตนมีควาญช้างเป็นหัวหน้า แม้ด้วยเพียงให้เกิดความหวาด
สะดุ้งได้ก็ไม่ทาอย่างนั้น ด้วยคิดว่าศีลของเราจะขาดแล้วเข้าไปจับได้โดยง่ายดุจช้างที่ฝึกดีแล้ว.
การอดอาหารแม้ตลอด ๗ วัน ด้วยคิดว่าเว้นมารดาเสียแล้ว เราจักไม่กลืนกินอาหารอะไรๆ.
การไม่ทาจิตให้เกิดขึ้นว่าผู้นี้ ผูกคล้องเรา แล้วแผ่เมตตาถวายพระราชา.
และการแสดงธรรมถวายพระราชาโดยนัยต่างๆ.
จบอรรถกถาสีลวนาคจริยาที่ ๑
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
maruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdfความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน Operational Resilience .pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 

12 สีลวนาคจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๒ สีลวนาคจริยา (มาตุโปสกจริยา) พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา แต่ถึงแม้เราจะถูกเขาใส่ไว้ในเสาตะลุง เราก็ไม่คิดโกรธ เพื่อรักษาศีล เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้ บริบูรณ์. ถ้าเขาพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขาเลย เพราะเรากลัวศีล ของเราจะขาด. พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๒. หัตถินาควรรค หมวดว่าด้วยพญาช้างเป็นต้น ๒. การบาเพ็ญศีลบารมี ๑. มาตุโปสกจริยา ว่าด้วยจริยาของพญาช้างตัวเลี้ยงมารดา [๑] ในกาลที่เราเป็นช้างกุญชรเลี้ยงมารดาอยู่ในป่าใหญ่ ครั้งนั้น ในแผ่นดินนี้ ไม่มีอะไรที่จะ เสมอด้วยคุณ(ศีล)ของเรา [๒] พรานป่าพบเราในป่าใหญ่แล้ว ได้กราบทูลแด่พระราชาว่า ‘ข้าแต่มหาราช ช้างมงคลซึ่ง สมควรแก่พระองค์อยู่ในป่าใหญ่ [๓] อันการจับช้างนั้นไม่ต้องขุดคู แม้การปักเสาตะลุง(เสาสาหรับผูกช้าง) และการขุดหลุมพราง ก็ไม่ต้อง ในขณะที่จับที่งวงเท่านั้น ช้างนั้นก็จะมา ณ ที่นี้ เอง พระเจ้าข้า’ [๔] ฝ่ายพระราชาได้สดับคาของพรานป่านั้นแล้วก็ทรงดีพระทัย ทรงส่งควาญช้างซึ่งเป็น อาจารย์ผู้ฉลาดศึกษาดีแล้วไป [๕] ควาญช้างนั้นไปแล้ว ได้พบช้างกาลังถอนเหง้าบัวอยู่ในสระบัวหลวง เพื่อเลี้ยงมารดา [๖] ควาญช้างรู้คุณคือศีลของเรา พิจารณาดูลักษณะแล้วกล่าวว่า มานี่แนะลูก แล้วได้จับที่งวง ของเรา [๗] ครั้งนั้น กาลังของเราที่มีอยู่ในกายตามปกติอันใด วันนี้ กาลังของเรานั้นเสมอเหมือนด้วย กาลังของช้างหลายพันเชือก [๘] ถ้าเราโกรธควาญช้างเหล่านั้น ผู้เข้ามาใกล้เพื่อจับเรา เราก็สามารถเหยียบเขาเหล่านั้น (ให้แหลกละเอียด)ได้ แม้จนถึงราชสมบัติของมนุษย์
  • 2. 2 [๙] อีกอย่างหนึ่ง แม้เขาจะผูกข้าพเจ้าไว้ที่เสาตะลุง เราก็ไม่ทาความเสียใจ เพราะรักษาศีล เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้บริบูรณ์ [๑๐] ถ้าเขาเหล่านั้นพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขา เหล่านั้นเลย เพราะเรากลัวศีลขาด ฉะนี้ แล มาตุโปสกจริยาที่ ๑ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๑. สีลวนาคจริยา อรรถกถาหัตถินาควรรคที่ ๒ ๒. การบาเพ็ญศีลบารมี อรรถกถาสีลวนาคจริยาที่ ๑ เรื่องมีอยู่ว่า พระโพธิสัตว์ ในครั้งนั้นบังเกิดในกาเนิดช้าง ณ หิมวันตประเทศ. เผือกผ่องตลอด รูปงาม สมบูรณ์ด้วยลักษณะเป็นหัวหน้าโขลง มีช้างบริวาร ๑๐๐,๐๐๐ เชือก. ส่วนมารดาของพระโพธิสัตว์ตาบอด. พระโพธิสัตว์ให้ผลาผลมีรสอร่อยในงวงช้างทั้งหลายแล้วเลี้ยงมารดา. ช้างทั้งหลายไม่เอาไปให้ มารดาเคี้ยวกินเสียเอง. พระโพธิสัตว์คอยสังเกตดูก็รู้เรื่องราว คิดว่าเราจะเลิกละโขลงช้าง เลี้ยงดูมารดาเอง. ตอนกลางคืน เมื่อช้างเหล่าอื่นไม่รู้ ก็พามารดาไปยังเชิงเขาจัณโฑรณบรรพต เข้าไปอาศัยสระ บัวสระหนึ่ง ให้มารดาอยู่ในถ้าภูเขาซึ่งตั้งอยู่ แล้วเลี้ยงดู. พรานป่าคนหนึ่งหลงทางไม่สามารถกาหนดทิศได้ร้องคร่าครวญเสียจนดัง. พระโพธิสัตว์ได้ยิน เสียงของพรานป่านั้นจึงดาริว่าชายผู้นี้ ไร้ที่พึ่ง เมื่อเราอยู่การที่ชายผู้นี้ จะพึงพินาศไปในที่นี้ ไม่เป็นการ สมควร. จึงไปหาพรานป่า เห็นพรานป่าหนีเพราะความกลัวจึงถามว่า ท่านผู้เจริญ ท่านไม่มีภัยเพราะอาศัย เราดอก. อย่าหนีไปเลย. เพราะเหตุไร ท่านจึงเที่ยวร้องคร่าครวญอยู่เล่า. พรานป่าตอบว่า ข้าพเจ้าหลงทางมา วันนี้ เป็นวันที่ ๗ แล้วละนาย. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า อย่ากลัวไปเลยพ่อ เราจะพาท่านไปที่ทางเดินของมนุษย์. แล้วให้พรานป่า นั่งบนหลังของตนนาออกจากป่าแล้วก็กลับ. พรานป่าลามกคิดว่าเราจักไปพระนครกราบทูลแด่พระราชา จึงทาเครื่องหมายต้นไม้ภูเขา ออกไปกรุงพาราณสี. ในกาลนั้น มงคลหัตถีของพระราชาล้ม. พรานป่าจึงเข้าไปเฝ้าพระราชา กราบทูลถึงความที่ตน เห็นพระมหาบุรุษ. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
  • 3. 3 พรานป่าพบเราในป่าใหญ่แล้วได้กราบทูลแด่พระราชาว่า ข้าแต่มหาราช ช้างมงคลสมควรเป็น ช้างพระที่นั่งทรง มีอยู่ในป่าใหญ่อันการจับช้างนั้นไม่ต้องขุดคู แม้การปักเสาตะลุงและการขุดหลุมลวงก็ไม่ ต้อง ในขณะจับเข้าที่งวงเท่านั้น ช้างนั้นก็จะมา ณ ที่นี่เอง พระเจ้าข้า. พระราชาได้ให้พรานป่าเป็นผู้นาทางไปป่า ทรงส่งควาญช้างไปกับบริวารด้วยมีพระดารัสว่า ท่านจงนาคชสารที่พรานป่าบอกมาให้ได้. ควาญช้างนั้นได้ไปกับพรานป่า เห็นพระโพธิสัตว์เข้าไปยังสระบัว หาอาหาร ดังนี้ . พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า แม้พระราชาทรงได้ยินคาของพรานป่านั้นแล้ว ก็ทรงดีพระทัย ทรงส่งควาญช้างซึ่งเป็นอาจารย์ผู้ ฉลาดศึกษาดีแล้ว. ควาญช้างนั้นไปได้พบช้างกาลังถอนเหง้าบัวอยู่ในสระบัวหลวงเพื่อเอาไปเลี้ยงมารดา. ควาญช้างรู้คุณศีลของเราพิจารณาดูลักษณะแล้ว กล่าวว่า มานี่แน่ลูกแล้วจับที่งวงของเรา. พระโพธิสัตว์เห็นควาญช้างแล้วตั้งจิตอธิษฐานว่า ภัยของเรานี้ เกิดจากพรานป่าผู้นี้ เรามีกาลัง มากสามารถจะกาจัดแม้ช้างตั้งพันเชือกได้. เราโกรธขึ้นมาพอที่จะยังเหล่านักรบพร้อมด้วยแคว้นให้พินาศลง ไปได้. แต่หากเราโกรธ ศีลของเราก็จะขาด เพราะฉะนั้น แม้ควาญช้างจะเอาหอกทิ่มแทง เราก็จะไม่โกรธ ดังนี้ แล้วก็โน้มศีรษะลงยืนนิ่งอยู่. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ในกาลนั้น กาลังของเราที่มีอยู่ในกายตามปกติ อันใด วันนี้ กาลังของเรานั้นเสมอเหมือนกับ กาลังของช้างพันเชือก ถ้าเราโกรธควาญช้างผู้เข้ามาจับเรา เราพึงสามารถจะเหยียบย่าเขาเหล่านั้นได้ แม้ ตลอดราชสมบัติของมนุษย์. แต่ถึงแม้เราจะถูกเขาใส่ไว้ในเสาตะลุง เราก็ไม่คิดโกรธ เพื่อรักษาศีล เพื่อบาเพ็ญศีลบารมีให้ บริบูรณ์. ถ้าเขาพึงทาลายเราที่เสาตะลุงนี้ ด้วยขวานและหอกซัด เราก็จะไม่โกรธเขาเลย เพราะเรากลัวศีล ของเราจะขาด. ก็พระโพธิสัตว์ครั้นดาริอย่างนี้ แล้ว จึงยืนเฉยไม่ไหวติง. ควาญช้างหยั่งลงสู่สระประทุม เห็น ลักษณะสมบัติของพระโพธิสัตว์นั้นจึงกล่าวว่า มานี่แน่ะลูก แล้วจับที่งวงเช่นกับพวงเงินไปถึงกรุงพาราณสีใน ๗ วัน. ควาญช้างเมื่อถึงระหว่างทางได้ส่งข่าวถวายพระราชาให้ทรงทราบ. พระราชาทรงให้ตกแต่งพระนคร. ควาญช้างนาพระโพธิสัตว์ซึ่งมีสายรัดทาด้วยกลิ่นหอมประดับประดาตกแต่งแล้วไปสู่โรงช้างวง ด้วยม่านอันวิจิตรกราบทูลพระราชาให้ทรงทราบ. พระราชาทรงถือโภชนะมีรสเลิศต่างๆ ไปให้แก่พระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์มิได้ทรงรับโภชนาหารด้วยดาริว่า เราเว้นมารดาเสียแล้ว จักไม่รับอาหาร. แม้พระราชาขอร้องก็ไม่รับ กล่าวว่า มารดาผู้น่าสงสาร ตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ. พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้ว ตรัสถามว่า
  • 4. 4 ท่านมหานาค ใครคือมารดาของท่านตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ. พระโพธิสัตว์ทูลว่า ข้าแต่มหาราช มารดาของข้าพระองค์ตาบอด ไม่มีผู้ดูแล จะถูกตอตาเท้าตกภูเขาจัณโฑรณะ. เมื่อพระโพธิสัตว์ทูลว่า วันนี้ เป็นวันที่ ๗ มารดาของข้าพระองค์ยังไม่ได้อาหารเลย. เพราะฉะนั้น พระราชาจึงตรัสว่า พวกท่านจงปล่อยมหานาค มหานาคนี้ เลี้ยงมารดา ขอมหานาคจงอยู่อย่างสงบกับมารดา พร้อมด้วยญาติเถิด. แล้วรับสั่งให้ปล่อยไป. กุญชรมหานาคพ้นจากพันธนาการแล้วพักผ่อนอยู่ครู่หนึ่งก็ได้ไปภูเขาอันเป็นที่อยู่. ช้างตัวประเสริฐนั้นพ้นจากพันธนาการ แล้วพักอยู่หน่อยหนึ่ง แล้วแสดงทศพิธราชธรรมคาถา ถวายพระราชา ทูลให้โอวาทว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ทรงประมาทเถิด. มหาชนต่างบูชาด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น ออกจากพระนครเข้าไปหามารดาในวันนั้นเอง แล้วแจ้งเรื่องราวทั้งหมดให้มารดาทราบ. มารดาดีใจ ได้อนุโมทนาพระราชาว่า ขอพระราชาผู้ปกครองแคว้นกาสีให้เจริญ ปล่อยลูกของเราผู้มีความอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ทุกเมื่อ จงมีพระชนม์ยืนนานเถิด. พระราชาทรงเลื่อมใสในคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ รับสั่งให้สร้างบ้านไม่ไกลสระบัว ทรง ปรนนิบัติพระโพธิสัตว์และมารดาของพระโพธิสัตว์เป็นเนืองนิจ. ครั้นต่อมาเมื่อมารดาล้ม พระโพธิสัตว์ทาการฝังศพมารดาแล้ว ไปกุรัณฑกอาศรมบท. ก็ ณ ที่นั้นมีฤๅษี ๕๐๐ ลงจากหิมวันตประเทศอาศัยอยู่. พระราชาทรงปรนนิบัติฤๅษีเหล่านั้น แล้วทรงให้ช่างแกะสลักหินทาเป็นรูปปฏิมาเหมือนรูปพระโพธิสัตว์ แล้วทรงบริจาคมหาสักการะ. ชาวชมพูทวีปประชุมกันทุกปีโดยลาดับ กระทาการฉลองรูปเปรียบช้าง. พระราชาในครั้งนั้นได้เป็นพระอานนท์ในครั้งนี้ . นางช้างคือพระนางมหามายา. พรานป่าคือเทวทัต. ช้างตัวประเสริฐเลี้ยงมารดาคือตถาคต. แม้ในสีลวนาคจริยานี้ ก็พึงเจาะจงกล่าวถึงทานบารมีเป็นต้นตามสมควร. แต่ศีลบารมีเป็นบารมี ยอดเยี่ยม เพราะเหตุนั้น ศีลบารมีนั้น ท่านจึงยกขึ้นสู่เทศนา. อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพแห่งพระมหาบุรุษไว้ในจริยานี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ พระโพธิสัตว์แม้เกิดในกาเนิดเดียรัจฉานยังเข้าไปตั้งจิตเคารพมารดา อันสมควรแก่ความเป็นผู้ แม้อันพระสัพพัญญูพุทธเจ้าทรงสรรเสริญด้วยความเป็นพรหม เป็นบุรพเทพ เป็นบุรพาจารย์ เป็นอาหุไนย บุคคลของบุตร แล้วทาไว้ในใจว่า ขึ้นชื่อว่ามารดาเป็นผู้มีอุปการะมากของบุตร. เพราะฉะนั้น การบารุง มารดาอันบัณฑิตทั้งหลายบัญญัติไว้แล้ว. แล้วเลี้ยงดูมารดาด้วยคิดว่าเราเป็นใหญ่กว่าช้างพันเชือกไม่ใช่น้อย
  • 5. 5 มีอานุภาพ มาก เป็นหัวหน้าโขลง ช้างเหล่านั้นเชื่อฟังไม่คานึงถึงอันตรายในการอยู่ผู้เดียว ละโขลงผู้เดียว จักบูชามารดาผู้เป็นเขตแห่งผู้มีอุปการะ. การเห็นบุรุษหลงทางแล้วรับไปด้วยความเอ็นดู เลี้ยงด้วยอาหารของมนุษย์. การอดกลั้นความผิดที่พรานป่านั้นทาไว้. ถึงสามารถจักบีบบุรุษที่มาเพื่อจับตนมีควาญช้างเป็นหัวหน้า แม้ด้วยเพียงให้เกิดความหวาด สะดุ้งได้ก็ไม่ทาอย่างนั้น ด้วยคิดว่าศีลของเราจะขาดแล้วเข้าไปจับได้โดยง่ายดุจช้างที่ฝึกดีแล้ว. การอดอาหารแม้ตลอด ๗ วัน ด้วยคิดว่าเว้นมารดาเสียแล้ว เราจักไม่กลืนกินอาหารอะไรๆ. การไม่ทาจิตให้เกิดขึ้นว่าผู้นี้ ผูกคล้องเรา แล้วแผ่เมตตาถวายพระราชา. และการแสดงธรรมถวายพระราชาโดยนัยต่างๆ. จบอรรถกถาสีลวนาคจริยาที่ ๑ -----------------------------------------------------