SlideShare a Scribd company logo
1 of 251
Download to read offline
จัดท�ำโดย :	กองกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
		 จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่ 	 : 	โรงพิมพ์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
		 เลขที่ ๓๑๔-๓๑๖ ปากซอยบ้านบาตร ถนนบ�ำรุงเมือง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
		 กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๑๐
		 โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๓๓๕๑, ๐ ๒๒๒๓ ๕๕๔๘
		 โทรสาร ๐ ๒๖๒๑ ๒๙๑๐
2
ารรักษาพยาบาลเป็นการกระท�ำอย่างหนึ่ง ที่ท�ำต่อร่างกายและจิตใจของมนุษย์ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ
เพราะผลกระทบจากการรักษาพยาบาลอาจท�ำให้ผู้ป่วยพิการหรือเสียชีวิตได้รัฐจึงต้องออกกฎหมาย
ให้มีการควบคุมการประกอบวิชาชีพของผู้ท�ำการรักษาพยาบาลคือแพทย์พยาบาลทันตแพทย์เภสัชกร
และวิชาชีพทางการแพทย์อื่นๆ การรักษาพยาบาลนอกจากจะมีกฎหมายเฉพาะควบคุมแล้ว ยังมีกฎหมายทั่วไป
ที่เกี่ยวข้องอีก เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา เป็นต้น ดังนั้นการรักษาพยาบาล
ที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพจึงอาจต้องรับผิดตามกฎหมายหลายฉบับ แต่ในความเป็นจริงแล้ว
การรักษาพยาบาลไม่อาจคาดหมายหรือประกันการรักษาได้อย่างแน่นอน เพราะมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
หลายปัจจัย เช่น ความรุนแรงของโรค สภาพร่างกายหรือจิตใจของผู้ป่วย ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือ ยา
ความพร้อมของบุคลากร เป็นต้น จึงท�ำให้การรักษาบางครั้งไม่อาจคาดหมายได้ และสามารถเกิดเหตุ
อันไม่พึงประสงค์ได้เสมอแม้ว่าจะได้ระมัดระวังและปฏิบัติตามวิธีการ ขั้นตอนที่ถูกต้องตามมาตรฐานแล้ว
ปัจจุบันประชาชนตระหนักในสิทธิของตนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเรื่องสุขภาพ อนามัย หากเกิดเหตุจาก
การรักษาพยาบาลผู้ป่วยหรือญาติส่วนหนึ่งจะเข้าใจการท�ำงานของบุคลากรทางการแพทย์แต่ก็มีบางส่วนไม่เข้าใจ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นมักรุนแรงเพราะเกิดกับร่างกายและจิตใจ อาจถึงขั้นพิการหรือเสียชีวิต จากการศึกษา
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพบว่า เหตุบางอย่างสามารถป้องกันได้ แต่ความเสียหายเกิดจากความประมาทเลินเล่อ
ของบุคลากรทางการแพทย์ แม้จะมิได้เกิดจากเจตนาท�ำร้ายและความรุนแรงของผลการกระท�ำ ท�ำให้
ผู้ป่วยหรือญาติไม่อาจยอมรับได้จึงเกิดการร้องเรียนและท้ายที่สุดก็จะเกิดฟ้องคดีต่อศาล การถูกด�ำเนินคดี
ในศาลท�ำให้แพทย์เกิดความวิตกกังวล เสียขวัญและก�ำลังใจ โดยเฉพาะแพทย์ที่ตั้งใจปฏิบัติงาน
ด้วยเจตนารมณ์ช่วยชีวิตผู้ป่วยให้ได้ ผลกระทบนี้ส่งผลถึงระบบสาธารณสุขโดยรวมแม้ว่าจะยังไม่มีแพทย์
ก
บทน�ำ
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
3
หรือบุคลากรทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องโทษอาญาถึงขั้นจ�ำคุก แต่ในทางคดีแพ่ง
กลับปรากฏว่าศาลพิจารณาพฤติกรรมการรักษาพยาบาลของแพทย์ พยาบาล หรือบุคลากรทางการแพทย์
แล้วเห็นว่าเป็นการกระท�ำโดยประมาทเลินเล่อ พิพากษาให้แพทย์และต้นสังกัดแพ้คดี ต้องชดใช้ค่าเสียหาย
ให้แก่ผู้ป่วยหรือญาติจ�ำนวนมาก บางคดีแพทย์ พยาบาล ก็ถูกไล่เบี้ย ท�ำให้เกิดความวิตก ระส�่ำระสาย
ในวงการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาส�ำคัญประการหนึ่งคือแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ขาดความรู้
ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลจะรู้แต่กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพของตนเอง
เท่านั้น ท�ำให้เมื่อด�ำเนินการรักษาอาจขาดความตระหนักถึงผลทางกฎหมาย เช่นการเขียนเวชระเบียน
การให้ข้อมูลและความยินยอม สิทธิของผู้ป่วย เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อถูกฟ้องร้องจากศาล กระบวนการ
พิจารณาคดีของศาลมีผลต่อการแพ้ชนะคดี ในทางคดีแม้ว่าดูแล้วแพทย์น่าจะท�ำถูกต้องตามมาตรฐานแล้ว
แต่ในการน�ำสืบไม่สามารถแสดงพยานหลักฐานให้ศาลเห็นได้ ศาลไม่มีความรู้เรื่องทางด้านการแพทย์
ต้องพิจารณาตามพยานหลักฐานที่คู่ความน�ำเสนอ พนักงานอัยการ นิติกร และผู้ที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน
แสดงพยานหลักฐานให้ชัดเจนเรื่องต่างๆ เหล่านี้ แพทย์ พยาบาลส่วนใหญ่ไม่รู้กระบวนการ ไม่เข้าใจ
และอาจไม่ตระหนักถึงความส�ำคัญของการต่อสู้คดีที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นเหตุให้แพ้คดี กองกฎหมาย
ได้รวบรวมสถิติ คดีต่างๆ ที่ผู้ป่วยหรือญาติฟ้องส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงสาธารณสุข
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๙ – ๒๕๖๐ รวม ๒๙๑ คดี สามารถไกล่เกลี่ยได้ ๑๖๕ คดี ศาลจ�ำหน่ายคดี ๙ คดี
คดีถึงที่สุด ๖๖ คดี (ชนะ ๔๕ แพ้ ๒๑) จ่ายเงินตามค�ำพิพากษาแล้วประมาณ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท มีการ
ไล่เบี้ย ๕ คดี (แพทย์ ๔ คน พยาบาล ๗ คน พนักงานเปล ๑ คน) แม้ว่าการชนะคดีจะมีมากกว่า แต่ในอนาคต
ไม่แน่ว่าอาจแพ้คดีมากกว่าเพราะขณะนี้ทนายความเริ่มมาสนใจคดีทางการแพทย์มากขึ้น ผู้ป่วยหรือญาติ
มีความรู้มากขึ้น การสื่อสารเทคโนโลยีก้าวหน้าโดยเฉพาะโลกโซเชี่ยล ดังนั้นการรู้เท่าทันจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ
หนังสือรวมค�ำพิพากษาฉบับนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์มุมมองของคดี แนวทางการพิจารณาวินิจฉัยของศาล
และความคับข้องใจ ความไม่เข้าใจของผู้ป่วยหรือญาติที่ส�ำคัญจ�ำนวน ๑๐ เรื่อง ซึ่งผู้อ่านจะได้รับความรู้
ความเข้าใจเรื่องข้อกฎหมาย วิธีด�ำเนินการในศาล กระบวนการต่างๆ ข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงอันจะ
เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลต่างๆ ดังกล่าวจะมีส่วนท�ำให้การฟ้องคดีต่างๆ ลดลง
ทุกคนทุกฝ่ายอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความเข้าใจกันตลอดไป
4
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
5
ค�ำน�ำ
จจุบันปัญหาการร้องเรียน ฟ้องร้องคดีเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมีมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อระบบ
บริการสาธารณสุขโดยเฉพาะในโรงพยาบาลของรัฐที่ต้องรับภาระดูแลประชาชนที่เจ็บป่วยจ�ำนวน
มากทั้งที่มีความขาดแคลนด้านบุคลากรทางการแพทย์ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ
จึงมีเหตุไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
ผู้ป่วยกับบุคลากรทางการแพทย์ แต่บางครั้งการสื่อสารที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสม ก็ท�ำให้ความขัดแย้งบานปลาย
ไปสู่ศาลเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา และคดีปกครอง ในการพิจารณาคดีของศาลจะต้องมีการน�ำสืบพยานต่างๆ
รวมทั้งพยานผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง รวมทั้งเอกสารเวชระเบียน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
มีส่วนส�ำคัญยิ่งในการพิสูจน์ ดังนั้นเพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ได้รับทราบข้อข้องใจของผู้ป่วย แนวทางการพิจารณาของศาล มุมมองและข้อวินิจฉัยของศาลที่มีต่อการให้
การรักษาพยาบาลกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดท�ำหนังสือรวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ปีพ.ศ.๒๕๓๙–๒๕๖๐
เล่ม ๑ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้ศึกษา วิเคราะห์
อันจะเป็นการป้องกันการเกิดความขัดแย้งทางการแพทย์และหากจ�ำเป็นต้องต่อสู้คดีแล้วก็จะสามารถด�ำเนินการ
ในชั้นศาลได้อย่างครบถ้วน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์
ในการปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างถูกต้องต่อไป
กลุ่มระงับข้อพิพาททางการแพทย์
กองกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธรณสุข
ปั
6
สารบัญ บทน�ำ		
ค�ำน�ำ		
หมอไม่มาดู
ท�ำไมถึงท�ำกับฉันได้
ความหวังครั้งสุดท้าย
ช้า ช้า อาจจะไม่ได้พร้าเล่มงาม
หมอท�ำเต็มที่แล้ว
ท�ำแบบนี้หมอผิดใช่ไหม
การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยส�ำคัญไฉน
นาทีชีวิต
เย็บไม่ดีหรือเปล่า
แค่ไม่ถามประวัติ ก็ผิดแล้วหรือ
๒
๕
๗
๒๗
๔๘
๖๗
๑๑๑
๑๒๖
๑๔๐
๑๙๐
๒๓๑
๒๑๗
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
7
หมอไม่มาดู
มื่อ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑ นางสาว ว. เป็นโจทก์ฟ้องกระทรวงสาธารณสุข ที่ ๑ กรม พ. ที่ ๒ นายแพทย์ พ. ที่ ๓
(ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน) ข้อหาละเมิด, เรียกค่าเสียหาย ค�ำฟ้องสรุปว่า โจทก์ซึ่งก�ำลังตั้งครรภ์
เกิดเจ็บป่วยเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพ.แพทย์ได้ตรวจและให้โจทก์รับประทานยาเพื่อเปิดปากมดลูก
หลังจากนั้นโจทก์เกิดอาการข้างเคียง ระคายเคืองตามผิวหนังทั่วร่างกายและภายในดวงตา นัยน์ตาพร่ามัว
ขาดสมรรถภาพในการมองเห็นโจทก์ไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดแพทย์บอกว่าแพ้ยากระจกตาข้างซ้าย
ไม่สามารถรักษาให้มองเห็นได้ชัดเจนตามปกติ เนื่องจากกระจกตาทะลุอันเกิดจากการแพ้ยา ต่อมาศาลชั้นต้น	
มีค�ำพิพากษาสรุปว่า จ�ำเลยที่๓เป็นแพทย์มีหน้าที่บ�ำบัดรักษาผู้เจ็บป่วยและขณะนั้นอยู่ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่
แพทย์เวร ทราบจากพยาบาลแล้วว่าโจทก์ตั้งครรภ์ จ�ำเลยที่ ๓ ย่อมต้องเข้าใจดีว่า มีอาการผิดปกติอันควรต้อง
ได้รับการตรวจและบ�ำบัดอย่างทันท่วงทีจ�ำเลยที่๓ควรจะต้องมาพบโจทก์เพื่อดูอาการและซักถามอาการของโจทก์
ด้วยตนเองและควรตรวจบันทึกผู้ป่วยก่อนสั่งยาให้แก่โจทก์เพื่อหาสาเหตุอาการผิดปกติและเพื่อทราบ
รายละเอียดการตรวจรักษาโจทก์ที่ผ่านมาเพื่อจัดยาให้แก่โจทก์อย่างถูกต้อง แต่จ�ำเลยที่ ๓ มิได้กระท�ำเช่นนั้น
กลับสั่งการทางโทรศัพท์แจ้งพยาบาลให้ยาแก่โจทก์ทันทีและเมื่อโจทก์ผิดปกติขึ้นมาอีก จ�ำเลยที่ ๓ ยังสั่งการ
ให้พยาบาลให้ยาชนิดเดิมแก่โจทก์อีกอันเป็นการบ�ำบัดรักษาโจทก์โดยอาศัยแต่เพียงข้อมูลที่จ�ำเลยที่๓ได้รับแจ้ง
จากพยาบาลประการเดียว เมื่อโจทก์มีอาการชักและเกร็ง ตามร่างกาย จ�ำเลยที่ ๓ ไม่มาดูอาการโจทก์เพื่อแก้ไข
ทันทีกลับปล่อยให้ระยะเวลาล่วงเลยไปประมาณ ๓ ถึง ๔ ชั่วโมง ก่อนพ้นหน้าที่แพทย์เวรในวันนั้น จ�ำเลยที่ ๓
จึงไปดูอาการโจทก์ปรากฎว่าอาการผิดปกติของโจทก์ก�ำเริบแล้วแม้โจทก์จะให้ความยินยอมในการรักษาพยาบาล
แต่ในการรักษาพยาบาล จ�ำเลยที่ ๓ เป็นผู้มีวิชาชีพจักต้องใช้ความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งจะอ้างเหตุที่มี
ค�ำยินยอมของโจทก์เพื่อมิให้ตนพ้นความรับผิดไม่ได้ พฤติการณ์ของจ�ำเลยที่ ๓ ดังกล่าวเป็นการปล่อยปละ
ละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน เป็นการกระท�ำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง พิพากษาให้จ�ำเลยที่ ๑
ช�ำระเงินจ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ตั้งแต่วันฟ้อง จนกว่าจะช�ำระเสร็จ
แก่โจทก์ โจทก์และจ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาค ๒ พิพากษาเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ สรุปได้ว่า การตรวจและวินิจฉัยโรค
จ�ำเป็นที่จะต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ซึ่งประกอบวิชาชีพเวชกรรมเกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค
การบ�ำบัดโรคซึ่งมีความรู้ความช�ำนาญเฉพาะโดยตรงและจะต้องเป็นการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยจากการสังเกตอาการ
โดยตัวแพทย์เอง จากกรณีที่เกิดขึ้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาพยาบาล ขณะที่จ�ำเลยที่ ๓
ปฏิบัติหน้าที่แพทย์เวร ซึ่งไม่ปรากฎว่ามีเหตุสุดวิสัยที่โจทก์ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากการสังเกตอาการ
โดยตัวของแพทย์เองโดยตรง การสั่งการของจ�ำเลยที่ ๓ ในการรักษาตามอาการที่ได้รับการรายงานทางโทรศัพท์
จากพยาบาล จึงเป็นการกระท�ำที่เกิดจากการประมาทเลินเล่อของจ�ำเลยที่ ๓ พิพากษายืน จ�ำเลยฎีกา
ต่อมาศาลฎีกาพิพากษาสรุปว่า การตรวจและวินิจฉัยโรคของแพทย์ว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไร พยาธิสภาพอยู่ที่ไหน
และอยู่ในระยะใดเพื่อน�ำไปสู่การรักษาได้ถูกต้อง ในขั้นตอนนี้แพทย์จักต้องใช้ความระมัดระวังตามวิสัยและ
พฤติการณ์มิให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ เพราะอาจน�ำมาซึ่งอันตรายที่จะเกิดแก่ร่างกายหรือชีวิตของผู้ป่วย
ในขั้นตอนการรักษาที่ต่อเนื่องกัน เมื่อทางพิจารณาได้ความว่า จ�ำเลยที่ ๓ มิได้ดูอาการของโจทก์ตั้งแต่แรกรับ
การรักษาที่โรงพยาบาล พ. ด้วยตนเอง แต่วินิจฉัยโรคและสั่งการรักษาอาการของโจทก์ตามที่ได้รับรายงาน
ทางโทรศัพท์จากพยาบาลแทนโดยไม่ได้ตรวจสอบประวัติการรักษาของโจทก์ด้วยตนเอง แม้จ�ำเลยที่ ๓
เ
8
จะสอบถามอาการและประวัติการรักษาของโจทก์จากพยาบาลก่อนที่พยาบาลจะฉีดยาให้แก่โจทก์
เพื่อท�ำการรักษาก็ตาม ก็หาใช่วิสัยของบุคคลผู้มีวิชาชีพเป็นแพทย์พึงกระท�ำไม่ ทั้งห้องแพทย์เวรกับห้องฉุกเฉิน
ของโจทก์อยู่ห่างกันเพียง ๒๐ เมตร ตามพฤติการณ์ไม่ปรากฎว่ามีเหตุสุดวิสัยอันท�ำให้จ�ำเลยที่ ๓ ไม่สามารถ
มาตรวจวินิจฉัยอาการของโจทก์ด้วยตนเองได้แต่อย่างใด ถือได้ว่าจ�ำเลยที่ ๓ ประมาทเลินเล่อ เมื่อพยาบาลได้
ฉีดยาบริคานิลให้แก่โจทก์ตามที่จ�ำเลยที่ ๓ สั่งการ หลังจากนั้นโจทก์มีอาการแพ้ยาอย่างรุนแรงโดยไม่ปรากฏว่า
โจทก์มีอาการเช่นว่านั้นมาก่อน อาการแพ้ยาของโจทก์ดังกล่าวจึงเป็นผลโดยตรงจากการกระท�ำของจ�ำเลยที่ ๓
ท�ำโจทก์เสียหายอันเป็นการละเมิดต่อโจทก์
ส�ำหรับความยินยอมที่โจทก์ให้จ�ำเลยที่ ๓ ท�ำการรักษาดังกล่าวแม้จะเป็นการแสดงออกให้จ�ำเลยที่ ๓	
กระท�ำต่อร่างกายโจทก์เพื่อการรักษาได้ก็ตาม หากการรักษานั้นไม่ได้เป็นมาตรฐานแห่งวิชาชีพแพทย์ก่อให้	
เกิดความเสียหายซึ่งเป็นผลโดยตรงจากความประมาทเลินเล่อของจ�ำเลยที่ ๓ อันเป็นการละเมิดต่อโจทก์
จ�ำเลยที่ ๓ ต้องรับผิดต่อโจทก์ พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งสองให้เป็นพับ
เรื่องนี้ประเด็นส�ำคัญที่ศาลน�ำมาเป็นเหตุผลในการวินิจฉัยความผิดคือการไม่มาดูผู้ป่วยและการสั่งการรักษา
ทางโทรศัพท์ซึ่งเป็นสาระส�ำคัญจึงฝากแพทย์พยาบาลและเจ้าหน้าที่พิจารณาค�ำพิพากษาคดีนี้เป็นอุทาหรณ์และ
ถือเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
9
10
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
11
12
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
13
14
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
15
16
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
17
18
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
19
20
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
21
22
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
23
24
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
25
26
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
27
“ท�ำไมถึงท�ำกับฉันได้”
นการรักษาพยาบาลมีความเสี่ยงที่จะเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ได้เสมอแม้ว่าจะได้ใช้ความระมัดระวัง
อย่างเต็มที่แล้ว บางครั้งความตั้งใจในการท�ำงานก็อาจช่วยลดความเสี่ยงลงได้บ้าง ในทางคดีบางครั้ง
ความเห็นของศาลอาจไม่ตรงกับความเห็นของสภาวิชาชีพ โดยศาลจะใช้ดุลยพินิจพิจารณาจาก
พยานหลักฐานต่างๆ โดยเฉพาะประวัติผู้ป่วยหรือเวชระเบียน ถือเป็นหลักฐานส�ำคัญมากในคดีที่จะแสดงถึง
กระบวนการขั้นตอนและวิธีการรักษาพยาบาล มีคดีที่น่าสนใจเพราะศาลเห็นไม่ตรงกับสภาวิชาชีพ คือ
คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า โจทก์มีโรคประจ�ำตัวเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์และรักษากับนายแพทย์ธ. โรงพยาบาล ป.
ต่อมาเมื่อประมาณเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๔ นายแพทย์ ธ. เจาะเอาเนื้อเยื่อในคอไปตรวจ แล้วแจ้งว่า
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ และผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อที่ไม่พึงประสงค์ออกเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
หลังผ่าตัด ๑ เดือน เสียงของโจทก์แหบแห้งไม่มีเสียงเหมือนคนปกติทั่วไป นายแพทย์ ธ. แจ้งว่าจะมีเสียง
เป็นปกติภายใน ๒ เดือน หลังจากผ่าตัด ๒ เดือนเสียงโจทก์ยังแหบแห้งเหมือนเดิมและยังมีอาการแทรกซ้อน
เวลาพูดนานประมาณ ๑ นาที จะมีอาการชาตามตัว เวียนศีรษะ เสียงจะขาดหายไปเป็นช่วง ๆ ไม่สามารถ
ควบคุมสระและพยัญชนะ นายแพทย์ อ. แพทย์เฉพาะทางของโรงพยาบาล ป. แจ้งว่าเส้นประสาทเสียง
ถูกตัดขาด เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ นายแพทย์ อ. ส่งโจทก์ไปรักษากับนายแพทย์ ว. ที่โรงพยาบาล ร.
ได้มีการผ่าตัดอีกครั้งหนึ่ง หลังผ่าตัดครั้งที่ ๒ เสียงของโจทก์ไม่ดีขึ้นและนายแพทย์ ว. แจ้งว่า สายเสียง
ถูกตัดขาดไม่สามารถกลับมาใช้เสียงตามปกติได้ แต่เสียงจะดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช้เวลา ๓ – ๔ ปี แต่เวลาผ่านไป
๓ – ๔ ปี เสียงของโจทก์แหบแห้งลงกว่าเดิม จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๔๙ โจทก์แน่ใจว่านายแพทย์ ธ.
ผ่าตัดด้วยความประมาทเลินเล่อท�ำให้เส้นสายเสียงถูกตัดขาดจนท�ำให้เสียงแหบแห้งไม่สามารถใช้เสียงตามปกติได้
ต้องใช้ความอดทนอย่างมากในการเปล่งเสียงออกพูดเหนื่อยง่ายผู้ฟังไม่ได้ยินเท่าที่ควรไม่เข้าใจในสิ่งที่โจทก์พูด
ท�ำให้โจทก์สูญเสียอวัยวะส�ำคัญ การกระท�ำของนายแพทย์ ธ. ซึ่งเป็นแพทย์ทดลองงานยังไม่มีความเชี่ยวชาญ
เท่าที่ควร แต่โรงพยาบาลก็อนุญาตให้ผ่าตัดท�ำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ขอให้ชดใช้เงินจ�ำนวน
๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี จ�ำเลยต่อสู้ว่า แพทย์ได้บอกถึงภาวะแทรกซ้อน
ที่อาจเกิดขึ้นว่าอาจมีอาการเสียงแหบ แต่มีโอกาสน้อย และผ่าตัดด้วยความระมัดระวังตามขั้นตอนและวิธีการ
ของการแพทย์และมาตรฐานวิชาชีพแพทย์โดยไม่ได้ตัดเส้นประสาทเสียงของโจทก์ แต่ที่เสียงของโจทก์แหบแห้ง
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ จากการผ่าตัด เพราะเส้นประสาทเสียงอยู่ติดกับต่อมไทรอยด์และเกิดการ
กระทบกระเทือนในการผ่าตัดได้
	 ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว วินิจฉัยในประเด็นส�ำคัญ ๓ ประเด็น คือ
๑. ฟ้องของโจทก์แจ้งชัดหรือไม่ เห็นว่านายแพทย์ ธ. ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ด้วยความประมาทเลินเล่อ
แล้วท�ำให้สายเสียงขาดไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ จึงเป็นฟ้องที่แจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและค�ำขอบังคับ
ทั้งข้ออ้างที่เป็นหลักแห่งข้อหาแล้ว ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
๒. ฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่ เห็นว่า แม้นายแพทย์ ว. ผู้ผ่าตัดครั้งที่ ๒ จะบอกว่าสายเสียงถูกตัดขาด
ไม่สามารถกลับใช้ได้เป็นปกติเช่นเดิม แต่ยังบอกอีกว่า การใช้เสียงจะดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช้เวลา ๓ – ๔ ปี จากค�ำ
ชี้แนะดังกล่าวย่อมท�ำให้โจทก์เข้าใจได้ว่าการใช้เสียงของโจทก์อาจเป็นปกติได้แต่ใช้เวลานานจึงฟังไม่ได้ว่าโจทก์
รู้ว่าอาการเสียงแหบแห้งของโจทก์ไม่สามารถกลับมาดีดังเดิมได้และยังถือไม่ได้ว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดตั้งแต่วันที่
นายแพทย์ ว. บอก ฟ้องโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
ใ
28
๓. เสียงโจทก์แหบแห้งเพราะความประมาทเลินเล่อของแพทย์ผู้ผ่าตัดหรือไม่ เห็นว่า นายแพทย์ ช.
ผู้เชี่ยวชาญด้าน โสต ศอ นาสิก เบิกความว่าเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อกล่องเสียงซึ่งควบคุมสายเสียง
ให้เคลื่อนไหวและมีเสียงดังอยู่ใต้ต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างและเกือบชิดกับต่อมไทรอยด์ จะมีเส้นเลือดที่ไปเลี้ยง
ต่อมไทรอยด์คั่นอยู่และมีเนื้อเยื่ออย่างอื่นคลุมเส้นประสาทเสียงอยู่บ้างเท่านั้น ซึ่งสภาพการตั้งอยู่ของ
เส้นประสาทเสียงดังกล่าวแพทย์ผู้ผ่าตัดซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ด้านศัลยกรรมโดยเฉพาะจะต้องทราบ
เป็นอย่างดี และต้องใช้ความระมัดระวังมากเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้อุปกรณ์ที่ใช้ผ่าตัดไปตัดเส้นประสาทเสียง
จนขาด และแพทย์ผู้ผ่าตัดสามารถใช้ความระมัดระวังได้ไม่ยากนัก โดยก่อนผ่าตัดต่อมไทรอยด์ต้องค้นหา
เส้นประสาทเสียงให้พบแล้วแยกเส้นประสาทเสียงออกเสียก่อนเลาะเนื้อเยื่อผูกและตัดเส้นเลือดที่ไปเลี้ยง
ต่อมไทรอยด์ การที่เส้นประสาทเสียงด้านขวาของโจทก์ถูกตัดขาด ทั้ง ๆ ที่ต่อมไทรอยด์ไม่ได้บวมโตมากนักและ
ไม่ยุ่งยากต่อการผ่าตัดมากเช่นนี้ เชื่อว่าแพทย์ผู้ผ่าตัดไม่ได้ด�ำเนินการตามขั้นตอนดังกล่าวให้ครบถ้วนด้วยความ
ระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้อุปกรณ์ที่ใช้ผ่าตัดไปตัดเส้นเสียง ทั้ง ๆ ที่สามารถใช้ความระมัดระวังเช่นนั้นได้
จึงเป็นการรักษาที่ไม่ได้มาตรฐานของการประกอบวิชาชีพแพทย์ ถือว่าแพทย์ผู้ผ่าตัดกระท�ำการด้วยความ
ประมาทเลินเล่อท�ำให้เส้นประสาทเสียงด้านขวาของโจทก์ถูกตัดขาดและเป็นเหตุให้เสียงแหบแห้ง
แต่เมื่อพิเคราะห์ถึงอาการที่เกิดขึ้นจากการใช้เสียงและความดังของเสียง ขณะโจทก์เบิกความเป็น
พยานแล้ว แม้เสียงของโจทก์จะแหบแห้งไปบ้างแต่ไม่มากนัก และไม่ปรากฏอาการอย่างอื่นชัดแจ้งจากการ
ใช้เสียง จึงก�ำหนดค่าเสียหายให้เป็นเงินจ�ำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำเลยอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ภาคพิจารณาในประเด็นว่า นายแพทย์ ธ. ประมาทเลอเล่อหรือไม่ โดยศาลเห็นว่า การที่จะ
วินิจฉัยว่าการกระท�ำของนายแพทย์ ธ. ละเมิดต่อโจทก์หรือไม่ จ�ำต้องวินิจฉัยก่อนว่าการผ่าตัดรักษาอาการ
เจ็บป่วยของโจทก์ นายแพทย์ ธ. ได้กระท�ำการรักษาโดยถูกต้องตามขั้นตอน วิธีการของแพทย์ผู้ประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมทั่วไปหรือไม่ เห็นว่านายแพทย์ ธ. และโจทก์เบิกความตรงกันว่า หลังผ่าตัดโจทก์ทราบจาก
นายแพทย์ ธ. เพียงว่า อาการเสียงแหบเกิดจากเส้นประสาทเสียงบอบช�้ำ โดยอาการจะค่อย ๆ ดีขึ้น แต่ปรากฏ
ข้อเท็จจริงว่า หลังจากนั้นนายแพทย์ อ. ซึ่งรักษาต่อมาวินิจฉัยว่า อาการเสียงแหบเกิดจากเส้นประสาทเสียง
ของโจทก์ถูกตัดขาดแล้วส่งตัวโจทก์ไปรักษาต่อที่โรงพยาบาล ร. ซึ่งแพทย์ผ่าตัดใส่ซิลิโคนไว้ที่เส้นเสียง
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
29
ที่เป็นอัมพาตจากการที่เส้นเสียงถูกตัดขาด โดยไม่ปรากฏว่าก่อนที่โจทก์จะได้รับการผ่าตัดในครั้งหลัง โจทก์
เคยผ่าตัดต่อมไทรอยด์ครั้งอื่นอีกแต่อย่างใด จึงไม่มีข้อต้องสงสัยเลยว่าการที่เส้นประสาทเสียงของโจทก์
ถูกตัดขาดนั้น เป็นเพราะการผ่าตัดโดยนายแพทย์ ธ. ประกอบกับในเวชระเบียน ระบุเพียงว่าลงมีดตามร่องแนว
ผิวหนังของคอตอนล่าง ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ซีกขวาเย็บปิดผิวหนัง และปริมาณการเสียเลือด ซึ่งนายแพทย์ ช.
ผู้เชี่ยวชาญ เห็นว่าไม่ได้บันทึกรายละเอียดของการผ่าตัดและไม่ได้ระบุถึงเส้นประสาทเสียงหรือสายเสียง
ตรงกับค�ำชี้แจงของนายแพทย์ ธ. ที่ยอมรับว่าการบันทึกการผ่าตัดของตนไม่ละเอียดเพราะเชื่อว่าการผ่าตัด
ไม่มีปัญหาใด ๆ ซึ่งขัดแย้งกับข้อเท็จจริงที่ว่า เส้นประสาทเสียงของโจทก์ถูกตัดขาดระหว่างการผ่าตัด
แต่กลับอ�ำพรางไม่บันทึกข้อเท็จจริงดังกล่าวให้ปรากฏ จึงฟังได้ว่านายแพทย์ ธ. ผ่าตัดโดยไม่ได้ใช้
ความระมัดระวังตามขั้นตอนและวิธีอันเป็นมาตรฐานวิชาชีพทางการแพทย์ แม้ว่าค�ำเบิกความของนายแพทย์ ช.
ผู้เชี่ยวชาญและนายแพทย์ ธ. ประกอบกับความเห็นของราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทยและ
ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทยจะระบุว่าอาการเสียงแหบอันเกิดจากการบาดเจ็บของเส้นประสาทเสียง
หลังการผ่าตัดต่อมไทรอยด์ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้แม้จะท�ำการผ่าตัดอย่างระมัดระวังแล้วก็ตาม
แต่ย่อมไม่อาจรวมถึงกรณีอาการเสียงแหบจากการที่เส้นประสาทเสียงถูกตัดขาด ซึ่งตามขั้นตอนวิธีการทางการ
แพทย์ดังที่จ�ำเลยน�ำสืบมาฟังได้ว่ามีข้อปฏิบัติในการผ่าตัดโดยความระมัดระวังเพื่อป้องกันมิให้เส้นประสาทเสียง
ถูกตัดขาดจึงแตกต่างจากกรณีภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดที่อาจเกิดขึ้นได้แม้กระท�ำโดยความระมัดระวังแล้ว
ดังกล่าวที่จ�ำเลยจะอ้างเป็นเหตุสุดวิสัย จ�ำเลยน�ำสืบตามภาระการพิสูจน์ไม่ได้ จึงต้องรับผิดในผลละเมิด
ของนายแพทย์ ธ. พิพากษายืน จ�ำเลยฎีกา ศาลฎีกาไม่รับฎีกาเนื่องจากเรื่องนี้ไม่เป็นสาระที่จะรับไว้พิจารณา
กรณีนี้โจทก์ร้องเรียนแพทยสภาในเรื่องจริยธรรมด้วย ปรากฏว่า ในชั้นคณะอนุกรรมการจริยธรรม
มีความเห็นว่าคดีมีมูล โดยเห็นว่ากรณีดังกล่าวมีหลักฐานชัดเจนว่าในเวชระเบียนบันทึกการรักษาผู้ร้องว่า
นายแพทย์ ธ. ซึ่งได้รับวุฒิบัตรสาขาศัลยศาสตร์ ไม่ได้ท�ำการผ่าตัดด้วยความระมัดระวังท�ำให้เส้นประสาทเสียง
ของผู้ร้องถูกตัดขาดและภายหลังการผ่าตัดยังไม่ได้เอาใจใส่ผู้ร้องในการให้การดูแลรักษาแต่อย่างใด แต่ในชั้น
คณะอนุกรรมการสอบสวนมีความเห็นของราชวิทยาลัยโสตศอนาสิกแพทย์แห่งประเทศไทยว่าการเกิดอัมพาต
ของสายเสียงหลังการผ่าตัดไทรอยด์ซึ่งท�ำให้มีอาการเสียงแหบนั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
คณะอนุกรรมการสอบสวนจึงเห็นด้วยกับราชวิทยาลัย ฯ และมีการบอกกล่าวชี้แจงให้ผู้ร้องทราบแล้วด้วย
การดูแลรักษาผู้ป่วยของนายแพทย์ ธ. เป็นไปตามมาตรฐานที่ดีที่สุดตามข้อบังคับ ฯ แล้ว แพทยสภามีมติให้
ยกข้อกล่าวหา นอกจากนี้ คณะกรรมการสอบความรับผิดทางละเมิดมีความเห็นว่า กรณีนี้เป็นเหตุสุดวิสัย
โดยมีความเห็นสอดคล้องกับราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทย
คดีนี้มีข้อสังเกต ดังนี้
๑. ศาลเชื่อตามเหตุผลของคณะอนุกรรมการจริยธรรม และไม่เห็นด้วยกับมติของแพทยสภา
๒. ประเด็นส�ำคัญอย่างหนึ่งคือ การเขียนเวชระเบียนที่นายแพทย์ ธ. เองยอมรับว่าเขียนไม่ละเอียด ท�ำให้
เกิดช่องว่างอันเป็นสาเหตุที่ท�ำให้การอธิบายด้วยค�ำพูดไม่น่าเชื่อถือ การเขียนเวชระเบียนจึงเป็นเรื่องส�ำคัญมาก
๓.ประเด็นที่ศาลยกมาเป็นหลักในการพิจารณาเสมอคือการต้องท�ำตามขั้นตอนและวิธีการตามมาตรฐาน
วิชาชีพ จะอ้างเหตุสุดวิสัยก็ต้องพิสูจน์ให้ได้ ศาลเห็นว่าเส้นเสียงถูกตัดขาดไม่ใช่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน
โดยเฉพาะศาลอุทธรณ์ภาคเห็นว่านายแพทย์ ธ. ทราบว่าผ่าตัดถูกเส้นเสียงขาดแล้วปกปิดอ�ำพรางความจริงไว้
๔. ศาลมีอ�ำนาจตามกฎหมายในการพิจารณาคดี ไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อผู้เชี่ยวชาญอย่างองค์กรวิชาชีพก็ได้
30
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
31
32
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
33
34
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
35
36
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
37
38
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
39
40
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
41
42
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
43
44
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
45
46
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
47
48
“ความหวังครั้งสุดท้าย”
ารตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่สามีภรรยาทุกคู่ต่างคาดหวัง บางรายไม่สามารถตั้งครรภ์โดยธรรมชาติได้
ก็ต้องพึ่งพาเทคนิควิทยาการสมัยใหม่ท�ำเด็กหลอดแก้วหรือท�ำกิฟท์เพื่อให้ได้บุตรมาสืบสกุล
พ่อแม่ต่างดูแลถนอมครรภ์มาอย่างดี มาพบแพทย์ตามนัดเสมอแต่ตอนมาคลอดกลับพบ
เหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น คลอดยาก คลอดแล้วทารกพิการ คลอดแล้วแม่เสียชีวิตหรือลูกเสียชีวิตหรือ
เสียชีวิตทั้งคู่ เป็นต้น เหตุการณ์ดังกล่าวผู้เกี่ยวข้อง คือ คุณพ่อ คุณตาคุณยาย คุณปู่ คุณย่าหรือญาติพี่น้อง
เกิดอาการรับไม่ได้จนต้องมีการแจ้งความร้องทุกข์หรือฟ้องร้องคดีกัน ขณะนี้ยังเถียงกันอยู่ว่าสตรีมีครรภ์ถือว่า
เป็นผู้ป่วยหรือไม่เพราะมีบางท่านบอกว่า ไม่เป็นเพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไรเพียงแต่มาเพื่อคลอดเด็กเท่านั้น
แต่บางท่านบอกว่าถือว่าเป็นผู้ป่วยเพราะไม่เป็นปกติธรรมดาทั่วไปมีเด็กอยู่ในท้องต้องมารับการรักษาท�ำคลอด
แตกต่างจากมนุษย์ธรรมดาทั่วไปเรื่องที่จะเล่าให้ฟังต่อไปนี้ก็เป็นเรื่องที่เป็นปัญหามาจนถึงปัจจุบันอาจเป็นเพราะ
ส่วนราชการหรือโรงพยาบาลสื่อสารไม่ชัดเจนในหลายประเด็นเช่นพยาบาลสามารถท�ำคลอดในรายที่คลอดปกติได้
ไม่จ�ำต้องให้แพทย์เป็นผู้ท�ำคลอดเว้นแต่จะเป็นกรณีพิเศษ เป็นต้น เริ่มเลยดีกว่า เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๓๙
นาง ก. ได้ยื่นฟ้องนายแพทย์ ส. ที่ ๑ นาง ด. ที่ ๒ นาง ร. ที่ ๓ เป็นจ�ำเลยในข้อหาละเมิด, เรียกค่าเสียหาย เป็นเงิน
จ�ำนวน ๒๑๕,๐๐๐บาทพร้อมดอกเบี้ยโดยฟ้องว่าเมื่อวันที่๒๔ตุลาคม๒๕๓๘โจทก์เจ็บครรภ์จึงไปที่โรงพยาบาลท
ซึ่งจ�ำเลยที่ ๑ เป็นผู้อ�ำนวยการและเป็นแพทย์เวร เพื่อให้จ�ำเลยที่ ๑ ท�ำคลอดแต่ไม่พบจ�ำเลยที่ ๑
จ�ำเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นพยาบาลเทคนิค และจ�ำเลยที่ ๓ เป็นผู้ช่วยได้ช่วยกันกดหน้าท้องของโจทก์อย่างแรง
หลายครั้งเพื่อให้ทารกในครรภ์คลอด ต่อมาจ�ำเลยที่ ๑ ใช้เครื่องท�ำคลอดสุญญากาศเพื่อดูดทารกทาง
ช่องคลอด แต่เครื่องท�ำคลอดสุญญากาศใช้การไม่ได้ โจทก์ถูกส่งไปโรงพยาบาลแม่และเด็ก น. แพทย์ตรวจ
พบว่ามดลูกของโจทก์แตกและทารกในครรภ์ไม่มีชีวิตเพราะถูกกด จึงผ่าตัดมดลูกและเอาทารกในครรภ์ออก
แล้วรักษาพยาบาลเพื่อช่วยชีวิตโจทก์ ทั้งนี้เนื่องจาก จ�ำเลยที่ ๑ ไม่ท�ำคลอดตามความสามารถและละเลย
ต่อหน้าที่ ปล่อยให้จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ท�ำคลอดโจทก์ ทั้งที่ไม่มีสิทธิกระท�ำศาลชั้นต้นพิพากษาว่า
จ�ำเลยที่ ๑ และจ�ำเลยที่ ๒ ได้ใช้ความระมัดระวังตามวิสัยผู้มีความรู้ความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพแพทย์
และพยาบาลแล้ว อีกทั้งยังฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ได้ปล่อยปละละเลยการตั้งครรภ์ของโจทก์ ก่อนจ�ำเลยที่ ๑
จะเข้ามาในห้องคลอด ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวจ�ำเลยที่ ๒ ได้เอาใจใส่ดูแลโจทก์อย่างใกล้ชิดตามมาตรฐาน
วิชาชีพแพทย์และพยาบาลและมีสิทธิท�ำครรภ์ของโจทก์ได้ในกรณีคลอดอย่างปกติ เมื่อโจทก์ไม่สามารถ
คลอดได้ภายใน ๑ ชั่วโมง นับแต่เวลามดลูกเปิด ๑๐ เซนติเมตร จ�ำเลยที่ ๒ ได้รายงานให้จ�ำเลยที่ ๑ ทราบ
การที่จ�ำเลยที่๑เห็นว่าการที่โจทก์มีปัญหาการเบ่งที่ไม่เห็นศีรษะทารกจากปากช่องคลอดจึงใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ช่วยการคลอดกรณีนี้ถือว่าจ�ำเลยที่๑ตัดสินใจด้วยความระมัดระวังทางวิชาชีพของตนและเมื่อเห็นว่าไม่สามารถ
รักษาโจทก์ได้ จึงส่งมายังโรงพยาบาลแม่และเด็ก ซึ่งมีแผนกเฉพาะอันเป็นการปฏิบัติการตามขั้นตอนแล้ว
ตามพฤติการณ์เช่นนี้ไม่อาจถือได้ว่าจ�ำเลยที่๑และจ�ำเลยที่๒ละเลยต่อหน้าที่ของตนอันก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่โจทก์ การที่ทารกในครรภ์โจทก์ตายและโจทก์ต้องถูกผ่าตัดมดลูก ถือไม่ได้ว่าเป็นผลโดยตรงจากการท�ำคลอด
ของจ�ำเลยทั้งสามกรณีฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยทั้งสามกระท�ำละเมิดต่อโจทก์พิพากษายกฟ้องค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับ
โจทก์ยื่นอุทธรณ์เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ ซึ่งศาลอุทธรณ์พิพากษาเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
พิพากษายืนค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับโจทก์ยื่นฏีกาและศาลฎีกาพิจารณาเมื่อวันที่๒๔ตุลาคม๒๕๓๙ข้อเท็จจริง
เบื้องต้นว่าโจทก์มีครรภ์ขณะมีอายุ๔๓ปีฝากครรภ์ไว้กับโรงพยาบาลท.ซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจ�ำอ�ำเภอจ�ำเลยที่๑
ก
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
49
เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลและเป็นแพทย์ผู้ช�ำนาญพิเศษแผนกกุมารเวชศาสตร์จ�ำเลยที่๒เป็นพยาบาลเทคนิค
จ�ำเลยที่ ๓ เป็นลูกจ้างต�ำแหน่งผู้ช่วยเหลือคนไข้ เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๓๘ โรงพยาบาล ท. รับโจทก์
เป็นคนไข้คลอด จ�ำเลยที่ ๑ เป็นแพทย์เวร จ�ำเลยที่ ๒ เป็นพยาบาลดูแลระหว่างโจทก์นอนรอเตรียมคลอด
เมื่อโจทก์มีอาการเจ็บครรภ์ จึงย้ายโจทก์เข้าห้องคลอด จ�ำเลยที่ ๒ สั่งให้จ�ำเลยที่ ๓ มาช่วยเหลือ จนกระทั่ง
ปากมดลูกโจทก์เปิดหมดแล้ว แต่โจทก์ยังคลอดไม่ได้ จ�ำเลยที่ ๑ ได้เข้ามาดูแลและมีการใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
เพื่อช่วยการคลอดแต่ไม่ส�ำเร็จ จึงส่งตัวโจทก์ไปยังโรงพยาบาลแม่และเด็ก แพทย์ได้ท�ำการรักษาโดยการผ่าตัด
พบว่า มดลูกแตกในบริเวณส่วนล่างเสียเลือดในช่องท้อง ทารกตายในครรภ์ จึงได้ท�ำการตัดมดลูกและผ่าตัดน�ำ
ทารกออกจากครรภ์เพื่อช่วยชีวิตโจทก์
ประเด็นที่ ๑ จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ใช้มือกดท้องโจทก์อย่างแรงจนมดลูกแตกหรือไม่
ประเด็นนี้ จากค�ำเบิกความของพยาน จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ไม่ได้ใช้มือกดท้องโจทก์จนกระทั่ง
มดลูกแตก แต่เป็นการใช้มือคลึงเพื่อช่วยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวในการเร่งคลอด เมื่อคนไข้อยากเบ่งให้
จ�ำเลยที่ ๓ ช่วยคลึง ๒ – ๓ ครั้ง ในขณะที่จ�ำเลยที่ ๒ ใช้มือเปิดทางคลอดให้กว้างเพื่อคลอดสะดวก
ผู้ที่จบหลักสูตรพยาบาลต้องได้รับการฝึกฝนมาแล้ว ส่วนจ�ำเลยที่ ๓ ก่อนเกิดเหตุได้ผ่านการฝึกอบรมการใช้
มือคลึงคนไข้คลอดของโรงพยาบาลแล้ว ประเด็นนี้น่าเชื่อว่าอาจเป็นความเข้าใจของโจทก์เองว่าจ�ำเลยที่ ๒
และที่ ๓ ใช้มือคลึงหน้าท้องโจทก์เป็นการกดท้อง จึงรับฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๒ ที่ ๓ กดท้องโจทก์ และจ�ำเลยที่ ๓
มิได้มีส่วนร่วมในการท�ำคลอดโจทก์โดยตรง เป็นเพียงการปฏิบัติตามค�ำสั่งของจ�ำเลยที่ ๒
50
ประเด็นที่ ๒ จ�ำเลยที่ ๑ เป็นแพทย์ จ�ำเลยที่ ๒ เป็นพยาบาลใช้ความมระมัดระวังเพียงพอแก่วิชาชีพ
ของตน จนเป็นการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่
ประเด็นนี้ จ�ำเลยที่ ๑ เบิกความว่า การคลอดลูกง่ายหรือยากนั้น มดลูกมีส่วนส�ำคัญ การหดตัวของ
มดลูกจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับกล้ามเนื้อมดลูก หมายความว่า กล้ามเนื้อมดลูกดี การบีบรัดก็จะดีไปด้วย เด็กจะ
คลอดง่าย กรณีของโจทก์ ซึ่งเคยมีบุตรมาแล้ว ๒ คน ที่ไม่สามารถคลอดเองได้ เข้าใจว่าอาจเป็นเพราะ
กล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี และการที่หญิงมีครรภ์อายุต�่ำกว่า ๑๕ ปี หรือเกินกว่า ๓๕ ปี ถือเป็นการตั้งครรภ์ที่เสี่ยง
กรณีโจทก์อายุ ๔๓ ปี จะมีอัตราเสี่ยงต่อทารกในครรภ์เนื่องจากมดลูกไม่ค่อยดี ท�ำงานได้น้อยลงหรือมดลูก
ไม่แข็งแรงรกอาจมีปัญหาท�ำงานไม่ดีจะเป็นอันตรายต่อเด็กและการที่โจทก์ครรภ์เกินก�ำหนดประมาณ๓สัปดาห์
จะมีผลต่อตัวเด็กคือรกจะเริ่มเสื่อมสภาพ ท�ำให้เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลายาวนาน และในขณะท�ำคลอด
มีปัญหาด้วยอาจท�ำให้เด็กเสียชีวิตได้ และการให้ยาเร่งคลอดของแพทย์เพื่อช่วยการคลอดของโจทก์ถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ ซึ่งเป็นไปตามต�ำราสูติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีนายแพทย์ ว. ผู้เชี่ยวชาญสาขาสูตินรีเวช
เบิกความว่า เมื่อดูตามรายงานของ โรงพยาบาล ท. เห็นว่า แพทย์ผู้ท�ำการรักษาได้ท�ำการวิเคราะห์แล้วและ
มีความเห็นว่า เด็กน่าจะคลอดได้ โดยใช้เครื่องดูดเนื่องจากขณะนั้นเด็กคลอดยาก ซึ่งเครื่องดูดสุญญากาศ
เป็นเครื่องมือรักษาตามวิชาการแพทย์อย่างหนึ่ง ตามสภาพแพทย์ท�ำการรักษาได้พยายามช่วยเหลือแล้ว
ไม่ได้ปล่อยปละละเลย แต่มีอุปสรรคในการใช้เครื่องมือเนื่องจากได้พยายามดูดตัวเด็ก ถึง ๓ ครั้ง และในที่สุด
ไม่สามารถคลอดเด็กออกมาได้จึงได้ส่งตัวผู้ป่วยมาที่ โรงพยาบาลแม่และเด็ก ซึ่งมีแผนกเฉพาะทางอันเป็น
การปฏิบัติตามหลักวิชาการว่า เมื่อไม่สามารถท�ำการรักษาได้แล้วต้องส่งให้โรงพยาบาลที่มีความสามารถหรือ
เฉพาะทางเป็นผู้ดูแล การที่แพทย์ใช้เครื่องดูดนั้นเป็นการช่วยโจทก์ในการคลอดและเป็นการช่วยชีวิตเด็กด้วย
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
51
หากแพทย์ไม่ท�ำการใช้เครื่องดูดทารกจะถือว่าเป็นการปล่อยปละละเลย ซึ่งตามบันทึกแพทย์ผู้ท�ำการคลอด
ได้ท�ำการตามวิชาการของหลักวิชาการทางการแพทย์ครบถ้วนแล้ว ศาลเห็นว่าจ�ำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ได้ใช้
ความระมัดระวังตามปกติวิสัยของผู้มีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพแพทย์และพยาบาลแล้ว
ไม่ได้ละเลยหน้าที่ของตนอันก่อให้เกิดผลเสียหายแก่โจทก์ ดังนั้น การที่ทารกในครรภ์โจทก์ตายและโจทก์ต้องถูก
ผ่าตัดมดลูกนั้น ถือไม่ได้ว่าเป็นผลโดยตรงจากการท�ำคลอดของจ�ำเลยทั้งสาม พิพากษายกฟ้อง
โจทก์อุทธรณ์ค�ำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ภาค พิจารณาแล้วเห็นว่า พยานหลักฐานของโจทก์ มีน�้ำหนักน้อย
กว่าพยานของจ�ำเลย ข้อเท็จจริงยังฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ กดหน้าท้องโจทก์อย่างแรง ท�ำให้มดลูก
โจทก์แตก พิพากษายืน โจทก์ฎีกา
ศาลฎีกาพิจารณาในประเด็นที่ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ไม่ดูแลเครื่องมือท�ำคลอดสุญญากาศให้อยู่ในสภาพดี
พร้อมที่จะท�ำงานได้ทันทีนั้น เห็นว่า เครื่องมือท�ำคลอดสุญญากาศเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ย่อมไม่อาจ
คาดเดาได้ว่าจะช�ำรุดหรือใช้งานได้เมื่อใด ไม่ปรากฏว่าเครื่องมือดังกล่าวช�ำรุดมาก่อนและจ�ำเลยที่ ๑ ละเลย
ไม่จัดให้มีการซ่อมแซม ทั้งเมื่อ จ�ำเลยที่ ๑ ให้ไปน�ำเครื่องมืออีกเครื่องหนึ่งจากห้องผ่าตัดมาใช้ก็ไม่สามารถ
ดึงศีรษะทารกออกมาจากครรภ์โจทก์ได้เช่นกัน จึงไม่อาจรับฟังได้ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ละเลยไม่ดูแลเครื่องมือแพทย์
ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานดังโจทก์อ้าง ส�ำหรับจ�ำเลยที่ ๒ นั้นเห็นว่าส�ำเร็จการศึกษาจนได้รับประกาศนียบัตร
การพยาบาลและผดุงครรภ์ และได้รับใบอนุญาตให้ประกอบโรคศิลปะ จึงเป็นผู้มีความรู้และมีความสามารถ
ในการท�ำคลอดตามสมควรและย่อมรู้ว่าการกระท�ำใดจะเป็นอันตรายต่อคนไข้ที่มาคลอด ส�ำหรับจ�ำเลยที่ ๓
ได้ช่วยท�ำคลอดโจทก์ตามค�ำขอ และกระท�ำต่อหน้าจ�ำเลยที่ ๒ เชื่อว่าจ�ำเลยที่ ๒ และ ที่ ๓ มิได้กระท�ำต่อโจทก์
ผิดแผกไปจากแนวทางปฏิบัติที่จ�ำเลยที่ ๒ ท�ำคลอดแก่คนไข้รายอื่น ทั้งยังมีข้อเท็จจริงด้วยว่าระหว่างจ�ำเลยที่ ๒
ท�ำคลอดแก่โจทก์ มีนาง ว. คนไข้อีกคนเข้ามาท�ำคลอดในห้องเดียวกับโจทก์ เบิกความว่าเห็นจ�ำเลยที่ ๒ และ
ที่ ๓ ใช้มือคล�ำบริเวณหน้าท้องโจทก์เพื่อกระตุ้นให้โจทก์คลอดมิได้ใช้มือกด และไม่ได้ยินเสียงโจทก์ร้องห้าม
หรือร้องด้วยความเจ็บปวดแต่อย่างใด นาง ว. เป็นคนกลางไม่รู้จักฝ่ายใดมาก่อน ค�ำเบิกความจึงมีน�้ำหนัก
ข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ใช้ก�ำลังกดท้องของโจทก์อย่างรุนแรงเป็นเหตุให้มดลูกของโจทก์แตก
จึงมิได้กระท�ำละเมิดต่อโจทก์ พิพากษายืน
ข้อสังเกต	
การสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วยเป็นสิ่งจ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่ง การสื่อสารที่ดีนั้น
ท�ำให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่บุคลากรทางการแพทย์ได้กระท�ำต่อผู้ป่วย และจะเป็นการป้องกัน
เรื่องร้องเรียนหรือการฟ้องร้องเป็นคดีกันได้เมื่อเกิดเหตุไม่พึงประสงค์หรือเกิดความเสียหายจากการรักษาพยาบาล
หากบุคลากรทางการแพทย์ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลและผู้ป่วยเข้าใจข้อมูลดังกล่าวแล้วปัญหาต่างๆ
ก็จะไม่เกิดขึ้น หรือหากเกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขปัญหานั้นได้โดยง่าย
อย่างเช่นกรณีตามค�ำพิพากษาคดีดังกล่าว พยาบาลสามารถท�ำคลอดในรายที่เป็นปกติได้ไม่จ�ำเป็นต้องให้
แพทย์ท�ำคลอดให้ เว้นแต่จะเป็นกรณีพิเศษ แต่พยาบาลไม่ได้อธิบายให้ผู้ป่วยทราบและเข้าใจถึงข้อมูลดังกล่าว
ว่าพยาบาลมีสิทธิท�ำคลอดได้ ซึ่งผู้ป่วยไม่สามารถทราบได้ว่าพยาบาลมีสิทธิท�ำคลอด เมื่อความเสียหายเกิดขึ้น
ลูกของผู้ป่วยตายและผู้ป่วยมดลูกแตกต้องผ่าตัดมดลูกออกจนไม่สามารถมีลูกได้อีกซึ่งการมีลูกนั้นเป็นความหวัง
ของพ่อแม่ทุกคน และเป็นความหวังของผู้ป่วยรายนี้ด้วย จึงเกิดการฟ้องร้องเป็นคดีขึ้น เพราะผู้ป่วยเข้าใจผิด
ว่าพยาบาลท�ำการรักษาผิดพลาด ดังนั้น การสื่อสารจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่ง
52
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
53
54
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
55
56
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
57
58
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
59
60
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
61
62
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
63
64
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
65
66
รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์
67
ค
“ช้า ช้า อาจจะไม่ได้พร้าเล่มงาม”
ดีที่จะน�ำมาเล่าให้ฟังในวันนี้เป็นเรื่องที่แพทย์ พยาบาลควรศึกษาให้ดีเพราะมีประเด็นส�ำคัญ
ที่ศาลได้วินิจฉัยไว้อย่างน่าสนใจแต่ตรงกันข้ามกับรายงานการสอบสวนความรับผิดทางละเมิด
หากมีการสอบสวนทางจรรยาบรรณก็ไม่แน่ว่าอาจมีความผิดทางจรรยาบรรณวิชาชีพได้ นอกจากนี้
น่าเป็นห่วงว่าจะมีการไล่เบี้ยด้วย เริ่มเรื่องเลยดีกว่า เรื่องนี้เกิดขั้นที่จังหวัดใหญ่แห่งหนึ่งในภาคเหนือ
ข้อเท็จจริง (ของศาล) มีว่า เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ด.ญ. (โจทก์) ได้รับอุบัติเหตุ
ทางรถยนต์เป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บถูกส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลฝ.(ประจ�ำอ�ำเภอ)แพทย์เอกซเรย์ขาข้างซ้าย
ของเด็กที่ได้รับบาดเจ็บพบว่า มีกระดูกหักสองจุดไม่สามารถรักษาที่โรงพยาบาล ฝ. ได้จึงส่งตัวเด็กไปยัง
โรงพยาบาล ท. (โรงพยาบาลทั่วไป) ไปถึงเวลาประมาณ ๑๒.๔๕ น. โรงพยาบาล ท. รับเด็กไว้รักษาที่หอผู้ป่วย
ศัลยกรรมกระดูกและข้อ ต่อมาในวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๘.๓๐ น. นายแพทย์ ศ. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ เจ้าของไข้มาตรวจดูอาการของเด็กในครั้งแรกให้พยาบาลน�ำเครื่องดึงกระดูก
แบบถ่วงน�้ำหนักด้วยถุงทรายมาติดแล้วดึงขาข้างซ้ายที่หัก ต่อมาวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๘.๓๐
ถึง ๑๐.๐๐ น. นายแพทย์ ศ. ส่งเด็กไปรักษาต่อที่โรงพยาบาล ม. เด็กถูกส่งตัวไปเมื่อใดไม่ทราบชัดแต่ไปถึง
โรงพยาบาล ม. เวลา ๑๓.๓๐ น. โดยนายแพทย์ ก. แพทย์ประจ�ำรพ. ม. ได้รับแจ้งจาก รพ. ท. ด้วยว่า
มีเหตุสงสัยบริเวณจุดที่กระดูกหักน่าจะได้รับบาดเจ็บ จึงท�ำการผ่าตัดบริเวณที่กระดูกหักเข้าไปกดทับเส้นเลือด
พบเส้นเลือดบริเวณหน้าแข้งซ้ายมีลักษณะฟกช�้ำมีลิ่มเลือดอุดตันเส้นเลือด กล้ามเนื้อบริเวณขามีสีคล�้ำ
ไม่มีการขยับแสดงว่ากล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวขาดเลือดมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง เมื่อท�ำการผ่าตัด
ต่อเส้นเลือดเพื่อทดลองว่ากล้ามเนื้อสามารถกลับมาท�ำงานได้หรือไม่ แต่เมื่อต่อเส้นเลือดแล้วกล้ามเนื้อบริเวณ
ดังกล่าวไม่ท�ำงานและยังคล�ำชีพจรบริเวณหลังเท้าซ้ายไม่ได้ จึงท�ำการตัดขาข้างซ้ายของเด็กบริเวณเหนือหัวเข่า
แม่ของเด็กและญาติไม่พอใจมากเพราะเห็นว่า นายแพทย์ ศ. ละเลยไม่เอาใจใส่ดูแลเด็กเป็นเหตุให้ต้องถูกตัดขา
จึงฟ้องศาลเรียกค่าเสียหาย ๘,๔๓๑,๐๐๐ บาท คดีนี้มีประเด็นที่น่าสนใจ ๓ ประเด็น คือ
๑. ประเด็นไม่มาดูผู้ป่วย มีข้อเท็จจริงว่า เมื่อเด็กมาถึงโรงพยาบาล ท. เวลา ๑๒.๔๕ น. แพทย์เวรตรวจ
และโทรศัพท์ปรึกษานายแพทย์ ศ. เมื่อนายแพทย์ ศ. ให้รับเด็กไว้แพทย์เวรสั่งงดอาหารและน�้ำเตรียมผ่าตัดเวลา
๑๕.๐๐ น. ต่อมาได้รับแจ้งว่านายแพทย์ ศ. ไม่ว่างติดธุระต้องเลื่อนการผ่าตัดเป็นเวลา ๒๐.๐๐ น. เมื่อถึงเวลา
พยาบาลให้รับประทานอาหาร ดื่มน�้ำและทานยาแก้ปวด โดยแจ้งว่าแพทย์ติดธุระไม่เข้ามาต้องเลื่อนการผ่าตัด
ออกไป ต่อมาวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๙ นาฬิกา นายแพทย์ ศ. มาดูอาการเป็นครั้งแรก แจ้งว่าขาข้างซ้าย
ที่หักจะท�ำการผ่าตัดเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องรอให้อาการบวมยุบก่อน จากนั้นพยาบาลน�ำเครื่องดึงกระดูกแบบ
ถ่วงน�้ำหนักด้วยถุงทรายมาติดตั้งโดยยึดและดึงที่ปลายขาที่หัก แพทย์ไม่ได้อยู่ดูเลย ประเด็นนี้ฝ่ายโจทก์
เห็นว่า แพทย์ละทิ้งหน้าที่ ไม่มาตรวจวินิจฉัยแล้วยังให้รอผ่าตัดด้วยความเจ็บปวด อดข้าว อดน�้ำ (พยาบาล
บอกว่าเป็นวันหยุดหมอไม่อยู่โรงพยาบาล) เป็นเวลานานหลายชั่วโมง จากการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทาง
ละเมิด คณะกรรมการเห็นว่าการที่นายแพทย์ ศ. แพทย์เจ้าของไข้ไม่มาดูผู้ป่วยตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๒
เวลา ๑๓.๐๐ น. จนถึง ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๔๕ น. รวมเวลาประมาณ ๒๑ ชั่วโมง มีส่วนขาดความ
ระมัดระวังอยู่บ้าง
๒.ประเด็นว่ามีการเฝ้าระวังภาวะคอมพาทเมนท์ซินโดรมหรือไม่จากการสอบสวนความรับผิดทางละเมิด
คณะกรรมการเห็นว่ามีการเฝ้าระวังภาวะคอมพาทเมนท์ซินโดรม โดยมีหลักฐานคือ บันทึกการพยาบาล
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1

More Related Content

What's hot

คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่าคู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
thana bkk
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
Utai Sukviwatsirikul
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
peter dontoom
 
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
dtammanoon
 

What's hot (20)

ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่าคู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
คู่มือการมุงกระเบื้อง ไอยร่า
 
ธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai elementธาตุเจ้าเรือน Thai element
ธาตุเจ้าเรือน Thai element
 
เฉลยPat3กค52.pdf
เฉลยPat3กค52.pdfเฉลยPat3กค52.pdf
เฉลยPat3กค52.pdf
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
การกรอกแบบรายการ
การกรอกแบบรายการการกรอกแบบรายการ
การกรอกแบบรายการ
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
 
ประวัติย่อของหลุมดำ
ประวัติย่อของหลุมดำประวัติย่อของหลุมดำ
ประวัติย่อของหลุมดำ
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 

Similar to หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1

57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
หมอปอ ขจีรัตน์
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 

Similar to หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1 (14)

คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
คู่มือการจัดการคดีทางการแพทย์สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ - กลุ่มระ...
 
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 3
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
1 2-51-452
1 2-51-4521 2-51-452
1 2-51-452
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์ (2556)
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 

หนังสือรวมคำพิพากษาคดีทางการแพทย์ (พศ 2539-2560) เล่ม 1

  • 1.
  • 2. จัดท�ำโดย : กองกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เลขที่ ๓๑๔-๓๑๖ ปากซอยบ้านบาตร ถนนบ�ำรุงเมือง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๑๐ โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๓๓๕๑, ๐ ๒๒๒๓ ๕๕๔๘ โทรสาร ๐ ๒๖๒๑ ๒๙๑๐
  • 3.
  • 4. 2 ารรักษาพยาบาลเป็นการกระท�ำอย่างหนึ่ง ที่ท�ำต่อร่างกายและจิตใจของมนุษย์ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ เพราะผลกระทบจากการรักษาพยาบาลอาจท�ำให้ผู้ป่วยพิการหรือเสียชีวิตได้รัฐจึงต้องออกกฎหมาย ให้มีการควบคุมการประกอบวิชาชีพของผู้ท�ำการรักษาพยาบาลคือแพทย์พยาบาลทันตแพทย์เภสัชกร และวิชาชีพทางการแพทย์อื่นๆ การรักษาพยาบาลนอกจากจะมีกฎหมายเฉพาะควบคุมแล้ว ยังมีกฎหมายทั่วไป ที่เกี่ยวข้องอีก เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา เป็นต้น ดังนั้นการรักษาพยาบาล ที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพจึงอาจต้องรับผิดตามกฎหมายหลายฉบับ แต่ในความเป็นจริงแล้ว การรักษาพยาบาลไม่อาจคาดหมายหรือประกันการรักษาได้อย่างแน่นอน เพราะมีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หลายปัจจัย เช่น ความรุนแรงของโรค สภาพร่างกายหรือจิตใจของผู้ป่วย ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือ ยา ความพร้อมของบุคลากร เป็นต้น จึงท�ำให้การรักษาบางครั้งไม่อาจคาดหมายได้ และสามารถเกิดเหตุ อันไม่พึงประสงค์ได้เสมอแม้ว่าจะได้ระมัดระวังและปฏิบัติตามวิธีการ ขั้นตอนที่ถูกต้องตามมาตรฐานแล้ว ปัจจุบันประชาชนตระหนักในสิทธิของตนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเรื่องสุขภาพ อนามัย หากเกิดเหตุจาก การรักษาพยาบาลผู้ป่วยหรือญาติส่วนหนึ่งจะเข้าใจการท�ำงานของบุคลากรทางการแพทย์แต่ก็มีบางส่วนไม่เข้าใจ ความเสียหายที่เกิดขึ้นมักรุนแรงเพราะเกิดกับร่างกายและจิตใจ อาจถึงขั้นพิการหรือเสียชีวิต จากการศึกษา ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพบว่า เหตุบางอย่างสามารถป้องกันได้ แต่ความเสียหายเกิดจากความประมาทเลินเล่อ ของบุคลากรทางการแพทย์ แม้จะมิได้เกิดจากเจตนาท�ำร้ายและความรุนแรงของผลการกระท�ำ ท�ำให้ ผู้ป่วยหรือญาติไม่อาจยอมรับได้จึงเกิดการร้องเรียนและท้ายที่สุดก็จะเกิดฟ้องคดีต่อศาล การถูกด�ำเนินคดี ในศาลท�ำให้แพทย์เกิดความวิตกกังวล เสียขวัญและก�ำลังใจ โดยเฉพาะแพทย์ที่ตั้งใจปฏิบัติงาน ด้วยเจตนารมณ์ช่วยชีวิตผู้ป่วยให้ได้ ผลกระทบนี้ส่งผลถึงระบบสาธารณสุขโดยรวมแม้ว่าจะยังไม่มีแพทย์ ก บทน�ำ
  • 5. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 3 หรือบุคลากรทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องโทษอาญาถึงขั้นจ�ำคุก แต่ในทางคดีแพ่ง กลับปรากฏว่าศาลพิจารณาพฤติกรรมการรักษาพยาบาลของแพทย์ พยาบาล หรือบุคลากรทางการแพทย์ แล้วเห็นว่าเป็นการกระท�ำโดยประมาทเลินเล่อ พิพากษาให้แพทย์และต้นสังกัดแพ้คดี ต้องชดใช้ค่าเสียหาย ให้แก่ผู้ป่วยหรือญาติจ�ำนวนมาก บางคดีแพทย์ พยาบาล ก็ถูกไล่เบี้ย ท�ำให้เกิดความวิตก ระส�่ำระสาย ในวงการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาส�ำคัญประการหนึ่งคือแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ขาดความรู้ ในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลจะรู้แต่กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพของตนเอง เท่านั้น ท�ำให้เมื่อด�ำเนินการรักษาอาจขาดความตระหนักถึงผลทางกฎหมาย เช่นการเขียนเวชระเบียน การให้ข้อมูลและความยินยอม สิทธิของผู้ป่วย เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อถูกฟ้องร้องจากศาล กระบวนการ พิจารณาคดีของศาลมีผลต่อการแพ้ชนะคดี ในทางคดีแม้ว่าดูแล้วแพทย์น่าจะท�ำถูกต้องตามมาตรฐานแล้ว แต่ในการน�ำสืบไม่สามารถแสดงพยานหลักฐานให้ศาลเห็นได้ ศาลไม่มีความรู้เรื่องทางด้านการแพทย์ ต้องพิจารณาตามพยานหลักฐานที่คู่ความน�ำเสนอ พนักงานอัยการ นิติกร และผู้ที่เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน แสดงพยานหลักฐานให้ชัดเจนเรื่องต่างๆ เหล่านี้ แพทย์ พยาบาลส่วนใหญ่ไม่รู้กระบวนการ ไม่เข้าใจ และอาจไม่ตระหนักถึงความส�ำคัญของการต่อสู้คดีที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นเหตุให้แพ้คดี กองกฎหมาย ได้รวบรวมสถิติ คดีต่างๆ ที่ผู้ป่วยหรือญาติฟ้องส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๙ – ๒๕๖๐ รวม ๒๙๑ คดี สามารถไกล่เกลี่ยได้ ๑๖๕ คดี ศาลจ�ำหน่ายคดี ๙ คดี คดีถึงที่สุด ๖๖ คดี (ชนะ ๔๕ แพ้ ๒๑) จ่ายเงินตามค�ำพิพากษาแล้วประมาณ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท มีการ ไล่เบี้ย ๕ คดี (แพทย์ ๔ คน พยาบาล ๗ คน พนักงานเปล ๑ คน) แม้ว่าการชนะคดีจะมีมากกว่า แต่ในอนาคต ไม่แน่ว่าอาจแพ้คดีมากกว่าเพราะขณะนี้ทนายความเริ่มมาสนใจคดีทางการแพทย์มากขึ้น ผู้ป่วยหรือญาติ มีความรู้มากขึ้น การสื่อสารเทคโนโลยีก้าวหน้าโดยเฉพาะโลกโซเชี่ยล ดังนั้นการรู้เท่าทันจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ หนังสือรวมค�ำพิพากษาฉบับนี้ได้รวบรวมและวิเคราะห์มุมมองของคดี แนวทางการพิจารณาวินิจฉัยของศาล และความคับข้องใจ ความไม่เข้าใจของผู้ป่วยหรือญาติที่ส�ำคัญจ�ำนวน ๑๐ เรื่อง ซึ่งผู้อ่านจะได้รับความรู้ ความเข้าใจเรื่องข้อกฎหมาย วิธีด�ำเนินการในศาล กระบวนการต่างๆ ข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงอันจะ เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลต่างๆ ดังกล่าวจะมีส่วนท�ำให้การฟ้องคดีต่างๆ ลดลง ทุกคนทุกฝ่ายอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความเข้าใจกันตลอดไป
  • 6. 4
  • 7. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 5 ค�ำน�ำ จจุบันปัญหาการร้องเรียน ฟ้องร้องคดีเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมีมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อระบบ บริการสาธารณสุขโดยเฉพาะในโรงพยาบาลของรัฐที่ต้องรับภาระดูแลประชาชนที่เจ็บป่วยจ�ำนวน มากทั้งที่มีความขาดแคลนด้านบุคลากรทางการแพทย์ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ จึงมีเหตุไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ผู้ป่วยกับบุคลากรทางการแพทย์ แต่บางครั้งการสื่อสารที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสม ก็ท�ำให้ความขัดแย้งบานปลาย ไปสู่ศาลเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา และคดีปกครอง ในการพิจารณาคดีของศาลจะต้องมีการน�ำสืบพยานต่างๆ รวมทั้งพยานผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง รวมทั้งเอกสารเวชระเบียน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนส�ำคัญยิ่งในการพิสูจน์ ดังนั้นเพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รับทราบข้อข้องใจของผู้ป่วย แนวทางการพิจารณาของศาล มุมมองและข้อวินิจฉัยของศาลที่มีต่อการให้ การรักษาพยาบาลกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดท�ำหนังสือรวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ปีพ.ศ.๒๕๓๙–๒๕๖๐ เล่ม ๑ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้ศึกษา วิเคราะห์ อันจะเป็นการป้องกันการเกิดความขัดแย้งทางการแพทย์และหากจ�ำเป็นต้องต่อสู้คดีแล้วก็จะสามารถด�ำเนินการ ในชั้นศาลได้อย่างครบถ้วน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างถูกต้องต่อไป กลุ่มระงับข้อพิพาททางการแพทย์ กองกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธรณสุข ปั
  • 8. 6 สารบัญ บทน�ำ ค�ำน�ำ หมอไม่มาดู ท�ำไมถึงท�ำกับฉันได้ ความหวังครั้งสุดท้าย ช้า ช้า อาจจะไม่ได้พร้าเล่มงาม หมอท�ำเต็มที่แล้ว ท�ำแบบนี้หมอผิดใช่ไหม การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยส�ำคัญไฉน นาทีชีวิต เย็บไม่ดีหรือเปล่า แค่ไม่ถามประวัติ ก็ผิดแล้วหรือ ๒ ๕ ๗ ๒๗ ๔๘ ๖๗ ๑๑๑ ๑๒๖ ๑๔๐ ๑๙๐ ๒๓๑ ๒๑๗
  • 9. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 7 หมอไม่มาดู มื่อ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑ นางสาว ว. เป็นโจทก์ฟ้องกระทรวงสาธารณสุข ที่ ๑ กรม พ. ที่ ๒ นายแพทย์ พ. ที่ ๓ (ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน) ข้อหาละเมิด, เรียกค่าเสียหาย ค�ำฟ้องสรุปว่า โจทก์ซึ่งก�ำลังตั้งครรภ์ เกิดเจ็บป่วยเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพ.แพทย์ได้ตรวจและให้โจทก์รับประทานยาเพื่อเปิดปากมดลูก หลังจากนั้นโจทก์เกิดอาการข้างเคียง ระคายเคืองตามผิวหนังทั่วร่างกายและภายในดวงตา นัยน์ตาพร่ามัว ขาดสมรรถภาพในการมองเห็นโจทก์ไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดแพทย์บอกว่าแพ้ยากระจกตาข้างซ้าย ไม่สามารถรักษาให้มองเห็นได้ชัดเจนตามปกติ เนื่องจากกระจกตาทะลุอันเกิดจากการแพ้ยา ต่อมาศาลชั้นต้น มีค�ำพิพากษาสรุปว่า จ�ำเลยที่๓เป็นแพทย์มีหน้าที่บ�ำบัดรักษาผู้เจ็บป่วยและขณะนั้นอยู่ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ แพทย์เวร ทราบจากพยาบาลแล้วว่าโจทก์ตั้งครรภ์ จ�ำเลยที่ ๓ ย่อมต้องเข้าใจดีว่า มีอาการผิดปกติอันควรต้อง ได้รับการตรวจและบ�ำบัดอย่างทันท่วงทีจ�ำเลยที่๓ควรจะต้องมาพบโจทก์เพื่อดูอาการและซักถามอาการของโจทก์ ด้วยตนเองและควรตรวจบันทึกผู้ป่วยก่อนสั่งยาให้แก่โจทก์เพื่อหาสาเหตุอาการผิดปกติและเพื่อทราบ รายละเอียดการตรวจรักษาโจทก์ที่ผ่านมาเพื่อจัดยาให้แก่โจทก์อย่างถูกต้อง แต่จ�ำเลยที่ ๓ มิได้กระท�ำเช่นนั้น กลับสั่งการทางโทรศัพท์แจ้งพยาบาลให้ยาแก่โจทก์ทันทีและเมื่อโจทก์ผิดปกติขึ้นมาอีก จ�ำเลยที่ ๓ ยังสั่งการ ให้พยาบาลให้ยาชนิดเดิมแก่โจทก์อีกอันเป็นการบ�ำบัดรักษาโจทก์โดยอาศัยแต่เพียงข้อมูลที่จ�ำเลยที่๓ได้รับแจ้ง จากพยาบาลประการเดียว เมื่อโจทก์มีอาการชักและเกร็ง ตามร่างกาย จ�ำเลยที่ ๓ ไม่มาดูอาการโจทก์เพื่อแก้ไข ทันทีกลับปล่อยให้ระยะเวลาล่วงเลยไปประมาณ ๓ ถึง ๔ ชั่วโมง ก่อนพ้นหน้าที่แพทย์เวรในวันนั้น จ�ำเลยที่ ๓ จึงไปดูอาการโจทก์ปรากฎว่าอาการผิดปกติของโจทก์ก�ำเริบแล้วแม้โจทก์จะให้ความยินยอมในการรักษาพยาบาล แต่ในการรักษาพยาบาล จ�ำเลยที่ ๓ เป็นผู้มีวิชาชีพจักต้องใช้ความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งจะอ้างเหตุที่มี ค�ำยินยอมของโจทก์เพื่อมิให้ตนพ้นความรับผิดไม่ได้ พฤติการณ์ของจ�ำเลยที่ ๓ ดังกล่าวเป็นการปล่อยปละ ละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ของตน เป็นการกระท�ำโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง พิพากษาให้จ�ำเลยที่ ๑ ช�ำระเงินจ�ำนวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี ตั้งแต่วันฟ้อง จนกว่าจะช�ำระเสร็จ แก่โจทก์ โจทก์และจ�ำเลยอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค ๒ พิพากษาเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ สรุปได้ว่า การตรวจและวินิจฉัยโรค จ�ำเป็นที่จะต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ซึ่งประกอบวิชาชีพเวชกรรมเกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบ�ำบัดโรคซึ่งมีความรู้ความช�ำนาญเฉพาะโดยตรงและจะต้องเป็นการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วยจากการสังเกตอาการ โดยตัวแพทย์เอง จากกรณีที่เกิดขึ้นโจทก์ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาพยาบาล ขณะที่จ�ำเลยที่ ๓ ปฏิบัติหน้าที่แพทย์เวร ซึ่งไม่ปรากฎว่ามีเหตุสุดวิสัยที่โจทก์ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากการสังเกตอาการ โดยตัวของแพทย์เองโดยตรง การสั่งการของจ�ำเลยที่ ๓ ในการรักษาตามอาการที่ได้รับการรายงานทางโทรศัพท์ จากพยาบาล จึงเป็นการกระท�ำที่เกิดจากการประมาทเลินเล่อของจ�ำเลยที่ ๓ พิพากษายืน จ�ำเลยฎีกา ต่อมาศาลฎีกาพิพากษาสรุปว่า การตรวจและวินิจฉัยโรคของแพทย์ว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไร พยาธิสภาพอยู่ที่ไหน และอยู่ในระยะใดเพื่อน�ำไปสู่การรักษาได้ถูกต้อง ในขั้นตอนนี้แพทย์จักต้องใช้ความระมัดระวังตามวิสัยและ พฤติการณ์มิให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ เพราะอาจน�ำมาซึ่งอันตรายที่จะเกิดแก่ร่างกายหรือชีวิตของผู้ป่วย ในขั้นตอนการรักษาที่ต่อเนื่องกัน เมื่อทางพิจารณาได้ความว่า จ�ำเลยที่ ๓ มิได้ดูอาการของโจทก์ตั้งแต่แรกรับ การรักษาที่โรงพยาบาล พ. ด้วยตนเอง แต่วินิจฉัยโรคและสั่งการรักษาอาการของโจทก์ตามที่ได้รับรายงาน ทางโทรศัพท์จากพยาบาลแทนโดยไม่ได้ตรวจสอบประวัติการรักษาของโจทก์ด้วยตนเอง แม้จ�ำเลยที่ ๓ เ
  • 10. 8 จะสอบถามอาการและประวัติการรักษาของโจทก์จากพยาบาลก่อนที่พยาบาลจะฉีดยาให้แก่โจทก์ เพื่อท�ำการรักษาก็ตาม ก็หาใช่วิสัยของบุคคลผู้มีวิชาชีพเป็นแพทย์พึงกระท�ำไม่ ทั้งห้องแพทย์เวรกับห้องฉุกเฉิน ของโจทก์อยู่ห่างกันเพียง ๒๐ เมตร ตามพฤติการณ์ไม่ปรากฎว่ามีเหตุสุดวิสัยอันท�ำให้จ�ำเลยที่ ๓ ไม่สามารถ มาตรวจวินิจฉัยอาการของโจทก์ด้วยตนเองได้แต่อย่างใด ถือได้ว่าจ�ำเลยที่ ๓ ประมาทเลินเล่อ เมื่อพยาบาลได้ ฉีดยาบริคานิลให้แก่โจทก์ตามที่จ�ำเลยที่ ๓ สั่งการ หลังจากนั้นโจทก์มีอาการแพ้ยาอย่างรุนแรงโดยไม่ปรากฏว่า โจทก์มีอาการเช่นว่านั้นมาก่อน อาการแพ้ยาของโจทก์ดังกล่าวจึงเป็นผลโดยตรงจากการกระท�ำของจ�ำเลยที่ ๓ ท�ำโจทก์เสียหายอันเป็นการละเมิดต่อโจทก์ ส�ำหรับความยินยอมที่โจทก์ให้จ�ำเลยที่ ๓ ท�ำการรักษาดังกล่าวแม้จะเป็นการแสดงออกให้จ�ำเลยที่ ๓ กระท�ำต่อร่างกายโจทก์เพื่อการรักษาได้ก็ตาม หากการรักษานั้นไม่ได้เป็นมาตรฐานแห่งวิชาชีพแพทย์ก่อให้ เกิดความเสียหายซึ่งเป็นผลโดยตรงจากความประมาทเลินเล่อของจ�ำเลยที่ ๓ อันเป็นการละเมิดต่อโจทก์ จ�ำเลยที่ ๓ ต้องรับผิดต่อโจทก์ พิพากษายืน ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งสองให้เป็นพับ เรื่องนี้ประเด็นส�ำคัญที่ศาลน�ำมาเป็นเหตุผลในการวินิจฉัยความผิดคือการไม่มาดูผู้ป่วยและการสั่งการรักษา ทางโทรศัพท์ซึ่งเป็นสาระส�ำคัญจึงฝากแพทย์พยาบาลและเจ้าหน้าที่พิจารณาค�ำพิพากษาคดีนี้เป็นอุทาหรณ์และ ถือเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป
  • 12. 10
  • 14. 12
  • 16. 14
  • 18. 16
  • 20. 18
  • 22. 20
  • 24. 22
  • 26. 24
  • 28. 26
  • 29. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 27 “ท�ำไมถึงท�ำกับฉันได้” นการรักษาพยาบาลมีความเสี่ยงที่จะเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ได้เสมอแม้ว่าจะได้ใช้ความระมัดระวัง อย่างเต็มที่แล้ว บางครั้งความตั้งใจในการท�ำงานก็อาจช่วยลดความเสี่ยงลงได้บ้าง ในทางคดีบางครั้ง ความเห็นของศาลอาจไม่ตรงกับความเห็นของสภาวิชาชีพ โดยศาลจะใช้ดุลยพินิจพิจารณาจาก พยานหลักฐานต่างๆ โดยเฉพาะประวัติผู้ป่วยหรือเวชระเบียน ถือเป็นหลักฐานส�ำคัญมากในคดีที่จะแสดงถึง กระบวนการขั้นตอนและวิธีการรักษาพยาบาล มีคดีที่น่าสนใจเพราะศาลเห็นไม่ตรงกับสภาวิชาชีพ คือ คดีนี้โจทก์ฟ้องว่า โจทก์มีโรคประจ�ำตัวเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์และรักษากับนายแพทย์ธ. โรงพยาบาล ป. ต่อมาเมื่อประมาณเดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๔ นายแพทย์ ธ. เจาะเอาเนื้อเยื่อในคอไปตรวจ แล้วแจ้งว่า ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ และผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อที่ไม่พึงประสงค์ออกเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ หลังผ่าตัด ๑ เดือน เสียงของโจทก์แหบแห้งไม่มีเสียงเหมือนคนปกติทั่วไป นายแพทย์ ธ. แจ้งว่าจะมีเสียง เป็นปกติภายใน ๒ เดือน หลังจากผ่าตัด ๒ เดือนเสียงโจทก์ยังแหบแห้งเหมือนเดิมและยังมีอาการแทรกซ้อน เวลาพูดนานประมาณ ๑ นาที จะมีอาการชาตามตัว เวียนศีรษะ เสียงจะขาดหายไปเป็นช่วง ๆ ไม่สามารถ ควบคุมสระและพยัญชนะ นายแพทย์ อ. แพทย์เฉพาะทางของโรงพยาบาล ป. แจ้งว่าเส้นประสาทเสียง ถูกตัดขาด เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ นายแพทย์ อ. ส่งโจทก์ไปรักษากับนายแพทย์ ว. ที่โรงพยาบาล ร. ได้มีการผ่าตัดอีกครั้งหนึ่ง หลังผ่าตัดครั้งที่ ๒ เสียงของโจทก์ไม่ดีขึ้นและนายแพทย์ ว. แจ้งว่า สายเสียง ถูกตัดขาดไม่สามารถกลับมาใช้เสียงตามปกติได้ แต่เสียงจะดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช้เวลา ๓ – ๔ ปี แต่เวลาผ่านไป ๓ – ๔ ปี เสียงของโจทก์แหบแห้งลงกว่าเดิม จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๔๙ โจทก์แน่ใจว่านายแพทย์ ธ. ผ่าตัดด้วยความประมาทเลินเล่อท�ำให้เส้นสายเสียงถูกตัดขาดจนท�ำให้เสียงแหบแห้งไม่สามารถใช้เสียงตามปกติได้ ต้องใช้ความอดทนอย่างมากในการเปล่งเสียงออกพูดเหนื่อยง่ายผู้ฟังไม่ได้ยินเท่าที่ควรไม่เข้าใจในสิ่งที่โจทก์พูด ท�ำให้โจทก์สูญเสียอวัยวะส�ำคัญ การกระท�ำของนายแพทย์ ธ. ซึ่งเป็นแพทย์ทดลองงานยังไม่มีความเชี่ยวชาญ เท่าที่ควร แต่โรงพยาบาลก็อนุญาตให้ผ่าตัดท�ำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ขอให้ชดใช้เงินจ�ำนวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี จ�ำเลยต่อสู้ว่า แพทย์ได้บอกถึงภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นว่าอาจมีอาการเสียงแหบ แต่มีโอกาสน้อย และผ่าตัดด้วยความระมัดระวังตามขั้นตอนและวิธีการ ของการแพทย์และมาตรฐานวิชาชีพแพทย์โดยไม่ได้ตัดเส้นประสาทเสียงของโจทก์ แต่ที่เสียงของโจทก์แหบแห้ง เป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ จากการผ่าตัด เพราะเส้นประสาทเสียงอยู่ติดกับต่อมไทรอยด์และเกิดการ กระทบกระเทือนในการผ่าตัดได้ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว วินิจฉัยในประเด็นส�ำคัญ ๓ ประเด็น คือ ๑. ฟ้องของโจทก์แจ้งชัดหรือไม่ เห็นว่านายแพทย์ ธ. ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ด้วยความประมาทเลินเล่อ แล้วท�ำให้สายเสียงขาดไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ จึงเป็นฟ้องที่แจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและค�ำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่เป็นหลักแห่งข้อหาแล้ว ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม ๒. ฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่ เห็นว่า แม้นายแพทย์ ว. ผู้ผ่าตัดครั้งที่ ๒ จะบอกว่าสายเสียงถูกตัดขาด ไม่สามารถกลับใช้ได้เป็นปกติเช่นเดิม แต่ยังบอกอีกว่า การใช้เสียงจะดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยใช้เวลา ๓ – ๔ ปี จากค�ำ ชี้แนะดังกล่าวย่อมท�ำให้โจทก์เข้าใจได้ว่าการใช้เสียงของโจทก์อาจเป็นปกติได้แต่ใช้เวลานานจึงฟังไม่ได้ว่าโจทก์ รู้ว่าอาการเสียงแหบแห้งของโจทก์ไม่สามารถกลับมาดีดังเดิมได้และยังถือไม่ได้ว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดตั้งแต่วันที่ นายแพทย์ ว. บอก ฟ้องโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ ใ
  • 30. 28 ๓. เสียงโจทก์แหบแห้งเพราะความประมาทเลินเล่อของแพทย์ผู้ผ่าตัดหรือไม่ เห็นว่า นายแพทย์ ช. ผู้เชี่ยวชาญด้าน โสต ศอ นาสิก เบิกความว่าเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อกล่องเสียงซึ่งควบคุมสายเสียง ให้เคลื่อนไหวและมีเสียงดังอยู่ใต้ต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างและเกือบชิดกับต่อมไทรอยด์ จะมีเส้นเลือดที่ไปเลี้ยง ต่อมไทรอยด์คั่นอยู่และมีเนื้อเยื่ออย่างอื่นคลุมเส้นประสาทเสียงอยู่บ้างเท่านั้น ซึ่งสภาพการตั้งอยู่ของ เส้นประสาทเสียงดังกล่าวแพทย์ผู้ผ่าตัดซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ด้านศัลยกรรมโดยเฉพาะจะต้องทราบ เป็นอย่างดี และต้องใช้ความระมัดระวังมากเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้อุปกรณ์ที่ใช้ผ่าตัดไปตัดเส้นประสาทเสียง จนขาด และแพทย์ผู้ผ่าตัดสามารถใช้ความระมัดระวังได้ไม่ยากนัก โดยก่อนผ่าตัดต่อมไทรอยด์ต้องค้นหา เส้นประสาทเสียงให้พบแล้วแยกเส้นประสาทเสียงออกเสียก่อนเลาะเนื้อเยื่อผูกและตัดเส้นเลือดที่ไปเลี้ยง ต่อมไทรอยด์ การที่เส้นประสาทเสียงด้านขวาของโจทก์ถูกตัดขาด ทั้ง ๆ ที่ต่อมไทรอยด์ไม่ได้บวมโตมากนักและ ไม่ยุ่งยากต่อการผ่าตัดมากเช่นนี้ เชื่อว่าแพทย์ผู้ผ่าตัดไม่ได้ด�ำเนินการตามขั้นตอนดังกล่าวให้ครบถ้วนด้วยความ ระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้อุปกรณ์ที่ใช้ผ่าตัดไปตัดเส้นเสียง ทั้ง ๆ ที่สามารถใช้ความระมัดระวังเช่นนั้นได้ จึงเป็นการรักษาที่ไม่ได้มาตรฐานของการประกอบวิชาชีพแพทย์ ถือว่าแพทย์ผู้ผ่าตัดกระท�ำการด้วยความ ประมาทเลินเล่อท�ำให้เส้นประสาทเสียงด้านขวาของโจทก์ถูกตัดขาดและเป็นเหตุให้เสียงแหบแห้ง แต่เมื่อพิเคราะห์ถึงอาการที่เกิดขึ้นจากการใช้เสียงและความดังของเสียง ขณะโจทก์เบิกความเป็น พยานแล้ว แม้เสียงของโจทก์จะแหบแห้งไปบ้างแต่ไม่มากนัก และไม่ปรากฏอาการอย่างอื่นชัดแจ้งจากการ ใช้เสียง จึงก�ำหนดค่าเสียหายให้เป็นเงินจ�ำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำเลยอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาคพิจารณาในประเด็นว่า นายแพทย์ ธ. ประมาทเลอเล่อหรือไม่ โดยศาลเห็นว่า การที่จะ วินิจฉัยว่าการกระท�ำของนายแพทย์ ธ. ละเมิดต่อโจทก์หรือไม่ จ�ำต้องวินิจฉัยก่อนว่าการผ่าตัดรักษาอาการ เจ็บป่วยของโจทก์ นายแพทย์ ธ. ได้กระท�ำการรักษาโดยถูกต้องตามขั้นตอน วิธีการของแพทย์ผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรมทั่วไปหรือไม่ เห็นว่านายแพทย์ ธ. และโจทก์เบิกความตรงกันว่า หลังผ่าตัดโจทก์ทราบจาก นายแพทย์ ธ. เพียงว่า อาการเสียงแหบเกิดจากเส้นประสาทเสียงบอบช�้ำ โดยอาการจะค่อย ๆ ดีขึ้น แต่ปรากฏ ข้อเท็จจริงว่า หลังจากนั้นนายแพทย์ อ. ซึ่งรักษาต่อมาวินิจฉัยว่า อาการเสียงแหบเกิดจากเส้นประสาทเสียง ของโจทก์ถูกตัดขาดแล้วส่งตัวโจทก์ไปรักษาต่อที่โรงพยาบาล ร. ซึ่งแพทย์ผ่าตัดใส่ซิลิโคนไว้ที่เส้นเสียง
  • 31. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 29 ที่เป็นอัมพาตจากการที่เส้นเสียงถูกตัดขาด โดยไม่ปรากฏว่าก่อนที่โจทก์จะได้รับการผ่าตัดในครั้งหลัง โจทก์ เคยผ่าตัดต่อมไทรอยด์ครั้งอื่นอีกแต่อย่างใด จึงไม่มีข้อต้องสงสัยเลยว่าการที่เส้นประสาทเสียงของโจทก์ ถูกตัดขาดนั้น เป็นเพราะการผ่าตัดโดยนายแพทย์ ธ. ประกอบกับในเวชระเบียน ระบุเพียงว่าลงมีดตามร่องแนว ผิวหนังของคอตอนล่าง ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ซีกขวาเย็บปิดผิวหนัง และปริมาณการเสียเลือด ซึ่งนายแพทย์ ช. ผู้เชี่ยวชาญ เห็นว่าไม่ได้บันทึกรายละเอียดของการผ่าตัดและไม่ได้ระบุถึงเส้นประสาทเสียงหรือสายเสียง ตรงกับค�ำชี้แจงของนายแพทย์ ธ. ที่ยอมรับว่าการบันทึกการผ่าตัดของตนไม่ละเอียดเพราะเชื่อว่าการผ่าตัด ไม่มีปัญหาใด ๆ ซึ่งขัดแย้งกับข้อเท็จจริงที่ว่า เส้นประสาทเสียงของโจทก์ถูกตัดขาดระหว่างการผ่าตัด แต่กลับอ�ำพรางไม่บันทึกข้อเท็จจริงดังกล่าวให้ปรากฏ จึงฟังได้ว่านายแพทย์ ธ. ผ่าตัดโดยไม่ได้ใช้ ความระมัดระวังตามขั้นตอนและวิธีอันเป็นมาตรฐานวิชาชีพทางการแพทย์ แม้ว่าค�ำเบิกความของนายแพทย์ ช. ผู้เชี่ยวชาญและนายแพทย์ ธ. ประกอบกับความเห็นของราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทยและ ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทยจะระบุว่าอาการเสียงแหบอันเกิดจากการบาดเจ็บของเส้นประสาทเสียง หลังการผ่าตัดต่อมไทรอยด์ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้แม้จะท�ำการผ่าตัดอย่างระมัดระวังแล้วก็ตาม แต่ย่อมไม่อาจรวมถึงกรณีอาการเสียงแหบจากการที่เส้นประสาทเสียงถูกตัดขาด ซึ่งตามขั้นตอนวิธีการทางการ แพทย์ดังที่จ�ำเลยน�ำสืบมาฟังได้ว่ามีข้อปฏิบัติในการผ่าตัดโดยความระมัดระวังเพื่อป้องกันมิให้เส้นประสาทเสียง ถูกตัดขาดจึงแตกต่างจากกรณีภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดที่อาจเกิดขึ้นได้แม้กระท�ำโดยความระมัดระวังแล้ว ดังกล่าวที่จ�ำเลยจะอ้างเป็นเหตุสุดวิสัย จ�ำเลยน�ำสืบตามภาระการพิสูจน์ไม่ได้ จึงต้องรับผิดในผลละเมิด ของนายแพทย์ ธ. พิพากษายืน จ�ำเลยฎีกา ศาลฎีกาไม่รับฎีกาเนื่องจากเรื่องนี้ไม่เป็นสาระที่จะรับไว้พิจารณา กรณีนี้โจทก์ร้องเรียนแพทยสภาในเรื่องจริยธรรมด้วย ปรากฏว่า ในชั้นคณะอนุกรรมการจริยธรรม มีความเห็นว่าคดีมีมูล โดยเห็นว่ากรณีดังกล่าวมีหลักฐานชัดเจนว่าในเวชระเบียนบันทึกการรักษาผู้ร้องว่า นายแพทย์ ธ. ซึ่งได้รับวุฒิบัตรสาขาศัลยศาสตร์ ไม่ได้ท�ำการผ่าตัดด้วยความระมัดระวังท�ำให้เส้นประสาทเสียง ของผู้ร้องถูกตัดขาดและภายหลังการผ่าตัดยังไม่ได้เอาใจใส่ผู้ร้องในการให้การดูแลรักษาแต่อย่างใด แต่ในชั้น คณะอนุกรรมการสอบสวนมีความเห็นของราชวิทยาลัยโสตศอนาสิกแพทย์แห่งประเทศไทยว่าการเกิดอัมพาต ของสายเสียงหลังการผ่าตัดไทรอยด์ซึ่งท�ำให้มีอาการเสียงแหบนั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ คณะอนุกรรมการสอบสวนจึงเห็นด้วยกับราชวิทยาลัย ฯ และมีการบอกกล่าวชี้แจงให้ผู้ร้องทราบแล้วด้วย การดูแลรักษาผู้ป่วยของนายแพทย์ ธ. เป็นไปตามมาตรฐานที่ดีที่สุดตามข้อบังคับ ฯ แล้ว แพทยสภามีมติให้ ยกข้อกล่าวหา นอกจากนี้ คณะกรรมการสอบความรับผิดทางละเมิดมีความเห็นว่า กรณีนี้เป็นเหตุสุดวิสัย โดยมีความเห็นสอดคล้องกับราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิก แพทย์แห่งประเทศไทย คดีนี้มีข้อสังเกต ดังนี้ ๑. ศาลเชื่อตามเหตุผลของคณะอนุกรรมการจริยธรรม และไม่เห็นด้วยกับมติของแพทยสภา ๒. ประเด็นส�ำคัญอย่างหนึ่งคือ การเขียนเวชระเบียนที่นายแพทย์ ธ. เองยอมรับว่าเขียนไม่ละเอียด ท�ำให้ เกิดช่องว่างอันเป็นสาเหตุที่ท�ำให้การอธิบายด้วยค�ำพูดไม่น่าเชื่อถือ การเขียนเวชระเบียนจึงเป็นเรื่องส�ำคัญมาก ๓.ประเด็นที่ศาลยกมาเป็นหลักในการพิจารณาเสมอคือการต้องท�ำตามขั้นตอนและวิธีการตามมาตรฐาน วิชาชีพ จะอ้างเหตุสุดวิสัยก็ต้องพิสูจน์ให้ได้ ศาลเห็นว่าเส้นเสียงถูกตัดขาดไม่ใช่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะศาลอุทธรณ์ภาคเห็นว่านายแพทย์ ธ. ทราบว่าผ่าตัดถูกเส้นเสียงขาดแล้วปกปิดอ�ำพรางความจริงไว้ ๔. ศาลมีอ�ำนาจตามกฎหมายในการพิจารณาคดี ไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อผู้เชี่ยวชาญอย่างองค์กรวิชาชีพก็ได้
  • 32. 30
  • 34. 32
  • 36. 34
  • 38. 36
  • 40. 38
  • 42. 40
  • 44. 42
  • 46. 44
  • 48. 46
  • 50. 48 “ความหวังครั้งสุดท้าย” ารตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่สามีภรรยาทุกคู่ต่างคาดหวัง บางรายไม่สามารถตั้งครรภ์โดยธรรมชาติได้ ก็ต้องพึ่งพาเทคนิควิทยาการสมัยใหม่ท�ำเด็กหลอดแก้วหรือท�ำกิฟท์เพื่อให้ได้บุตรมาสืบสกุล พ่อแม่ต่างดูแลถนอมครรภ์มาอย่างดี มาพบแพทย์ตามนัดเสมอแต่ตอนมาคลอดกลับพบ เหตุการณ์ไม่คาดฝัน เช่น คลอดยาก คลอดแล้วทารกพิการ คลอดแล้วแม่เสียชีวิตหรือลูกเสียชีวิตหรือ เสียชีวิตทั้งคู่ เป็นต้น เหตุการณ์ดังกล่าวผู้เกี่ยวข้อง คือ คุณพ่อ คุณตาคุณยาย คุณปู่ คุณย่าหรือญาติพี่น้อง เกิดอาการรับไม่ได้จนต้องมีการแจ้งความร้องทุกข์หรือฟ้องร้องคดีกัน ขณะนี้ยังเถียงกันอยู่ว่าสตรีมีครรภ์ถือว่า เป็นผู้ป่วยหรือไม่เพราะมีบางท่านบอกว่า ไม่เป็นเพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไรเพียงแต่มาเพื่อคลอดเด็กเท่านั้น แต่บางท่านบอกว่าถือว่าเป็นผู้ป่วยเพราะไม่เป็นปกติธรรมดาทั่วไปมีเด็กอยู่ในท้องต้องมารับการรักษาท�ำคลอด แตกต่างจากมนุษย์ธรรมดาทั่วไปเรื่องที่จะเล่าให้ฟังต่อไปนี้ก็เป็นเรื่องที่เป็นปัญหามาจนถึงปัจจุบันอาจเป็นเพราะ ส่วนราชการหรือโรงพยาบาลสื่อสารไม่ชัดเจนในหลายประเด็นเช่นพยาบาลสามารถท�ำคลอดในรายที่คลอดปกติได้ ไม่จ�ำต้องให้แพทย์เป็นผู้ท�ำคลอดเว้นแต่จะเป็นกรณีพิเศษ เป็นต้น เริ่มเลยดีกว่า เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๓๙ นาง ก. ได้ยื่นฟ้องนายแพทย์ ส. ที่ ๑ นาง ด. ที่ ๒ นาง ร. ที่ ๓ เป็นจ�ำเลยในข้อหาละเมิด, เรียกค่าเสียหาย เป็นเงิน จ�ำนวน ๒๑๕,๐๐๐บาทพร้อมดอกเบี้ยโดยฟ้องว่าเมื่อวันที่๒๔ตุลาคม๒๕๓๘โจทก์เจ็บครรภ์จึงไปที่โรงพยาบาลท ซึ่งจ�ำเลยที่ ๑ เป็นผู้อ�ำนวยการและเป็นแพทย์เวร เพื่อให้จ�ำเลยที่ ๑ ท�ำคลอดแต่ไม่พบจ�ำเลยที่ ๑ จ�ำเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นพยาบาลเทคนิค และจ�ำเลยที่ ๓ เป็นผู้ช่วยได้ช่วยกันกดหน้าท้องของโจทก์อย่างแรง หลายครั้งเพื่อให้ทารกในครรภ์คลอด ต่อมาจ�ำเลยที่ ๑ ใช้เครื่องท�ำคลอดสุญญากาศเพื่อดูดทารกทาง ช่องคลอด แต่เครื่องท�ำคลอดสุญญากาศใช้การไม่ได้ โจทก์ถูกส่งไปโรงพยาบาลแม่และเด็ก น. แพทย์ตรวจ พบว่ามดลูกของโจทก์แตกและทารกในครรภ์ไม่มีชีวิตเพราะถูกกด จึงผ่าตัดมดลูกและเอาทารกในครรภ์ออก แล้วรักษาพยาบาลเพื่อช่วยชีวิตโจทก์ ทั้งนี้เนื่องจาก จ�ำเลยที่ ๑ ไม่ท�ำคลอดตามความสามารถและละเลย ต่อหน้าที่ ปล่อยให้จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ท�ำคลอดโจทก์ ทั้งที่ไม่มีสิทธิกระท�ำศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จ�ำเลยที่ ๑ และจ�ำเลยที่ ๒ ได้ใช้ความระมัดระวังตามวิสัยผู้มีความรู้ความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพแพทย์ และพยาบาลแล้ว อีกทั้งยังฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ได้ปล่อยปละละเลยการตั้งครรภ์ของโจทก์ ก่อนจ�ำเลยที่ ๑ จะเข้ามาในห้องคลอด ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวจ�ำเลยที่ ๒ ได้เอาใจใส่ดูแลโจทก์อย่างใกล้ชิดตามมาตรฐาน วิชาชีพแพทย์และพยาบาลและมีสิทธิท�ำครรภ์ของโจทก์ได้ในกรณีคลอดอย่างปกติ เมื่อโจทก์ไม่สามารถ คลอดได้ภายใน ๑ ชั่วโมง นับแต่เวลามดลูกเปิด ๑๐ เซนติเมตร จ�ำเลยที่ ๒ ได้รายงานให้จ�ำเลยที่ ๑ ทราบ การที่จ�ำเลยที่๑เห็นว่าการที่โจทก์มีปัญหาการเบ่งที่ไม่เห็นศีรษะทารกจากปากช่องคลอดจึงใช้เครื่องดูดสุญญากาศ ช่วยการคลอดกรณีนี้ถือว่าจ�ำเลยที่๑ตัดสินใจด้วยความระมัดระวังทางวิชาชีพของตนและเมื่อเห็นว่าไม่สามารถ รักษาโจทก์ได้ จึงส่งมายังโรงพยาบาลแม่และเด็ก ซึ่งมีแผนกเฉพาะอันเป็นการปฏิบัติการตามขั้นตอนแล้ว ตามพฤติการณ์เช่นนี้ไม่อาจถือได้ว่าจ�ำเลยที่๑และจ�ำเลยที่๒ละเลยต่อหน้าที่ของตนอันก่อให้เกิดความเสียหาย แก่โจทก์ การที่ทารกในครรภ์โจทก์ตายและโจทก์ต้องถูกผ่าตัดมดลูก ถือไม่ได้ว่าเป็นผลโดยตรงจากการท�ำคลอด ของจ�ำเลยทั้งสามกรณีฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยทั้งสามกระท�ำละเมิดต่อโจทก์พิพากษายกฟ้องค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับ โจทก์ยื่นอุทธรณ์เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๔ ซึ่งศาลอุทธรณ์พิพากษาเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ พิพากษายืนค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับโจทก์ยื่นฏีกาและศาลฎีกาพิจารณาเมื่อวันที่๒๔ตุลาคม๒๕๓๙ข้อเท็จจริง เบื้องต้นว่าโจทก์มีครรภ์ขณะมีอายุ๔๓ปีฝากครรภ์ไว้กับโรงพยาบาลท.ซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจ�ำอ�ำเภอจ�ำเลยที่๑ ก
  • 51. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 49 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลและเป็นแพทย์ผู้ช�ำนาญพิเศษแผนกกุมารเวชศาสตร์จ�ำเลยที่๒เป็นพยาบาลเทคนิค จ�ำเลยที่ ๓ เป็นลูกจ้างต�ำแหน่งผู้ช่วยเหลือคนไข้ เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๓๘ โรงพยาบาล ท. รับโจทก์ เป็นคนไข้คลอด จ�ำเลยที่ ๑ เป็นแพทย์เวร จ�ำเลยที่ ๒ เป็นพยาบาลดูแลระหว่างโจทก์นอนรอเตรียมคลอด เมื่อโจทก์มีอาการเจ็บครรภ์ จึงย้ายโจทก์เข้าห้องคลอด จ�ำเลยที่ ๒ สั่งให้จ�ำเลยที่ ๓ มาช่วยเหลือ จนกระทั่ง ปากมดลูกโจทก์เปิดหมดแล้ว แต่โจทก์ยังคลอดไม่ได้ จ�ำเลยที่ ๑ ได้เข้ามาดูแลและมีการใช้เครื่องดูดสุญญากาศ เพื่อช่วยการคลอดแต่ไม่ส�ำเร็จ จึงส่งตัวโจทก์ไปยังโรงพยาบาลแม่และเด็ก แพทย์ได้ท�ำการรักษาโดยการผ่าตัด พบว่า มดลูกแตกในบริเวณส่วนล่างเสียเลือดในช่องท้อง ทารกตายในครรภ์ จึงได้ท�ำการตัดมดลูกและผ่าตัดน�ำ ทารกออกจากครรภ์เพื่อช่วยชีวิตโจทก์ ประเด็นที่ ๑ จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ใช้มือกดท้องโจทก์อย่างแรงจนมดลูกแตกหรือไม่ ประเด็นนี้ จากค�ำเบิกความของพยาน จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ ไม่ได้ใช้มือกดท้องโจทก์จนกระทั่ง มดลูกแตก แต่เป็นการใช้มือคลึงเพื่อช่วยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวในการเร่งคลอด เมื่อคนไข้อยากเบ่งให้ จ�ำเลยที่ ๓ ช่วยคลึง ๒ – ๓ ครั้ง ในขณะที่จ�ำเลยที่ ๒ ใช้มือเปิดทางคลอดให้กว้างเพื่อคลอดสะดวก ผู้ที่จบหลักสูตรพยาบาลต้องได้รับการฝึกฝนมาแล้ว ส่วนจ�ำเลยที่ ๓ ก่อนเกิดเหตุได้ผ่านการฝึกอบรมการใช้ มือคลึงคนไข้คลอดของโรงพยาบาลแล้ว ประเด็นนี้น่าเชื่อว่าอาจเป็นความเข้าใจของโจทก์เองว่าจ�ำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ใช้มือคลึงหน้าท้องโจทก์เป็นการกดท้อง จึงรับฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๒ ที่ ๓ กดท้องโจทก์ และจ�ำเลยที่ ๓ มิได้มีส่วนร่วมในการท�ำคลอดโจทก์โดยตรง เป็นเพียงการปฏิบัติตามค�ำสั่งของจ�ำเลยที่ ๒
  • 52. 50 ประเด็นที่ ๒ จ�ำเลยที่ ๑ เป็นแพทย์ จ�ำเลยที่ ๒ เป็นพยาบาลใช้ความมระมัดระวังเพียงพอแก่วิชาชีพ ของตน จนเป็นการละเมิดต่อโจทก์หรือไม่ ประเด็นนี้ จ�ำเลยที่ ๑ เบิกความว่า การคลอดลูกง่ายหรือยากนั้น มดลูกมีส่วนส�ำคัญ การหดตัวของ มดลูกจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับกล้ามเนื้อมดลูก หมายความว่า กล้ามเนื้อมดลูกดี การบีบรัดก็จะดีไปด้วย เด็กจะ คลอดง่าย กรณีของโจทก์ ซึ่งเคยมีบุตรมาแล้ว ๒ คน ที่ไม่สามารถคลอดเองได้ เข้าใจว่าอาจเป็นเพราะ กล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี และการที่หญิงมีครรภ์อายุต�่ำกว่า ๑๕ ปี หรือเกินกว่า ๓๕ ปี ถือเป็นการตั้งครรภ์ที่เสี่ยง กรณีโจทก์อายุ ๔๓ ปี จะมีอัตราเสี่ยงต่อทารกในครรภ์เนื่องจากมดลูกไม่ค่อยดี ท�ำงานได้น้อยลงหรือมดลูก ไม่แข็งแรงรกอาจมีปัญหาท�ำงานไม่ดีจะเป็นอันตรายต่อเด็กและการที่โจทก์ครรภ์เกินก�ำหนดประมาณ๓สัปดาห์ จะมีผลต่อตัวเด็กคือรกจะเริ่มเสื่อมสภาพ ท�ำให้เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลายาวนาน และในขณะท�ำคลอด มีปัญหาด้วยอาจท�ำให้เด็กเสียชีวิตได้ และการให้ยาเร่งคลอดของแพทย์เพื่อช่วยการคลอดของโจทก์ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ซึ่งเป็นไปตามต�ำราสูติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีนายแพทย์ ว. ผู้เชี่ยวชาญสาขาสูตินรีเวช เบิกความว่า เมื่อดูตามรายงานของ โรงพยาบาล ท. เห็นว่า แพทย์ผู้ท�ำการรักษาได้ท�ำการวิเคราะห์แล้วและ มีความเห็นว่า เด็กน่าจะคลอดได้ โดยใช้เครื่องดูดเนื่องจากขณะนั้นเด็กคลอดยาก ซึ่งเครื่องดูดสุญญากาศ เป็นเครื่องมือรักษาตามวิชาการแพทย์อย่างหนึ่ง ตามสภาพแพทย์ท�ำการรักษาได้พยายามช่วยเหลือแล้ว ไม่ได้ปล่อยปละละเลย แต่มีอุปสรรคในการใช้เครื่องมือเนื่องจากได้พยายามดูดตัวเด็ก ถึง ๓ ครั้ง และในที่สุด ไม่สามารถคลอดเด็กออกมาได้จึงได้ส่งตัวผู้ป่วยมาที่ โรงพยาบาลแม่และเด็ก ซึ่งมีแผนกเฉพาะทางอันเป็น การปฏิบัติตามหลักวิชาการว่า เมื่อไม่สามารถท�ำการรักษาได้แล้วต้องส่งให้โรงพยาบาลที่มีความสามารถหรือ เฉพาะทางเป็นผู้ดูแล การที่แพทย์ใช้เครื่องดูดนั้นเป็นการช่วยโจทก์ในการคลอดและเป็นการช่วยชีวิตเด็กด้วย
  • 53. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 51 หากแพทย์ไม่ท�ำการใช้เครื่องดูดทารกจะถือว่าเป็นการปล่อยปละละเลย ซึ่งตามบันทึกแพทย์ผู้ท�ำการคลอด ได้ท�ำการตามวิชาการของหลักวิชาการทางการแพทย์ครบถ้วนแล้ว ศาลเห็นว่าจ�ำเลยที่ ๑ และ ที่ ๒ ได้ใช้ ความระมัดระวังตามปกติวิสัยของผู้มีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพแพทย์และพยาบาลแล้ว ไม่ได้ละเลยหน้าที่ของตนอันก่อให้เกิดผลเสียหายแก่โจทก์ ดังนั้น การที่ทารกในครรภ์โจทก์ตายและโจทก์ต้องถูก ผ่าตัดมดลูกนั้น ถือไม่ได้ว่าเป็นผลโดยตรงจากการท�ำคลอดของจ�ำเลยทั้งสาม พิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ค�ำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ภาค พิจารณาแล้วเห็นว่า พยานหลักฐานของโจทก์ มีน�้ำหนักน้อย กว่าพยานของจ�ำเลย ข้อเท็จจริงยังฟังไม่ได้ว่า จ�ำเลยที่ ๒ และจ�ำเลยที่ ๓ กดหน้าท้องโจทก์อย่างแรง ท�ำให้มดลูก โจทก์แตก พิพากษายืน โจทก์ฎีกา ศาลฎีกาพิจารณาในประเด็นที่ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ไม่ดูแลเครื่องมือท�ำคลอดสุญญากาศให้อยู่ในสภาพดี พร้อมที่จะท�ำงานได้ทันทีนั้น เห็นว่า เครื่องมือท�ำคลอดสุญญากาศเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ย่อมไม่อาจ คาดเดาได้ว่าจะช�ำรุดหรือใช้งานได้เมื่อใด ไม่ปรากฏว่าเครื่องมือดังกล่าวช�ำรุดมาก่อนและจ�ำเลยที่ ๑ ละเลย ไม่จัดให้มีการซ่อมแซม ทั้งเมื่อ จ�ำเลยที่ ๑ ให้ไปน�ำเครื่องมืออีกเครื่องหนึ่งจากห้องผ่าตัดมาใช้ก็ไม่สามารถ ดึงศีรษะทารกออกมาจากครรภ์โจทก์ได้เช่นกัน จึงไม่อาจรับฟังได้ว่า จ�ำเลยที่ ๑ ละเลยไม่ดูแลเครื่องมือแพทย์ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานดังโจทก์อ้าง ส�ำหรับจ�ำเลยที่ ๒ นั้นเห็นว่าส�ำเร็จการศึกษาจนได้รับประกาศนียบัตร การพยาบาลและผดุงครรภ์ และได้รับใบอนุญาตให้ประกอบโรคศิลปะ จึงเป็นผู้มีความรู้และมีความสามารถ ในการท�ำคลอดตามสมควรและย่อมรู้ว่าการกระท�ำใดจะเป็นอันตรายต่อคนไข้ที่มาคลอด ส�ำหรับจ�ำเลยที่ ๓ ได้ช่วยท�ำคลอดโจทก์ตามค�ำขอ และกระท�ำต่อหน้าจ�ำเลยที่ ๒ เชื่อว่าจ�ำเลยที่ ๒ และ ที่ ๓ มิได้กระท�ำต่อโจทก์ ผิดแผกไปจากแนวทางปฏิบัติที่จ�ำเลยที่ ๒ ท�ำคลอดแก่คนไข้รายอื่น ทั้งยังมีข้อเท็จจริงด้วยว่าระหว่างจ�ำเลยที่ ๒ ท�ำคลอดแก่โจทก์ มีนาง ว. คนไข้อีกคนเข้ามาท�ำคลอดในห้องเดียวกับโจทก์ เบิกความว่าเห็นจ�ำเลยที่ ๒ และ ที่ ๓ ใช้มือคล�ำบริเวณหน้าท้องโจทก์เพื่อกระตุ้นให้โจทก์คลอดมิได้ใช้มือกด และไม่ได้ยินเสียงโจทก์ร้องห้าม หรือร้องด้วยความเจ็บปวดแต่อย่างใด นาง ว. เป็นคนกลางไม่รู้จักฝ่ายใดมาก่อน ค�ำเบิกความจึงมีน�้ำหนัก ข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจ�ำเลยที่ ๒ และที่ ๓ ใช้ก�ำลังกดท้องของโจทก์อย่างรุนแรงเป็นเหตุให้มดลูกของโจทก์แตก จึงมิได้กระท�ำละเมิดต่อโจทก์ พิพากษายืน ข้อสังเกต การสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วยเป็นสิ่งจ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่ง การสื่อสารที่ดีนั้น ท�ำให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่บุคลากรทางการแพทย์ได้กระท�ำต่อผู้ป่วย และจะเป็นการป้องกัน เรื่องร้องเรียนหรือการฟ้องร้องเป็นคดีกันได้เมื่อเกิดเหตุไม่พึงประสงค์หรือเกิดความเสียหายจากการรักษาพยาบาล หากบุคลากรทางการแพทย์ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลและผู้ป่วยเข้าใจข้อมูลดังกล่าวแล้วปัญหาต่างๆ ก็จะไม่เกิดขึ้น หรือหากเกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขปัญหานั้นได้โดยง่าย อย่างเช่นกรณีตามค�ำพิพากษาคดีดังกล่าว พยาบาลสามารถท�ำคลอดในรายที่เป็นปกติได้ไม่จ�ำเป็นต้องให้ แพทย์ท�ำคลอดให้ เว้นแต่จะเป็นกรณีพิเศษ แต่พยาบาลไม่ได้อธิบายให้ผู้ป่วยทราบและเข้าใจถึงข้อมูลดังกล่าว ว่าพยาบาลมีสิทธิท�ำคลอดได้ ซึ่งผู้ป่วยไม่สามารถทราบได้ว่าพยาบาลมีสิทธิท�ำคลอด เมื่อความเสียหายเกิดขึ้น ลูกของผู้ป่วยตายและผู้ป่วยมดลูกแตกต้องผ่าตัดมดลูกออกจนไม่สามารถมีลูกได้อีกซึ่งการมีลูกนั้นเป็นความหวัง ของพ่อแม่ทุกคน และเป็นความหวังของผู้ป่วยรายนี้ด้วย จึงเกิดการฟ้องร้องเป็นคดีขึ้น เพราะผู้ป่วยเข้าใจผิด ว่าพยาบาลท�ำการรักษาผิดพลาด ดังนั้น การสื่อสารจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่ง
  • 54. 52
  • 56. 54
  • 58. 56
  • 60. 58
  • 62. 60
  • 64. 62
  • 66. 64
  • 68. 66
  • 69. รวมค�ำพิพากษาคดีทางการแพทย์ 67 ค “ช้า ช้า อาจจะไม่ได้พร้าเล่มงาม” ดีที่จะน�ำมาเล่าให้ฟังในวันนี้เป็นเรื่องที่แพทย์ พยาบาลควรศึกษาให้ดีเพราะมีประเด็นส�ำคัญ ที่ศาลได้วินิจฉัยไว้อย่างน่าสนใจแต่ตรงกันข้ามกับรายงานการสอบสวนความรับผิดทางละเมิด หากมีการสอบสวนทางจรรยาบรรณก็ไม่แน่ว่าอาจมีความผิดทางจรรยาบรรณวิชาชีพได้ นอกจากนี้ น่าเป็นห่วงว่าจะมีการไล่เบี้ยด้วย เริ่มเรื่องเลยดีกว่า เรื่องนี้เกิดขั้นที่จังหวัดใหญ่แห่งหนึ่งในภาคเหนือ ข้อเท็จจริง (ของศาล) มีว่า เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ด.ญ. (โจทก์) ได้รับอุบัติเหตุ ทางรถยนต์เป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บถูกส่งตัวไปรักษาที่โรงพยาบาลฝ.(ประจ�ำอ�ำเภอ)แพทย์เอกซเรย์ขาข้างซ้าย ของเด็กที่ได้รับบาดเจ็บพบว่า มีกระดูกหักสองจุดไม่สามารถรักษาที่โรงพยาบาล ฝ. ได้จึงส่งตัวเด็กไปยัง โรงพยาบาล ท. (โรงพยาบาลทั่วไป) ไปถึงเวลาประมาณ ๑๒.๔๕ น. โรงพยาบาล ท. รับเด็กไว้รักษาที่หอผู้ป่วย ศัลยกรรมกระดูกและข้อ ต่อมาในวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๘.๓๐ น. นายแพทย์ ศ. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ เจ้าของไข้มาตรวจดูอาการของเด็กในครั้งแรกให้พยาบาลน�ำเครื่องดึงกระดูก แบบถ่วงน�้ำหนักด้วยถุงทรายมาติดแล้วดึงขาข้างซ้ายที่หัก ต่อมาวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๘.๓๐ ถึง ๑๐.๐๐ น. นายแพทย์ ศ. ส่งเด็กไปรักษาต่อที่โรงพยาบาล ม. เด็กถูกส่งตัวไปเมื่อใดไม่ทราบชัดแต่ไปถึง โรงพยาบาล ม. เวลา ๑๓.๓๐ น. โดยนายแพทย์ ก. แพทย์ประจ�ำรพ. ม. ได้รับแจ้งจาก รพ. ท. ด้วยว่า มีเหตุสงสัยบริเวณจุดที่กระดูกหักน่าจะได้รับบาดเจ็บ จึงท�ำการผ่าตัดบริเวณที่กระดูกหักเข้าไปกดทับเส้นเลือด พบเส้นเลือดบริเวณหน้าแข้งซ้ายมีลักษณะฟกช�้ำมีลิ่มเลือดอุดตันเส้นเลือด กล้ามเนื้อบริเวณขามีสีคล�้ำ ไม่มีการขยับแสดงว่ากล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวขาดเลือดมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง เมื่อท�ำการผ่าตัด ต่อเส้นเลือดเพื่อทดลองว่ากล้ามเนื้อสามารถกลับมาท�ำงานได้หรือไม่ แต่เมื่อต่อเส้นเลือดแล้วกล้ามเนื้อบริเวณ ดังกล่าวไม่ท�ำงานและยังคล�ำชีพจรบริเวณหลังเท้าซ้ายไม่ได้ จึงท�ำการตัดขาข้างซ้ายของเด็กบริเวณเหนือหัวเข่า แม่ของเด็กและญาติไม่พอใจมากเพราะเห็นว่า นายแพทย์ ศ. ละเลยไม่เอาใจใส่ดูแลเด็กเป็นเหตุให้ต้องถูกตัดขา จึงฟ้องศาลเรียกค่าเสียหาย ๘,๔๓๑,๐๐๐ บาท คดีนี้มีประเด็นที่น่าสนใจ ๓ ประเด็น คือ ๑. ประเด็นไม่มาดูผู้ป่วย มีข้อเท็จจริงว่า เมื่อเด็กมาถึงโรงพยาบาล ท. เวลา ๑๒.๔๕ น. แพทย์เวรตรวจ และโทรศัพท์ปรึกษานายแพทย์ ศ. เมื่อนายแพทย์ ศ. ให้รับเด็กไว้แพทย์เวรสั่งงดอาหารและน�้ำเตรียมผ่าตัดเวลา ๑๕.๐๐ น. ต่อมาได้รับแจ้งว่านายแพทย์ ศ. ไม่ว่างติดธุระต้องเลื่อนการผ่าตัดเป็นเวลา ๒๐.๐๐ น. เมื่อถึงเวลา พยาบาลให้รับประทานอาหาร ดื่มน�้ำและทานยาแก้ปวด โดยแจ้งว่าแพทย์ติดธุระไม่เข้ามาต้องเลื่อนการผ่าตัด ออกไป ต่อมาวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๙ นาฬิกา นายแพทย์ ศ. มาดูอาการเป็นครั้งแรก แจ้งว่าขาข้างซ้าย ที่หักจะท�ำการผ่าตัดเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องรอให้อาการบวมยุบก่อน จากนั้นพยาบาลน�ำเครื่องดึงกระดูกแบบ ถ่วงน�้ำหนักด้วยถุงทรายมาติดตั้งโดยยึดและดึงที่ปลายขาที่หัก แพทย์ไม่ได้อยู่ดูเลย ประเด็นนี้ฝ่ายโจทก์ เห็นว่า แพทย์ละทิ้งหน้าที่ ไม่มาตรวจวินิจฉัยแล้วยังให้รอผ่าตัดด้วยความเจ็บปวด อดข้าว อดน�้ำ (พยาบาล บอกว่าเป็นวันหยุดหมอไม่อยู่โรงพยาบาล) เป็นเวลานานหลายชั่วโมง จากการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทาง ละเมิด คณะกรรมการเห็นว่าการที่นายแพทย์ ศ. แพทย์เจ้าของไข้ไม่มาดูผู้ป่วยตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๓.๐๐ น. จนถึง ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๔๕ น. รวมเวลาประมาณ ๒๑ ชั่วโมง มีส่วนขาดความ ระมัดระวังอยู่บ้าง ๒.ประเด็นว่ามีการเฝ้าระวังภาวะคอมพาทเมนท์ซินโดรมหรือไม่จากการสอบสวนความรับผิดทางละเมิด คณะกรรมการเห็นว่ามีการเฝ้าระวังภาวะคอมพาทเมนท์ซินโดรม โดยมีหลักฐานคือ บันทึกการพยาบาล