SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
โครงงาน ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน)
ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพ
ปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน
เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลงและในปัจจุบันปัญหา
ยาเสพติดเป็นปัญหาอันดับต้นๆของประเทศที่จะต้องรับการแก้ไข
เป็นปัญหาที่รื้อรังมานานซึ่งการป้องกันและแก้ปัญหานั้นไม่
สามารถที่จะกวาดล้างยาเสพติดให้หมดไปได้ ยาเสพติดมีทั่วทุก
ภูมิภาคในประเทศไทยโดยเฉพาะแหล่งชุมชนแออัดไม่ว่าจะเป็น
แถบตะเข็บชายแดนซึ่งยาเสพติดหลายๆประเภทมักถูกลักลอบเข้า
มาจาหน่ายในประเทศไทย ยาเสพติดในประเทศไทยมีมากมาย
หลายชนิดซึ่งทั้งก่อผลเสียกับผู้เสพแล้วยังส่งผลร้ายแก่ผู้อื่นทั้ง
ทางตรงและทางอ้อมส่งผลเสียสร้างความเสียหาย ทาให้ผู้อื่น
เดือดร้อนตั้งแต่ครอบครัว สังคม และประเทศชาติเป็นการทาลาย
อนาคตของเด็ก เยาวชนหรือบุคคลอันควรเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่
สาคัญในการพัฒนาประเทศ
หากยาเสพติดมีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวันก็จะยิ่งทวีคูณปัญหาให้เกิดขึ้น การใช้สารเสพติดในวัยรุ่นปัญหายา
เสพติดในวัยรุ่นนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว การเรียน ความรัก
สิ่งแวดล้อม แบบอย่างในสังคม หรือแม้แต่ความอยากรู้อยากลองและความคึกคะนองในวัยรุ่น จากปัจจัย
เหล่านี้ครอบครัวหรือผู้ปกครองจึงมีส่วนอย่างยิ่งที่จะคอยดูแลลูกหลานให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้
การรับทราบปัญหาการใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นให้เร็วที่สุดก็เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการดูแลรักษาและ
ป้ องกันการกลับมาใช้ยาเสพติดซ้าเป็นอย่างมากวัยรุ่นเป็นช่วงวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่มีโอกาสติดยาเสพติดได้
มาก ทางป้ องกันและแก้ไขที่สาคัญก็คือตัววัยรุ่นเองจะต้องรู้จักป้ องกันตนเอง โดยไม่ทดลองเสพยาเสพติด
ทุกชนิด ถัดมาก็คือบุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะพ่อแม่จะต้องให้ความรักความอบอุ่นและความเข้าใจใน
วัยรุ่นอย่างถูกวิธี จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้มาทาโครงงานเพื่อเผยแพร่
ความรู้แก่ผู้ที่มาศึกษาและหวังว่าจะเป็นเกราะป้ องกันไม่ให้วัยรุ่นหลงทางไปติดยาเสพติดได้
1.เพื่อเป็นสื่อการศึกษาให้
ความรู้แก่ผู้ที่สนใจจะศึกษา
เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดใน
วัยรุ่นปัจจุบัน
2.เพื่อให้วัยรุ่นที่ศึกษาตระหนัก
ถึงโทษและปัญหาต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ประเภทของยาเสพติด
จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท
1. ประเภทกดประสาท
ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท
เครื่องดื่มมึนเมา ทุกชนิด รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินนอร์ แล็กเกอร์ น้ามันเบนซิน
กาว เป็นต้น
อาการ มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง
อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
2. ประเภทกระตุ้นประสาท
ได้แก่ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน
อาการ มักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิตสับส
นหวาดระแวงบางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่งหรือทาในสิ่งที่คนปกติไม่กล้าทา
เช่น ทาร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น
3. ประเภทหลอนประสาท
ได้แก่ แอลเอสดี และเห็ดขี้ควาย เป็นต้น
อาการ ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่อง หูแว่ว
ได้ยินเสียงประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว
ควบคุมตนเองไม่ได้ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต
4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน
คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกัน
อาการผู้เสพติดมักมีอาการหวาดระแวงความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา
หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
สร้างโครงงานเป็นรูปเล่ม โดยใช้โปรแกรม Microsoft word
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ไม่ว่าใครก็ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากยาเสพ
ติดอาจนาไปสู่ปัญหาอื่น ๆ ได้มากมาย ทั้งการเรียน การทางาน การใช้ชีวิต
ปัญหาด้านสุขภาพ หรือแม้แต่การก่ออาชญากรรม จากผลลัพธ์เหล่านี้แสดงให้
เห็นว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวผู้เสพหรือครอบครัวเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากยาเสพติด
แต่รวมถึงคนในสังคมและประเทศชาติด้วย
ขอบเขตโครงงานและทฤษฎี
ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตาม
สภาวะการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง จากระบบ
รายงาน บสต. ของศูนย์อานวยการป้ องกันและปราบปรามกรมสุขภาพจิต พบว่า ผู้เข้ารับการ
บาบัดรักษายาเสพติดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556-2558 จานวน 156,884 คน 98,421 คน
และ 55,683 คน ตามลาดับ โดยเป็นผู้เข้ารับการบาบัดรักษาในหน่วยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต
จานวน 3,975 คน 4,071 คน และ 3,912 คน ตามลาดับ จากสถิติการเข้ารับการบาบัดรักษา
แม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลง แต่กลับพบว่าผู้เข้ารับบาบัดรักษาเป็นเยาวชนอายุระหว่าง 15-24 ปี
มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50
ทาไมคนจึงเสพสารเสพติด???
1.ตนเอง อยากรู้ อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ไม่มีความรู้เรื่องสารเสพติด ประสบ
ความล้มเหลวในชีวิต หรือเกิดจากการเจ็บป่วย
- อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไปและไม่คิดว่าตนจะติดสารเสพ
ติด จึงไปทาการทดลองใช้ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดสารเสพติดก็
อาจประมาทไปใช้อีก จนในที่สุดก็ติดสารเสพติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลองใช้สารเสพติดบางชนิด เช่น เฮโรอีน แม้จะ
เสพเพียงครั้งเดียว ก็อาจทาให้ติดได้
- ถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่างๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนได้กินเข้าไปนั้น เป็น
ยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง หรือเป็นอะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนา ผลสุดท้าย
กลายเป็นผู้ติดสารเสพติด
2.ครอบครัว เช่น บุคคลในครอบครัวติดสารเสพติด ครอบครัวไม่มีความอบอุ่น มีการทะเลาะเบาะแว้งกัน
การหย่าร้างและแต่งงานใหม่ของหัวหน้าครอบครัว พ่อแม่ไม่เข้าใจลูก รักลูกไม่เท่ากัน และมีการเปรียบเทียบ
ระหว่างลูกแต่ละคน หรือเปรียบเทียบกับลูกเพื่อนบ้าน
3.สิ่งแวดล้อม เช่น มีแหล่งผลิตหรือแหล่งระบาดของยาเสพติดที่สามารถเข้าถึงได้
ง่าย มีตัวอย่างจากสื่อประเภทต่างๆ สังคมไม่เปิดโอกาสหรือไม่ยอมรับผู้ติดยาได้
กลับเข้ามาสู่สังคมปกติ อาศัยอยู่ในในสิ่งสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการติดยาเสพติด
4.เศรษฐกิจ เช่น เศรษฐกิจ ตกต่า ว่างงาน มีหนี้สินล้นพ้นตัวกลุ้มใจที่เป็น
หนี้ก็ไปกินเหล้า หรือสูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการ
รายได้เพิ่มขึ้นโดยพยายามทางานหนักมากขึ้นทั้งๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมาก จึง
รับประทานสารกระตุ้นประสาทเพื่อให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เป็น
ประจาทาให้ติดสารเสพติดนั้นได้
เส้นทางการติดยา
เส้นทางการติดยาตั้งแต่เริ่มเสพจนกระทั่งติดสามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ ได้แก่
1. เริ่มทดลองอยากรู้อยากเห็น (Experiment and first-time use) เมื่อมีคนแนะนาให้ทดลอง ร่วมกับ
ความรู้สึกอยากลอง หรือใช้ gateway drug อยู่แล้ว เช่น บุหรี่ เหล้า ซึ่งสารเหล่านี้ทาให้เกิดการเรียนรู้ว่าสารทา
ให้เกิดความพึงพอใจ สบายได้มากกว่าที่เป็นอยู่ หรือเพิ่มพละกาลังในการทางาน
2. ใช้เป็นครั้งคราว (Occasional use) เกิดความติดใจในผลของสารเสพติด เรียนรู้ว่าหากใช้ปริมาณ
มากขึ้นก็จะได้รับผลความรู้สึกดีมากขึ้น เกิดความรู้สึกเป็นสุขอย่างมาก
3. ใช้สม่าเสมอใช้อย่างพร่าเพรื่อ (Regular use) หมกมุ่นกับการหาสารมาเสพ มีอาการเมายา การ
ทางาน การเรียนแย่ลง สัมพันธภาพกับคนรอบข้างไม่ดี ใช้จ่ายเงินเปลือง อาจถูกจับเนื่องจากเสพหรือค้า
4. เกิดภาวะพึ่งพาสุรายาเสพติด (Dependence) ใช้สารมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จนเกิดอาการทนต่อ
ยา (Tolerance) และภาวะถอนยา (Withdraw) หรือ มีการใช้เกินขนาด (Drug Overdose) โดยไม่ตั้งใจ
พิษภัยร้ายของสารเสพติด
ต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพ
1.ทาลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า วิตกกังวล เลื่อนลอย และเกิดภาวะผิดปกติทางจิตจากสาร
เสพติดนั้นๆพิษจากสารเสพติดทาลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย
2.เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะการควบคุมกล้ามเนื้อและระบบประสาท
บกพร่อง ทาให้ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย
ต่อครอบครัวและสังคม
1. ครอบครัวที่มีผู้ติดสารเสพติด มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดสารเสพติดในทุกด้าน เช่น การขาด
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่นาไปสู่ความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท ก่อให้เกิดความเครียด และต้องแก้ไขปัญหาบ่อยๆ
2.ทาให้สูญเสียสมรรถภาพ การทางาน ทาให้เกิดผลกระทบต่อครอบครัวทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมเสีย
ทรัพย์สินรายได้ของครอบครัวเนื่องจากต้องซื้อสารเสพติดมาเสพ และรักษาโรคที่เกิดจากสารเสพติด
3.ปัญหาสารเสพติดก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชนและสังคมเป็นวงกว้าง เนื่องจากเกรงว่า
บุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เมาสารเสพติด หรือมีความผิดปกติทางจิต
จากการใช้สารเสพติด
ต่อส่วนรวมและประเทศชาติ
เป็นภัยต่อความมั่นคง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
และวิถีชีวิตที่เป็นสุขของคนในประเทศประเทศชาติสูญเสียงบประมาณในการ
ป้ องกัน ปราบปราม บาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด
ทาไมวัยรุ่นจึงติดยา?
สาเหตุของการติดยาในวัยรุ่นมีหลายปัจจัย ได้แก่
-ธรรมชาติของวัยรุ่น ที่อยากรู้อยากลอง ชอบทาตามกลุ่มเพื่อน หากมีเพื่อนเกเร หนีเรียน ทาผิดกฎระเบียบ หรือใช้ยาเสพติด ก็อาจ
จะส่งผลให้วัยรุ่นหันไปใช้ยาเสพติดได้ง่าย
-พื้นฐานบุคลิกภาพ วัยรุ่นที่มีบุคลิกภาพอ่อนแอ หวั่นไหวง่าย ขาดความเชื่อมั่น รู้สึกว่าตนเองมีปมด้อย ขาดเป้ าหมายชีวิต เมื่อพบ
ปัญหา ความเครียด หรือความกดดัน มักปรับตัวไม่ได้ ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงใช้ยาเสพติดเพื่อหลีกหนีจากปัญหา
-ปัญหาครอบครัว ครอบครัวที่แตกแยก ขาดความรัก ความอบอุ่น ถูกทอดทิ้ง ต่างคนต่างอยู่ พ่อแม่คาดหวังในตัวลูกสูง ชอบตาหนิ
และพูดประชดประชัน บรรยากาศเหล่านี้ทาให้วัยรุ่นเบื่อหน่าย และมีโอกาสใช้ยาเสพติดได้ง่าย
-เพื่อนและสิ่งแวดล้อม
สิ่งเหล่านี้เป็นจุดอ่อนสาคัญ พ่อแม่ผู้ปกครองควรระมัดระวังและใส่ใจ เพื่อให้ลูกผ่านพ้นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิตไปได้
สาเหตุที่ยาเสพติดสัมพันธ์กับวัยรุ่นมากกว่าวัยอื่นคืออะไร
สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ควรรู้
การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ไม่ว่าใครก็ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากยาเสพติดอาจนาไปสู่ปัญหาอื่น ๆ ได้
มากมาย ทั้งการเรียน การทางาน การใช้ชีวิต ปัญหาด้านสุขภาพ หรือแม้แต่การก่ออาชญากรรม จากผลลัพธ์เหล่านี้
แสดงให้เห็นว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวผู้เสพหรือครอบครัวเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากยาเสพติด แต่รวมถึงคนในสังคม
และประเทศชาติด้วย ดังนั้น เพื่อการป้ องกันการเกิดปัญหาเหล่านี้ การหมั่นสังเกตพฤติกรรมหรือสัญญาณเตือน
การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรใส่ใจ
ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว การเรียน ความรัก
สิ่งแวดล้อม แบบอย่างในสังคม หรือแม้แต่ความอยากรู้อยากลองและความคึกคะนองในวัยรุ่น จากปัจจัยเหล่านี้
ครอบครัวหรือผู้ปกครองจึงมีส่วนอย่างยิ่งที่จะคอยดูแลลูกหลานให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้ การรับทราบ
ปัญหาการใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นให้เร็วที่สุดก็เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการดูแลรักษาและป้ องกันการกลับมาใช้ยา
เสพติดซ้าเป็นอย่างมาก
สัญญาณการใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นมีอะไรบ้าง ?
การหมั่นสังเกตและดูแลเอาใจใส่ของพ่อแม่ผู้ปกครองเป็นสิ่งสาคัญที่จะเล็งเห็น
ปัญหายาเสพติดในครอบครัว โดยสัญญาณที่อาจบ่งบอกว่าวัยรุ่นมีการใช้ยาเสพ
ติด
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและอารมณ์
ยาเสพติดนั้นสามารถส่งผลต่อร่างกายและอารมณ์ได้โดยตรง ผู้ปกครองจึงอาจเห็น
ลักษณะภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไป
- รูม่านตาขาย กลอกตาอย่างรวดเร็ว ตาแดง
- ความอยากอาหารมากเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากกว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลถึงขนาดและน้าหนักตัว
- ลมหายใจมีกลิ่นที่แปลกไปท่ายืนหรือเดินดูไม่นิ่ง ไม่มั่นคง
- มีปัญหาในการพูด อย่างพูดช้าหรือเร็วผิดปกติ หรือพูดไม่ชัดภาวะไฮเปอร์หรืออยู่ไม่นิ่ง
- เฉื่อยชา หรือกระสับส่าย
- อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย โกรธง่าย เครียด หรือเกิดภาวะซึมเศร้า
การเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรม
ยาเสพติดนั้นไม่ส่งผลแค่เพียงร่างกายและอารมณ์เท่านั้น แต่อาจรวมถึงความคิดและ
พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปด้วย ดังนี้
- มีปัญหาด้านการเรียน อย่างผลการเรียนตก หรือขาดเรียนบ่อย
- มีวิธีการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น นอนมากขึ้น เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย หรือพูดน้อยลง เป็นต้น
- นอนหลับเป็นเวลานาน
- เปลี่ยนกลุ่มเพื่อน
- มีกระดาษ หลอด ไม้ขีด ไฟแช็ก หรือมีเข็มฉีดยา ขวดยา หรือแผงอยู่ภายในห้อง โดยที่ไม่ได้มีอาการป่วย
- ไม่ค่อยพูดคุย หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน หรือครอบครัวอย่างเคย
- มีท่าทางที่น่าสงสัย มีความลับ
- ตอบสนองช้า ตัดสินใจไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
- ใช้เงินมากขึ้น โกหก หรือขโมยของ
- สวมเสื้อแขนยาวเพื่อปกปิดรอยเข็มฉีดยา หรือสวมแว่นกันแดดอยู่เสมอ
- ไม่ทาตามกฎหรือข้อตกลงของบ้าน หรือโรงเรียน
สิ่งที่ผู้ปกครองควรทาเมื่อมีการใช้ยาเสพติดในวัยรุ่น
เมื่อผู้ปกครองทราบถึงการใช้ยาเสพติดของวัยแล้ว ควรหาวิธีในการรับมืออย่างเหมาะสม โดยอาจ
ทาได้ ดังนี้
- สอบถามถึงปัญหาที่เกิด และพูดคุยอย่างใจเย็น ใช้เหตุผล และควร- ชี้ให้เห็นถึงโทษและผลกระทบ
ของยาเสพติด ใช้วิธีที่สร้างสรรค์ที่ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ
- ทาความเข้าใจในตัวเด็กวัยรุ่น เพราะถึงแม้ว่ายาเสพติดจะเป็นสิ่งที่อันตรายแต่นั่นไม่ได้หมายความว่า
เด็กคนนั้นจะต้องเป็นคนไม่ดีเสมอไป
- เข้ารับการช่วยเหลือทางการแพทย์ โน้มน้าวและให้กาลังใจเขาอยู่เสมอ
โดยอีกสิ่งที่จะช่วยในการเยียวยาการติดยาเสพติดในวัยรุ่น คือการรับทราบปัญหานี้โดยเร็วที่สุด เพื่อ
ป้ องกันปัญหาด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม ทั้งของตัวเด็กและคนรอบข้าง นอกจากนี้ การมอบความรัก
ความอบอุ่น รวมทั้งการดูแลเอาใจใส่ และการเป็นแบบอย่างที่ดีก็เป็นสิ่งสาคัญที่อาจช่วยป้ องกันการใช้ยา
เสพติดในวัยรุ่นได้
การระบาดของยาเสพติด
ในปัจจุบันมีความรุนแรงอย่างมากไปทั่วทุกพื้นที่ทั่วประเทศ และมักจะระบาดในพวกนักเรียนนิสิตนักศึกษา วัยรุ่นที่
อยู่ในช่วงที่ชอบทดลอง ดังนั้นท่านผู้ปกครองย่อมต้องเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากมาย หากบุตรหลานใน
ปกครองของท่านติดยาเสพติด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการรักษาพยาบาลให้หายจากการติดยาเสพติด ซึ่งจาเป็นต้องเสีย
ทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อม ความสงบสุขในครอบครัวที่อาจสูญเสียไป ความวิตกกังวลต่อปัญหา
ที่เกิดขึ้นจะเข้ามาทดแทน ปัญหาอื่นๆ ที่ร้ายแรงมากขึ้นก็คือ การถูกจับกุม เนื่องจากการเสพยาเสพติด หรือการมี
ยาเสพติดไว้ในครอบครอง ทาให้บุตรหลานตกเป็นผู้ต้องหา อาจต้องมีการประกันตัว มีการฟ้ องศาล หรือมีการ
จาคุกเกิดขึ้น แล้วแต่ละกรณีไป ซึ่งจะทาให้เกิดความเดือดร้อน ความโกลาหลในครอบครัว บางครอบครัวอาจไม่มี
ความพร้อมในด้านทรัพย์สินและเงินทองในการประกันตัวบุตรหลาน เช่น บางครอบครัวอาจถูกเรียกร้องเงินทองใน
การช่วยเหลือบุตรหลาน ทาให้เสียทั้งเวลาและเงินทองในการแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ และหากบุตรหลานต้องถูก
จาคุก อนาคตภายภาคหน้าจะเป็นอย่างไร? ทุกท่านคงจะทราบดี
ดังนั้น ถ้าท่านที่กาลังฟังอยู่ขณะนี้เป็น คุณพ่อ คุณแม่หรือผู้ปกครองของเด็กๆ หรือวัยรุ่นที่ต้อง
ดูแลอยู่ในบ้าน ขอได้โปรดคานึงถึงผลร้ายของยาเสพติดที่มีอย่างมหันต์ทั้งต่อร่างกายและจิตใจของ
บุตรหลานเอง รวมทั้งปัญหาตามมามากมายของท่านดังที่ได้กล่าวไว้ตั้งแต่ต้น ท่านจะต้องจัดสรร
แบ่งปันเวลาและความพยายามทั้งหลายทั้งปวง โปรดอย่าคิดว่าเรา พ่อ แม่ ผู้ปกครองต้องทางาน
หนัก เหน็ดเหนื่อย ลูกหลานควรเข้าใจ หรือคิดว่าได้ให้ทรัพย์สินเงินทองกับลูกหลานใช้จ่ายก็
เพียงพอแล้ว เป็นต้น เรื่องดังกล่าว พ่อ แม่ ผู้ปกครองควรต้องพิจารณาให้ดี เพื่อป้ องกันไม่ให้บุตร
หลานของท่านเริ่มเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นอันขาด ดังคากล่าวที่ว่า "ไม่เริ่ม..ไม่ต้องเลิก"
และขอให้ท่านได้กรุณากดรหัส 5419 เรื่องข้อสังเกตคนติดยาเสพติด เพื่อท่านจะได้รู้เท่าทันบุตร
หลานของท่าน ก่อนที่จะสายเกินไป และหากบุตรหลานติดยาเสพติดแล้ว กรุณากดรหัส 5420
เลี้ยงลูกให้เป็นคนดี มีคุณธรรมและเมตตาต่อผู้อื่น
1.ยามลูกเป็นทารก พ่อแม่ต้องเข้าใจลูกก่อน ตั้งแต่วัยลูกยังพูด ยังบอกไม่ได้ว่าเขาต้องการอะไรพ่อแม่บางคน
เก่ง1มากได้ยินแค่เสียงลูกร้อง บอกได้เลยว่าลูกต้องการการกอด หิว หนาว หรือเหงา อยากให้พ่อแม่เล่นด้วย
นั่นคือการทายใจลูก ถ้าลูกได้รับการตอบสนองตามความต้องการในจุดแรกๆ เขาจะรู้สึกและสัมผัส “ใจ” ของ
พ่อแม่ได้เช่นกัน แบบที่เรียกว่าใจถึงใจนั่นเอง เมื่อเขาโตขึ้นการสอนจะแปรไปตามอายุ เช่น ลูกวัย 3 ขวบ ที่โอ๋
น้องเวลาน้องวัย 7-8 เดือนร้องไห้ เป็นการแสดงถึงจุดตั้งต้นพรหมวิหาร 4 ของหนูน้อย 3 ขวบ แม่ควรชื่นชมว่า
ลูกใจดีนะ สงสารน้องนะ แล้วเขาจะพัฒนามากขึ้นเมื่อโต
2. พี่น้องวัยเตาะแตะย่อมทะเลาะแย่งของเล่นกันเป็นธรรมดา วัย toddler เรียกว่า วัย “IT’S MINE”อะไรๆก็
ของฉันๆๆ คือเด็กมีอัตตาแรงกล้า “ฉันฉวยได้มันเป็นของฉัน” ใครจะเอาไปไม่ได้นะแต่ถ้ามันแตกแล้ว ไม่ดีแล้ว
“มันไม่ใช่ของฉัน” ทั้งนี้เพราะวัยนี้สมองพัฒนาเร็ว แต่ความคิดไตร่ตรองด้วยเหตุผลยังตามไม่ทัน
เปรียบเสมือนมีรถยนต์เครื่องแรงป้ ายแดงแต่เบรคไม่ทางาน จึงเกิดสงครามแย่งของเล่น แย่งแม่ ฯลฯ ทุกวัน
พอโตจะดีขึ้นเอง ถ้าแม่บอกว่า “ผลัดกันเล่นก็ได้” หรือพี่ไปอ่านนิทานกับคุณแม่ ให้น้องเล่นก่อน เดี๋ยวผลัดกัน
พี่สาวอายุ 3-4 ขวบ ที่ยอมน้องแม้นตาแดงๆ ถ้าแม่กล่าวชื่นชม “หนึ่งเป็นคนดีนะลูก” พร้อมกับกอดจูบลูกไว้
เดี๋ยวน้องก็เอาอย่างยอมพี่บ้าง นี่เป็นจุดเริ่มต้นการเป็นคนดี เช่นเดียวกับเวลาที่ลูกไปโรงเรียนอนุบาลเจอเพื่อน
ไม่สบายแล้วจูงมือไปส่งคุณครู แสดงว่าเขามีเมตตาดีแล้ว รู้จักสงสารเพื่อนที่ป่วยหรือตัวเล็กกว่า
3. พูดคุยเล่าเรื่องกับลูก เช่น แม่เล่าตัวอย่างคนดีที่ช่วยเหลือผู้อื่นโดยการสละที่นั่งบนรถเมล์ให้แก่คุณยายหรือ
ตารวจหน้าโรงเรียนพาแม่และลูกข้ามถนน หรือคนขับแท็กซี่เก็บเงินคืนให้เจ้าของ เหล่านี้แม่ควรชื่นชมเขาให้ลูกฟัง
4. สอนลูกพูดคาไพเราะ มีปิยวาจา รู้จักกล่าวสวัสดี สาธุ ขอโทษเมื่อทาผิด และขอบคุณพร้อมกับพนมมือไหว้
สวยๆ และค้อมตัวลง รวมถึงนอบน้อมกับผู้ใหญ่ ลูกจะเป็นที่รักที่นิยมของผู้พบเห็นและชมว่าได้รับการอบรมที่ดี
5. ตัวอย่างดีๆ ในวิถีไทย วันสงกรานต์ วันปีใหม่ วันเกิดผู้ใหญ่ พาลูกไปกราบปู่ ย่า ตา ยาย ไปทาบุญด้วยกัน ให้
เด็กๆ ช่วยคุณแม่จัดของไปทาบุญและจัดของไปไหว้ผู้อาวุโส
6. เด็กปฐมวัยให้ช่วยงานบ้างตามวัย เขาจะมีจิตอาสาและเมตตาคนอื่นเมื่อโตขึ้น เช่น งานเล็กๆ ในบ้าน ช่วยพี่
น้อง พ่อแม่ สอนให้ลูกรักธรรมชาติด้วยการปลูกต้นไม้ ดูต้นไม้ดอกไม้เติบโต ดูนก ผีเสื้อ ตัวหนอน ดูชีวิตสัตว์
เลี้ยง ให้อาหารปลา เป็นต้น
7. เด็กหญิงเด็กชายสอนและอบรมเหมือนกัน บางคนเข้าใจผิดว่าเด็กชายอย่าไปอ่อนมาก “เดี๋ยวจะเป็นตุ๊ด” ให้
ห้าวๆ เหี้ยมๆ ไว้หน่อยจึงจะแมน ความจริงความอ่อนโยนไม่ใช่ความอ่อนแอ ความดีมีเมตตาต่อกันไม่แบ่งเพศ
เลย เพราะเราเป็นมนุษย์ร่วมโลกเดียวกันค่ะ เราไม่ชอบผู้ชายที่โหดๆ แต่ชื่นชมผู้ชายที่เป็นคนดี พูดดี จิตใจดี
ความประพฤติดี เพราะเราต้องการคนดีในสังคมเพิ่มขึ้นมากๆ
โลกจะน่าอยู่สาหรับลูกตอนนี้และในอนาคตที่มีความเจริญยิ่งทางเทคโนโลยีและสภาพสิ่งแวดล้อมที่โหดร้ายมากขึ้น
ถ้าลูกมีภูมิคุ้มกันด้านจิตใจ เป็นคนดี เขาจะมีชีวิตที่มีความสุข และช่วยเหลือผู้อื่นได้ด้วย
วิธีดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
3. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
4. จัดทาโครงงานในโปรแกรม Microsoft word
5.ออกแบบและจัดทารูปเล่ม
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต (อาจจะต้องใช้จากร้านอินเทอร์เน็ต)
3.โปรแกรม Powerpoint
งบประมาณ
-200 บาท
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้สนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อ
3. ได้นาความรู้มาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและทาให้เกิดประโยชน์
สถานที่ดาเนินการ
-ชุมชนบริเวณใกล้ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-วิชาสุขศึกษา,สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.prdmh.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E
0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E
0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0
%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95/469-
%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94-
%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%
E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-
%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%
E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87.html?fbclid=IwAR22HcmOUaYg215ZCoyzMSpT5CoCt-
np9TXXHwXIA3aVZQtSomgeJeixvRw
https://www.pobpad.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95
%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3
%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-
%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2?fbclid=IwAR1mIKaMyY9RwyQCbscoZk
FvIawpEc7W1P_Ww20hxu9gsqhUVr4aJBwstMs
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557Gtr Ping
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51mina612
 
Pat2 ก.พ. 62
Pat2 ก.พ. 62Pat2 ก.พ. 62
Pat2 ก.พ. 629GATPAT1
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนpeter dontoom
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6Nirut Uthatip
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อนmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุด
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุดWhat s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุด
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุดAj Muu
 

What's hot (20)

ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
 
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557
เฉลย Pat 1 มีนาคม 2557
 
Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51ข้อสอบ O net สังคม ปี51
ข้อสอบ O net สังคม ปี51
 
Pat2 ก.พ. 62
Pat2 ก.พ. 62Pat2 ก.พ. 62
Pat2 ก.พ. 62
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
 
Hypothermia
HypothermiaHypothermia
Hypothermia
 
กสพท. เคมี 2556
กสพท. เคมี 2556กสพท. เคมี 2556
กสพท. เคมี 2556
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
 
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุด
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุดWhat s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุด
What s the best title? การหาชื่อเรื่องที่ดีที่สุด
 

Similar to Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน

บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดPear Pimnipa
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1Pear Pimnipa
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 
เสพผิดชีวิตเปลี่ยน
เสพผิดชีวิตเปลี่ยนเสพผิดชีวิตเปลี่ยน
เสพผิดชีวิตเปลี่ยนKrissanapot Intorn
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดchueng
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดchueng
 
ผลกระทบของยาเสพติด
ผลกระทบของยาเสพติดผลกระทบของยาเสพติด
ผลกระทบของยาเสพติดwinter3223
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9tassanee chaicharoen
 

Similar to Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน (20)

บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติด
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
เสพผิดชีวิตเปลี่ยน
เสพผิดชีวิตเปลี่ยนเสพผิดชีวิตเปลี่ยน
เสพผิดชีวิตเปลี่ยน
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
5555
55555555
5555
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
ผลกระทบของยาเสพติด
ผลกระทบของยาเสพติดผลกระทบของยาเสพติด
ผลกระทบของยาเสพติด
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
 
Kronggnan kuu
Kronggnan kuuKronggnan kuu
Kronggnan kuu
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 

Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน

  • 2. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน) ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพ ปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลงและในปัจจุบันปัญหา ยาเสพติดเป็นปัญหาอันดับต้นๆของประเทศที่จะต้องรับการแก้ไข เป็นปัญหาที่รื้อรังมานานซึ่งการป้องกันและแก้ปัญหานั้นไม่ สามารถที่จะกวาดล้างยาเสพติดให้หมดไปได้ ยาเสพติดมีทั่วทุก ภูมิภาคในประเทศไทยโดยเฉพาะแหล่งชุมชนแออัดไม่ว่าจะเป็น แถบตะเข็บชายแดนซึ่งยาเสพติดหลายๆประเภทมักถูกลักลอบเข้า มาจาหน่ายในประเทศไทย ยาเสพติดในประเทศไทยมีมากมาย หลายชนิดซึ่งทั้งก่อผลเสียกับผู้เสพแล้วยังส่งผลร้ายแก่ผู้อื่นทั้ง ทางตรงและทางอ้อมส่งผลเสียสร้างความเสียหาย ทาให้ผู้อื่น เดือดร้อนตั้งแต่ครอบครัว สังคม และประเทศชาติเป็นการทาลาย อนาคตของเด็ก เยาวชนหรือบุคคลอันควรเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ สาคัญในการพัฒนาประเทศ
  • 3. หากยาเสพติดมีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวันก็จะยิ่งทวีคูณปัญหาให้เกิดขึ้น การใช้สารเสพติดในวัยรุ่นปัญหายา เสพติดในวัยรุ่นนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว การเรียน ความรัก สิ่งแวดล้อม แบบอย่างในสังคม หรือแม้แต่ความอยากรู้อยากลองและความคึกคะนองในวัยรุ่น จากปัจจัย เหล่านี้ครอบครัวหรือผู้ปกครองจึงมีส่วนอย่างยิ่งที่จะคอยดูแลลูกหลานให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้ การรับทราบปัญหาการใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นให้เร็วที่สุดก็เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการดูแลรักษาและ ป้ องกันการกลับมาใช้ยาเสพติดซ้าเป็นอย่างมากวัยรุ่นเป็นช่วงวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่มีโอกาสติดยาเสพติดได้ มาก ทางป้ องกันและแก้ไขที่สาคัญก็คือตัววัยรุ่นเองจะต้องรู้จักป้ องกันตนเอง โดยไม่ทดลองเสพยาเสพติด ทุกชนิด ถัดมาก็คือบุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะพ่อแม่จะต้องให้ความรักความอบอุ่นและความเข้าใจใน วัยรุ่นอย่างถูกวิธี จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้มาทาโครงงานเพื่อเผยแพร่ ความรู้แก่ผู้ที่มาศึกษาและหวังว่าจะเป็นเกราะป้ องกันไม่ให้วัยรุ่นหลงทางไปติดยาเสพติดได้
  • 5. ประเภทของยาเสพติด จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมา ทุกชนิด รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินนอร์ แล็กเกอร์ น้ามันเบนซิน กาว เป็นต้น อาการ มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่าน อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
  • 6. 2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน อาการ มักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิตสับส นหวาดระแวงบางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่งหรือทาในสิ่งที่คนปกติไม่กล้าทา เช่น ทาร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และเห็ดขี้ควาย เป็นต้น อาการ ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่อง หูแว่ว ได้ยินเสียงประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุมตนเองไม่ได้ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกัน อาการผู้เสพติดมักมีอาการหวาดระแวงความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้
  • 7. ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) สร้างโครงงานเป็นรูปเล่ม โดยใช้โปรแกรม Microsoft word หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ไม่ว่าใครก็ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากยาเสพ ติดอาจนาไปสู่ปัญหาอื่น ๆ ได้มากมาย ทั้งการเรียน การทางาน การใช้ชีวิต ปัญหาด้านสุขภาพ หรือแม้แต่การก่ออาชญากรรม จากผลลัพธ์เหล่านี้แสดงให้ เห็นว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวผู้เสพหรือครอบครัวเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากยาเสพติด แต่รวมถึงคนในสังคมและประเทศชาติด้วย ขอบเขตโครงงานและทฤษฎี
  • 8. ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตาม สภาวะการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง จากระบบ รายงาน บสต. ของศูนย์อานวยการป้ องกันและปราบปรามกรมสุขภาพจิต พบว่า ผู้เข้ารับการ บาบัดรักษายาเสพติดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2556-2558 จานวน 156,884 คน 98,421 คน และ 55,683 คน ตามลาดับ โดยเป็นผู้เข้ารับการบาบัดรักษาในหน่วยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จานวน 3,975 คน 4,071 คน และ 3,912 คน ตามลาดับ จากสถิติการเข้ารับการบาบัดรักษา แม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลง แต่กลับพบว่าผู้เข้ารับบาบัดรักษาเป็นเยาวชนอายุระหว่าง 15-24 ปี มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50
  • 9. ทาไมคนจึงเสพสารเสพติด??? 1.ตนเอง อยากรู้ อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ไม่มีความรู้เรื่องสารเสพติด ประสบ ความล้มเหลวในชีวิต หรือเกิดจากการเจ็บป่วย - อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไปและไม่คิดว่าตนจะติดสารเสพ ติด จึงไปทาการทดลองใช้ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดสารเสพติดก็ อาจประมาทไปใช้อีก จนในที่สุดก็ติดสารเสพติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลองใช้สารเสพติดบางชนิด เช่น เฮโรอีน แม้จะ เสพเพียงครั้งเดียว ก็อาจทาให้ติดได้ - ถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่างๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนได้กินเข้าไปนั้น เป็น ยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง หรือเป็นอะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนา ผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดสารเสพติด 2.ครอบครัว เช่น บุคคลในครอบครัวติดสารเสพติด ครอบครัวไม่มีความอบอุ่น มีการทะเลาะเบาะแว้งกัน การหย่าร้างและแต่งงานใหม่ของหัวหน้าครอบครัว พ่อแม่ไม่เข้าใจลูก รักลูกไม่เท่ากัน และมีการเปรียบเทียบ ระหว่างลูกแต่ละคน หรือเปรียบเทียบกับลูกเพื่อนบ้าน
  • 10. 3.สิ่งแวดล้อม เช่น มีแหล่งผลิตหรือแหล่งระบาดของยาเสพติดที่สามารถเข้าถึงได้ ง่าย มีตัวอย่างจากสื่อประเภทต่างๆ สังคมไม่เปิดโอกาสหรือไม่ยอมรับผู้ติดยาได้ กลับเข้ามาสู่สังคมปกติ อาศัยอยู่ในในสิ่งสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการติดยาเสพติด 4.เศรษฐกิจ เช่น เศรษฐกิจ ตกต่า ว่างงาน มีหนี้สินล้นพ้นตัวกลุ้มใจที่เป็น หนี้ก็ไปกินเหล้า หรือสูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการ รายได้เพิ่มขึ้นโดยพยายามทางานหนักมากขึ้นทั้งๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมาก จึง รับประทานสารกระตุ้นประสาทเพื่อให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เป็น ประจาทาให้ติดสารเสพติดนั้นได้
  • 11. เส้นทางการติดยา เส้นทางการติดยาตั้งแต่เริ่มเสพจนกระทั่งติดสามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ ได้แก่ 1. เริ่มทดลองอยากรู้อยากเห็น (Experiment and first-time use) เมื่อมีคนแนะนาให้ทดลอง ร่วมกับ ความรู้สึกอยากลอง หรือใช้ gateway drug อยู่แล้ว เช่น บุหรี่ เหล้า ซึ่งสารเหล่านี้ทาให้เกิดการเรียนรู้ว่าสารทา ให้เกิดความพึงพอใจ สบายได้มากกว่าที่เป็นอยู่ หรือเพิ่มพละกาลังในการทางาน 2. ใช้เป็นครั้งคราว (Occasional use) เกิดความติดใจในผลของสารเสพติด เรียนรู้ว่าหากใช้ปริมาณ มากขึ้นก็จะได้รับผลความรู้สึกดีมากขึ้น เกิดความรู้สึกเป็นสุขอย่างมาก 3. ใช้สม่าเสมอใช้อย่างพร่าเพรื่อ (Regular use) หมกมุ่นกับการหาสารมาเสพ มีอาการเมายา การ ทางาน การเรียนแย่ลง สัมพันธภาพกับคนรอบข้างไม่ดี ใช้จ่ายเงินเปลือง อาจถูกจับเนื่องจากเสพหรือค้า 4. เกิดภาวะพึ่งพาสุรายาเสพติด (Dependence) ใช้สารมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จนเกิดอาการทนต่อ ยา (Tolerance) และภาวะถอนยา (Withdraw) หรือ มีการใช้เกินขนาด (Drug Overdose) โดยไม่ตั้งใจ
  • 12. พิษภัยร้ายของสารเสพติด ต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพ 1.ทาลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า วิตกกังวล เลื่อนลอย และเกิดภาวะผิดปกติทางจิตจากสาร เสพติดนั้นๆพิษจากสารเสพติดทาลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย 2.เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะการควบคุมกล้ามเนื้อและระบบประสาท บกพร่อง ทาให้ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย ต่อครอบครัวและสังคม 1. ครอบครัวที่มีผู้ติดสารเสพติด มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดสารเสพติดในทุกด้าน เช่น การขาด ความรับผิดชอบต่อหน้าที่นาไปสู่ความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท ก่อให้เกิดความเครียด และต้องแก้ไขปัญหาบ่อยๆ 2.ทาให้สูญเสียสมรรถภาพ การทางาน ทาให้เกิดผลกระทบต่อครอบครัวทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมเสีย ทรัพย์สินรายได้ของครอบครัวเนื่องจากต้องซื้อสารเสพติดมาเสพ และรักษาโรคที่เกิดจากสารเสพติด 3.ปัญหาสารเสพติดก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชนและสังคมเป็นวงกว้าง เนื่องจากเกรงว่า บุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เมาสารเสพติด หรือมีความผิดปกติทางจิต จากการใช้สารเสพติด
  • 14. ทาไมวัยรุ่นจึงติดยา? สาเหตุของการติดยาในวัยรุ่นมีหลายปัจจัย ได้แก่ -ธรรมชาติของวัยรุ่น ที่อยากรู้อยากลอง ชอบทาตามกลุ่มเพื่อน หากมีเพื่อนเกเร หนีเรียน ทาผิดกฎระเบียบ หรือใช้ยาเสพติด ก็อาจ จะส่งผลให้วัยรุ่นหันไปใช้ยาเสพติดได้ง่าย -พื้นฐานบุคลิกภาพ วัยรุ่นที่มีบุคลิกภาพอ่อนแอ หวั่นไหวง่าย ขาดความเชื่อมั่น รู้สึกว่าตนเองมีปมด้อย ขาดเป้ าหมายชีวิต เมื่อพบ ปัญหา ความเครียด หรือความกดดัน มักปรับตัวไม่ได้ ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงใช้ยาเสพติดเพื่อหลีกหนีจากปัญหา -ปัญหาครอบครัว ครอบครัวที่แตกแยก ขาดความรัก ความอบอุ่น ถูกทอดทิ้ง ต่างคนต่างอยู่ พ่อแม่คาดหวังในตัวลูกสูง ชอบตาหนิ และพูดประชดประชัน บรรยากาศเหล่านี้ทาให้วัยรุ่นเบื่อหน่าย และมีโอกาสใช้ยาเสพติดได้ง่าย -เพื่อนและสิ่งแวดล้อม สิ่งเหล่านี้เป็นจุดอ่อนสาคัญ พ่อแม่ผู้ปกครองควรระมัดระวังและใส่ใจ เพื่อให้ลูกผ่านพ้นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิตไปได้
  • 16. สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ควรรู้ การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ไม่ว่าใครก็ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากยาเสพติดอาจนาไปสู่ปัญหาอื่น ๆ ได้ มากมาย ทั้งการเรียน การทางาน การใช้ชีวิต ปัญหาด้านสุขภาพ หรือแม้แต่การก่ออาชญากรรม จากผลลัพธ์เหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวผู้เสพหรือครอบครัวเท่านั้นที่ได้รับผลกระทบจากยาเสพติด แต่รวมถึงคนในสังคม และประเทศชาติด้วย ดังนั้น เพื่อการป้ องกันการเกิดปัญหาเหล่านี้ การหมั่นสังเกตพฤติกรรมหรือสัญญาณเตือน การใช้ยาเสพติดในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรใส่ใจ ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว การเรียน ความรัก สิ่งแวดล้อม แบบอย่างในสังคม หรือแม้แต่ความอยากรู้อยากลองและความคึกคะนองในวัยรุ่น จากปัจจัยเหล่านี้ ครอบครัวหรือผู้ปกครองจึงมีส่วนอย่างยิ่งที่จะคอยดูแลลูกหลานให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้ การรับทราบ ปัญหาการใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นให้เร็วที่สุดก็เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการดูแลรักษาและป้ องกันการกลับมาใช้ยา เสพติดซ้าเป็นอย่างมาก
  • 18. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและอารมณ์ ยาเสพติดนั้นสามารถส่งผลต่อร่างกายและอารมณ์ได้โดยตรง ผู้ปกครองจึงอาจเห็น ลักษณะภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไป - รูม่านตาขาย กลอกตาอย่างรวดเร็ว ตาแดง - ความอยากอาหารมากเพิ่มขึ้นหรือลดลงมากกว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลถึงขนาดและน้าหนักตัว - ลมหายใจมีกลิ่นที่แปลกไปท่ายืนหรือเดินดูไม่นิ่ง ไม่มั่นคง - มีปัญหาในการพูด อย่างพูดช้าหรือเร็วผิดปกติ หรือพูดไม่ชัดภาวะไฮเปอร์หรืออยู่ไม่นิ่ง - เฉื่อยชา หรือกระสับส่าย - อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย โกรธง่าย เครียด หรือเกิดภาวะซึมเศร้า
  • 19. การเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรม ยาเสพติดนั้นไม่ส่งผลแค่เพียงร่างกายและอารมณ์เท่านั้น แต่อาจรวมถึงความคิดและ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปด้วย ดังนี้ - มีปัญหาด้านการเรียน อย่างผลการเรียนตก หรือขาดเรียนบ่อย - มีวิธีการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น นอนมากขึ้น เก็บตัว ไม่ค่อยพูดคุย หรือพูดน้อยลง เป็นต้น - นอนหลับเป็นเวลานาน - เปลี่ยนกลุ่มเพื่อน - มีกระดาษ หลอด ไม้ขีด ไฟแช็ก หรือมีเข็มฉีดยา ขวดยา หรือแผงอยู่ภายในห้อง โดยที่ไม่ได้มีอาการป่วย - ไม่ค่อยพูดคุย หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อน หรือครอบครัวอย่างเคย - มีท่าทางที่น่าสงสัย มีความลับ - ตอบสนองช้า ตัดสินใจไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว - ใช้เงินมากขึ้น โกหก หรือขโมยของ - สวมเสื้อแขนยาวเพื่อปกปิดรอยเข็มฉีดยา หรือสวมแว่นกันแดดอยู่เสมอ - ไม่ทาตามกฎหรือข้อตกลงของบ้าน หรือโรงเรียน
  • 20. สิ่งที่ผู้ปกครองควรทาเมื่อมีการใช้ยาเสพติดในวัยรุ่น เมื่อผู้ปกครองทราบถึงการใช้ยาเสพติดของวัยแล้ว ควรหาวิธีในการรับมืออย่างเหมาะสม โดยอาจ ทาได้ ดังนี้ - สอบถามถึงปัญหาที่เกิด และพูดคุยอย่างใจเย็น ใช้เหตุผล และควร- ชี้ให้เห็นถึงโทษและผลกระทบ ของยาเสพติด ใช้วิธีที่สร้างสรรค์ที่ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจ - ทาความเข้าใจในตัวเด็กวัยรุ่น เพราะถึงแม้ว่ายาเสพติดจะเป็นสิ่งที่อันตรายแต่นั่นไม่ได้หมายความว่า เด็กคนนั้นจะต้องเป็นคนไม่ดีเสมอไป - เข้ารับการช่วยเหลือทางการแพทย์ โน้มน้าวและให้กาลังใจเขาอยู่เสมอ โดยอีกสิ่งที่จะช่วยในการเยียวยาการติดยาเสพติดในวัยรุ่น คือการรับทราบปัญหานี้โดยเร็วที่สุด เพื่อ ป้ องกันปัญหาด้านสุขภาพ อารมณ์ สังคม ทั้งของตัวเด็กและคนรอบข้าง นอกจากนี้ การมอบความรัก ความอบอุ่น รวมทั้งการดูแลเอาใจใส่ และการเป็นแบบอย่างที่ดีก็เป็นสิ่งสาคัญที่อาจช่วยป้ องกันการใช้ยา เสพติดในวัยรุ่นได้
  • 21. การระบาดของยาเสพติด ในปัจจุบันมีความรุนแรงอย่างมากไปทั่วทุกพื้นที่ทั่วประเทศ และมักจะระบาดในพวกนักเรียนนิสิตนักศึกษา วัยรุ่นที่ อยู่ในช่วงที่ชอบทดลอง ดังนั้นท่านผู้ปกครองย่อมต้องเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากมาย หากบุตรหลานใน ปกครองของท่านติดยาเสพติด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการรักษาพยาบาลให้หายจากการติดยาเสพติด ซึ่งจาเป็นต้องเสีย ทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อม ความสงบสุขในครอบครัวที่อาจสูญเสียไป ความวิตกกังวลต่อปัญหา ที่เกิดขึ้นจะเข้ามาทดแทน ปัญหาอื่นๆ ที่ร้ายแรงมากขึ้นก็คือ การถูกจับกุม เนื่องจากการเสพยาเสพติด หรือการมี ยาเสพติดไว้ในครอบครอง ทาให้บุตรหลานตกเป็นผู้ต้องหา อาจต้องมีการประกันตัว มีการฟ้ องศาล หรือมีการ จาคุกเกิดขึ้น แล้วแต่ละกรณีไป ซึ่งจะทาให้เกิดความเดือดร้อน ความโกลาหลในครอบครัว บางครอบครัวอาจไม่มี ความพร้อมในด้านทรัพย์สินและเงินทองในการประกันตัวบุตรหลาน เช่น บางครอบครัวอาจถูกเรียกร้องเงินทองใน การช่วยเหลือบุตรหลาน ทาให้เสียทั้งเวลาและเงินทองในการแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ และหากบุตรหลานต้องถูก จาคุก อนาคตภายภาคหน้าจะเป็นอย่างไร? ทุกท่านคงจะทราบดี
  • 22. ดังนั้น ถ้าท่านที่กาลังฟังอยู่ขณะนี้เป็น คุณพ่อ คุณแม่หรือผู้ปกครองของเด็กๆ หรือวัยรุ่นที่ต้อง ดูแลอยู่ในบ้าน ขอได้โปรดคานึงถึงผลร้ายของยาเสพติดที่มีอย่างมหันต์ทั้งต่อร่างกายและจิตใจของ บุตรหลานเอง รวมทั้งปัญหาตามมามากมายของท่านดังที่ได้กล่าวไว้ตั้งแต่ต้น ท่านจะต้องจัดสรร แบ่งปันเวลาและความพยายามทั้งหลายทั้งปวง โปรดอย่าคิดว่าเรา พ่อ แม่ ผู้ปกครองต้องทางาน หนัก เหน็ดเหนื่อย ลูกหลานควรเข้าใจ หรือคิดว่าได้ให้ทรัพย์สินเงินทองกับลูกหลานใช้จ่ายก็ เพียงพอแล้ว เป็นต้น เรื่องดังกล่าว พ่อ แม่ ผู้ปกครองควรต้องพิจารณาให้ดี เพื่อป้ องกันไม่ให้บุตร หลานของท่านเริ่มเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นอันขาด ดังคากล่าวที่ว่า "ไม่เริ่ม..ไม่ต้องเลิก" และขอให้ท่านได้กรุณากดรหัส 5419 เรื่องข้อสังเกตคนติดยาเสพติด เพื่อท่านจะได้รู้เท่าทันบุตร หลานของท่าน ก่อนที่จะสายเกินไป และหากบุตรหลานติดยาเสพติดแล้ว กรุณากดรหัส 5420
  • 23. เลี้ยงลูกให้เป็นคนดี มีคุณธรรมและเมตตาต่อผู้อื่น 1.ยามลูกเป็นทารก พ่อแม่ต้องเข้าใจลูกก่อน ตั้งแต่วัยลูกยังพูด ยังบอกไม่ได้ว่าเขาต้องการอะไรพ่อแม่บางคน เก่ง1มากได้ยินแค่เสียงลูกร้อง บอกได้เลยว่าลูกต้องการการกอด หิว หนาว หรือเหงา อยากให้พ่อแม่เล่นด้วย นั่นคือการทายใจลูก ถ้าลูกได้รับการตอบสนองตามความต้องการในจุดแรกๆ เขาจะรู้สึกและสัมผัส “ใจ” ของ พ่อแม่ได้เช่นกัน แบบที่เรียกว่าใจถึงใจนั่นเอง เมื่อเขาโตขึ้นการสอนจะแปรไปตามอายุ เช่น ลูกวัย 3 ขวบ ที่โอ๋ น้องเวลาน้องวัย 7-8 เดือนร้องไห้ เป็นการแสดงถึงจุดตั้งต้นพรหมวิหาร 4 ของหนูน้อย 3 ขวบ แม่ควรชื่นชมว่า ลูกใจดีนะ สงสารน้องนะ แล้วเขาจะพัฒนามากขึ้นเมื่อโต 2. พี่น้องวัยเตาะแตะย่อมทะเลาะแย่งของเล่นกันเป็นธรรมดา วัย toddler เรียกว่า วัย “IT’S MINE”อะไรๆก็ ของฉันๆๆ คือเด็กมีอัตตาแรงกล้า “ฉันฉวยได้มันเป็นของฉัน” ใครจะเอาไปไม่ได้นะแต่ถ้ามันแตกแล้ว ไม่ดีแล้ว “มันไม่ใช่ของฉัน” ทั้งนี้เพราะวัยนี้สมองพัฒนาเร็ว แต่ความคิดไตร่ตรองด้วยเหตุผลยังตามไม่ทัน เปรียบเสมือนมีรถยนต์เครื่องแรงป้ ายแดงแต่เบรคไม่ทางาน จึงเกิดสงครามแย่งของเล่น แย่งแม่ ฯลฯ ทุกวัน พอโตจะดีขึ้นเอง ถ้าแม่บอกว่า “ผลัดกันเล่นก็ได้” หรือพี่ไปอ่านนิทานกับคุณแม่ ให้น้องเล่นก่อน เดี๋ยวผลัดกัน พี่สาวอายุ 3-4 ขวบ ที่ยอมน้องแม้นตาแดงๆ ถ้าแม่กล่าวชื่นชม “หนึ่งเป็นคนดีนะลูก” พร้อมกับกอดจูบลูกไว้ เดี๋ยวน้องก็เอาอย่างยอมพี่บ้าง นี่เป็นจุดเริ่มต้นการเป็นคนดี เช่นเดียวกับเวลาที่ลูกไปโรงเรียนอนุบาลเจอเพื่อน ไม่สบายแล้วจูงมือไปส่งคุณครู แสดงว่าเขามีเมตตาดีแล้ว รู้จักสงสารเพื่อนที่ป่วยหรือตัวเล็กกว่า
  • 24. 3. พูดคุยเล่าเรื่องกับลูก เช่น แม่เล่าตัวอย่างคนดีที่ช่วยเหลือผู้อื่นโดยการสละที่นั่งบนรถเมล์ให้แก่คุณยายหรือ ตารวจหน้าโรงเรียนพาแม่และลูกข้ามถนน หรือคนขับแท็กซี่เก็บเงินคืนให้เจ้าของ เหล่านี้แม่ควรชื่นชมเขาให้ลูกฟัง 4. สอนลูกพูดคาไพเราะ มีปิยวาจา รู้จักกล่าวสวัสดี สาธุ ขอโทษเมื่อทาผิด และขอบคุณพร้อมกับพนมมือไหว้ สวยๆ และค้อมตัวลง รวมถึงนอบน้อมกับผู้ใหญ่ ลูกจะเป็นที่รักที่นิยมของผู้พบเห็นและชมว่าได้รับการอบรมที่ดี 5. ตัวอย่างดีๆ ในวิถีไทย วันสงกรานต์ วันปีใหม่ วันเกิดผู้ใหญ่ พาลูกไปกราบปู่ ย่า ตา ยาย ไปทาบุญด้วยกัน ให้ เด็กๆ ช่วยคุณแม่จัดของไปทาบุญและจัดของไปไหว้ผู้อาวุโส 6. เด็กปฐมวัยให้ช่วยงานบ้างตามวัย เขาจะมีจิตอาสาและเมตตาคนอื่นเมื่อโตขึ้น เช่น งานเล็กๆ ในบ้าน ช่วยพี่ น้อง พ่อแม่ สอนให้ลูกรักธรรมชาติด้วยการปลูกต้นไม้ ดูต้นไม้ดอกไม้เติบโต ดูนก ผีเสื้อ ตัวหนอน ดูชีวิตสัตว์ เลี้ยง ให้อาหารปลา เป็นต้น 7. เด็กหญิงเด็กชายสอนและอบรมเหมือนกัน บางคนเข้าใจผิดว่าเด็กชายอย่าไปอ่อนมาก “เดี๋ยวจะเป็นตุ๊ด” ให้ ห้าวๆ เหี้ยมๆ ไว้หน่อยจึงจะแมน ความจริงความอ่อนโยนไม่ใช่ความอ่อนแอ ความดีมีเมตตาต่อกันไม่แบ่งเพศ เลย เพราะเราเป็นมนุษย์ร่วมโลกเดียวกันค่ะ เราไม่ชอบผู้ชายที่โหดๆ แต่ชื่นชมผู้ชายที่เป็นคนดี พูดดี จิตใจดี ความประพฤติดี เพราะเราต้องการคนดีในสังคมเพิ่มขึ้นมากๆ โลกจะน่าอยู่สาหรับลูกตอนนี้และในอนาคตที่มีความเจริญยิ่งทางเทคโนโลยีและสภาพสิ่งแวดล้อมที่โหดร้ายมากขึ้น ถ้าลูกมีภูมิคุ้มกันด้านจิตใจ เป็นคนดี เขาจะมีชีวิตที่มีความสุข และช่วยเหลือผู้อื่นได้ด้วย
  • 25.
  • 26. วิธีดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน 3. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 4. จัดทาโครงงานในโปรแกรม Microsoft word 5.ออกแบบและจัดทารูปเล่ม
  • 28.
  • 29. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้สนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อ 3. ได้นาความรู้มาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและทาให้เกิดประโยชน์ สถานที่ดาเนินการ -ชุมชนบริเวณใกล้ๆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -วิชาสุขศึกษา,สังคมศึกษา
  • 30. แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.prdmh.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E 0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E 0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0 %B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95/469- %E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94- %E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2% E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89- %E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD% E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87.html?fbclid=IwAR22HcmOUaYg215ZCoyzMSpT5CoCt- np9TXXHwXIA3aVZQtSomgeJeixvRw https://www.pobpad.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95 %E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3 %E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99- %E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2?fbclid=IwAR1mIKaMyY9RwyQCbscoZk FvIawpEc7W1P_Ww20hxu9gsqhUVr4aJBwstMs