SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
singhapong
[ชื่อหลักสูตร]
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ
เรื่อง
ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
เสนอ
ผศ.รุ่งอรุณ รังรองรัตน์
โดย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์
รหัสนักศึกษา 11547020800106
นักศึกษาระดับปริญญาโท
สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
1
สาธารณรัฐประเทศอินโดนีเซีย
สภาพทางภูมิศาสตร์และประชากร
 อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะจานวนทั้งสิ้น 17,508
เกาะเป็นประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิคและมหาสมุทรอินเดียซึ่งอยู่ระหว่างทวีปเอเชียและออสเตรเลีย
พื้นที่ซึ่งรวมพื้นที่ในทะเลประมาณ 5.2 ล้าน ตร.กม.
 หมู่เกาะที่สาคัญของอินโดนีเซียมี 5 เกาะ คือ สุมาตรา (473,606 ตร.กม.) ชวา (132,107
ตร.กม.) ซึ่งจะมีจานวนประชากรหนาแน่นที่สุด กะลิมันตัน (539,460 ตร.กม.) สุลาเวสี (189,216 ตร.กม.)
และ ปาปัว (421,981 ตร.กม.)
 มีสภาพอากาศแบบป่าฝนเขตร้อน มี 2 ฤดูคือ ฤดูแล้ง (เม.ย. – ก.ย.) และฤดูฝน (ต.ค. –
มี.ค.) อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 21 – 33 ดีกรีเซลเซียส
 เป็นประเทศที่มี 3 เขตเวลา คือ 1. เขตตะวันตก (ชวา สุมาตรา และกะลิมันตันตะวันตก)
คือ GMT+7 หรือเท่ากับเวลาในประเทศไทย 2. เขตกลาง (กะลิมันตันตะวันออก สุราเวสี และบาหลี) คือ
GMT+8 หรือเร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 1 ชม. และ 3. เขตตะวันออก (มาลูกูและปาปัว) คือ GMT+9 หรือ
เร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 2 ชม.
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
2
 อินโดนีเซียมีจานวนประชากรประมาณ 240 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่เกาะ
ชวา ประมาณกว่าร้อยละ 60
 ประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 88 นับถือศาสนาอิสลาม สาหรับศาสนาอื่น ๆ ได้แก่
คริสต์ฮินดู และพุทธ จึงถือเป็นประเทศอิสลามที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่ไม่ได้เป็นรัฐมุสลิม
 ภาษาราชการคือ ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และภาษาพื้นเมืองอีกเป็นจานวน
มาก ได้แก่ ภาษาพื้นเมืองชวากว่า 300 ภาษา ภาษาพื้นเมือง Sundanese เป็นต้น
การเมืองการปกครอง
 อินโดนีเซียปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นเป็นผู้นาของประเทศ
(วาระการบริหารประเทศ 5 ปี และต่อได้อีก 1 วาระ) มีการแบ่งอานาจระหว่างประธานาธิบดีและสภา
ผู้แทนราษฎร และเป็นการปกครองในระบบสาธารณรัฐแบบ Unitary Republic ซึ่งมีการปกครองตนเองใน
บางพื้นที่ (provincial autonomy)
 มีการแบ่งเขตการปกครองเป็น 33จังหวัด โดยมีเขตการปกครองพิเศษใน 3เมืองคือ กรุง
จาการ์ตา เมืองยอร์กยาการ์ตา และอาเจะห์
 รัฐสภาของอินโดนีเซีย (People’sConsultative Assembly) ประกอบด้วยสมาชิกผู้แทนรวม
678 คน โดยเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (People’s Representative Council) 550 คน และเป็ น
สมาชิกสภาผู้แทนระดับภูมิภาค (Regional Representative Council) 128 คน
พัฒนาการทางวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี ประชากรกลุ่มต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และวิถีชีวิตแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชน ชาวชนบทที่อาศัยอยู่ห่างไกลจากตัวเมือง ยังยึดมั่นอยู่
กับประเพณีเดิมอยู่มาก ส่วนกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในตัวเมือง และได้รับการศึกษาแบบตะวันตก จะมีวิถีชีวิต
แตกต่างกันออกไป การแบ่งกลุ่มชนตามขนบธรรมเนียมประเพณี และพื้นที่ตั้ง
ในประเทศอินโดนีเซีย มีการกาหนดกฎหมายประเพณีในสังคม ตามความเชื่อในศาสนาซึ่ง
จะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และสืบทอดกันมานานแล้ว มีสาระที่สาคัญคือ ความผูกพันระหว่างสามีกับ
ภรรยา พ่อแม่กับลูก และพลเมืองต่อสังคมที่ตนอยู่ โดยยึดหลักการปฏิบัติที่เรียกเป็นภาษาอินโดนีเซียว่า โก
ตองโรยอง คือการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันในงานต่าง ๆ เช่น การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การแต่งงาน การ
สร้างบ้านที่อยู่อาศัย การใช้ที่ดินร่วมกัน ภายใต้ข้อตกลงและข้อแม้พิเศษ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
3
การแต่งกาย เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม การแต่งกายจึงโน้มน้าวไปตาม
ประเพณีของศาสนา
ผู้ชาย จะนุ่งโสร่งสวมเสื้อคอปิด แขนยาวสวมหมวกรูปกลมหรือหมวกหนีบทาด้วยสักหลาดสีดา
บางครั้งจะนุ่งโสร่งทับกางเกง ประมาณครึ่งตัว โดยปล่อยให้เห็นขากางเกงในกรณีที่ต้องเข้าพิธี อาจจะมีการ
เหน็บกริชด้วยปัจจุบันผู้ชายอินโดนีเซียส่วนใหญ่นิยมแต่งกายแบบสากล แต่ยังคงสวมหมวกแบบเดิม
ผู้หญิง จะใช้ผ้าไคน์ พันรอบตัว และใช้นุ่งอยู่กับบ้านเท่านั้น ผ้าไคน์จะมีลวดลายสวยงามมาก
เนื้อดีและราคาแพง ซึ่งเป็นที่นิยมเรียกกันอีกชื่อว่า ผ้าปาติค (Patik) เวลานุ่งจะต้องให้ยาวกรอมเท้า สวมเสื้อ
เรียกว่า เคบาจา (Kebaja) เป็นเสื้อที่รัดติดกับตัว แขนยาว สาหรับผู้หญิงชาวเกาะสุมาตรา นิยมสวมเสื้อ
หลวม ลาตัวยาวเกือบถึงเข่า เรียกว่า บัตยูกรุง และใช้ผ้าห่มพาดไหล่ข้างหนึ่งด้วย ผู้หญิงอินโดนีเซียไว้ผม
ยาว แล้วเกล้าเป็นมวย และใช้เครื่องประดับ เช่น พลอย หรือดอกไม้ประดับศีรษะ รองเท้าที่ใช้เดิมเป็น
รองเท้าแตะ แต่ปัจจุบันเป็นรองเท้ามีส้น และทาสี แกะสลักเป็นรูปต่าง ๆ สายคาดทาด้วยหนังทาสีเงิน หรือ
สีทอง สตรีที่นับถือศาสนาอิสลามจะใช้ผ้าคลุมศีรษะ แต่ไม่ปิดหน้า ปัจจุบันนิยมแต่งกายแบบตะวันตกมาก
ขึ้น การแต่งกายแบบดังกล่าว จะใช้ในโอกาสพิธีสาคัญ ๆ เท่านั้น
ศิลปและวรรณคดี ชาวอินเดียเป็นผู้รักศิลป และวรรณคดีมาช้านานแล้ว สังเกตได้จากลวดลาย
ของเครื่องแต่งกาย บ้านที่พักอาศัย ศาสนสถาน และนาฎศิลป์ต่าง ๆ ศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย มิได้
ยึดถือตามที่สืบทอดกันมาแต่ในอดีตเท่านั้น แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างได้พัฒนาเปลี่ยนไปตามแต่ละยุคแต่ละ
สมัย ที่มีอิทธิพลต่อประเทศอินโดนีเซีย ในขณะนั้น
ศิลปกรรมการปั้น และการแกะสลัก : การทางานแบบธรรมชาติ โดยใช้ฝีมืออย่างแท้จริง
ประดิษฐ์สิ่งต่างๆในรูปแบบแกะสลักไม้แกะสลักวัตถุโลหะเครื่องปั้นดินเผาและงานแกะสลักหินเป็นรูป
ต่างๆ แต่ส่วนใหญ่เป็นศิลปกรรมฮินดู เพราะศาสนาพราหมณ์ฮินดู เคยเข้ามามีอิทธิพลในอินโดนีเซีย นัก
แกะสลักที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่เป็นชาวบาหลี
สถาปัตยกรรม มีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพของภูมิประเทศและอิทธิพลของศาสนา แต่
ส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับประเทศต่างๆ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาคารบ้านเรือนของประชาชน โดยทั่วๆ
ไปจะใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ส่วนเทวสถานบางแห่ง เช่น สถูปโบโรพุทโธ
ซึ่งมีชื่อเสียงมากได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมของศาสนาฮินดู
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
4
นาฏศิลป์ มีรูปแบบแตกต่างกันไปเป็นสองลักษณะ เนื่องจากในอดีตอินโดนีเซียถูกฮอลันดาบีบ
บังคับให้แบ่งอาณาจักร Matanamออกเป็นสองส่วนคืออาณาจักรสมาการ์ตา (Sumakarta) และอาณาจักร
ยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) จึงทาให้นาฏศิลป์ชวามีรูปแบบแตกต่างกันออกไปดังกล่าว
แบบสมาการ์ตา(Samakarta) การแต่งกายจะใช้ผ้าแพรพาดบ่าท่วงทานองของวงมโหรีจะนุ่มนวล
ราบเรียบ มีเส้นแบ่งจังหวะน้อย
แบบยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) การแต่งกายจะใช้ผ้าแพรพันเอว ท่วงทานองของวงมโหรีจะมี
เสียงไม่นุ่มนวล เพราะมีเส้นแบ่งจังหวะมาก
ถึงแม้นาฏศิลป์ทั้งสองแบบจะแตกต่างกันไปบ้างก็ตาม แต่ก็สะท้อนปรัชญาของชวาจากท่าทาง
การเคลื่อนไหวมือ- แขน แม้กระทั่งการแสดงออกทางสีหน้า เช่น ตัวละครที่แสดงเป็นธรรมะจะหลบตาลง
ต่าเสมอ และจะร่ายราด้วยลีลาอ่อนช้อย ผสมกลมกลืนอย่างสง่างาม แสดงถึงจิตใจอ่อนโยนบริสุทธิ์ ในทาง
ตรงกันข้าม ตัวละครที่แสดงเป็นอธรรม หรือชั่วร้ายจะแสดง ลักษณะท่วงท่าวางอานาจ กลอกตาแข็งกร้าว
แสดงถึงจิตใจชั่วร้ายหยาบคาย
ปรัชญาของชวามุ่งใฝ่สันติความสงบสุข สุภาพ ถ่อมตัวในการติดต่อกับผู้อื่นเช่นเดียวกับตัวละคร
ที่แสดงเป็นฝ่ายธรรมะ
ดนตรี ในสมัยโบราณ อินโดนีเซียมีวงดนตรีพื้นเมืองมีชื่อเสียงมากเรียกว่า ตมิลาน ประกอบด้วย
เครื่องดนตรีคล้ายระนาด กลอง ฆ้อง ซอสองสาย และขลุ่ย ซึ่งนอกจากเป็นดนตรีประจาราชสานักของสุลต่าน
ต่าง ๆ บนเกาะชวาแล้ว ดนตรีดังกล่าวยังทาหน้าที่เผยแพร่ศาสนาอิสลามด้วย แต่ปัจจุบันวงดนตรีตมิลานได้
กลายเป็นวงดนตรีสาหรับการฟ้อนรา การแสดงนาฏศิลป์ และการแสดงหนังตะลุง นอกจากนี้อินโดนีเซียยัง
มีวงดนตรีอังกะลุงด้วย
ศิลปะการแสดง การมหรสพของอินโดนีเซียได้แก่ ละครและภาพยนตร์ เค้าโครงเรื่องของละคร
ที่นามาแสดงส่วนใหญ่คือเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเป็นเทพนิยายในศาสนาฮินดู ตัวละครจะแต่งกายด้วยผ้าปาติก
ไม่สวมเสื้อชั้นนอก ใช้สีทาตัวเป็นสีต่าง ๆ ประดับด้วยสร้อยสังวาลย์นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังมีการละเล่น
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
5
อีกชนิดหนึ่งเรียกว่า วายัง หรือหนังตะลุง เป็นที่นิยมกันมาก เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่เป็นนิยายเกี่ยวกับเรื่อง
สงครามในศาสนาฮินดู
วรรณคดี ในสมัยที่ศาสนาฮินดู และพุทธศาสนาได้เข้าไปเผยแพร่ในอินโดนีเซีย วรรณคดีของ
อินโดนีเซียมีความเจริญอย่างรวดเร็ว หนังสือที่มีชื่อเสียงในระยะนั้นได้แก่เรื่องเนการาเกอร์ตากามา ซึ่งเป็น
เรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความยิ่งใหญ่ และอานาจของอาณาจักรมัดยาปาหิตนอกจากนี้ยังมีหนังสือที่ได้รับ
ความนิยมกันมากอีกเรื่องหนึ่งคือ เรื่องปาราราตัน เป็นเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของกษัตริย์อินโดนีเซีย
ในสมัยนั้น เขียนเป็นภาษาชวาโบราณ
ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้แพร่เข้าไปในอินโดนีเซีย ก็ได้มีผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับคาสอนของ
ศาสนาอิสลาม และตาราหมอดูไว้หลายเล่ม โดยเขียนเป็นภาษาชวา
ประวัติศาสตร์
สมัยตกเป็ นอาณานิคมของฮอลแลนด์ ฮอลแลนด์ได้ตั้งบริษัท United Dutch East India
Company เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๕ เพื่อทาการค้า อยู่ที่หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ซึ่งนอกจากทาการค้าแล้ว ยังทา
หน้าที่แสวงหาอาณานิคมให้แก่ฮอลแลนด์ด้วย ในที่สุดได้ทาการยึดครองอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ.๒๑๖๔
และได้ขยายการปกครองออกไปทั่วประเทศ ทาให้อินโดนีเซียตกอยู่ในฐานะอาณานิคมของฮอลแลนด์
การทาสงครามต่อต้านฮอลแลนด์ได้เริ่มขึ้น เมื่อปี พ.ศ.๒๒๐๙ โดยสุลต่านฮานุดดินแห่งโกลา แต่
ประสบความล้มเหลว และต้องเซ็นสัญญายอมแพ้ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ ในปี พ.ศ.๒๒๓๓ - ๒๓๖๗ บริษัทได้
ส่งทหารเข้าควบคุมหมู่เกาะโมลุกกัส (มาลูกู) เพื่อเข้าควบคุมการค้าเครื่องเทศ
ในระยะเวลาเดียวกันได้ปรากฏมีชาวอังกฤษเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองเบวกูเลน บนฝั่งตะวันตก
ของเกาะสุมาตรา และได้มีการสร้างป้อมค่ายขึ้น ในระยะนี้ชาวอังกฤษยังไม่มีบทบาทมากนัก
ในปี พ.ศ.๒๒๘๓ ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในจาการ์ตาได้ทาการต่อต้านชาวดัตช์ เนื่องจากไม่พอใจที่ถูก
เอารัดเอาเปรียบทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในด้านอื่น ๆ ชาวอินโดนีเซียได้เข้าร่วมในการต่อต้านครั้งนี้ด้วย
แต่ไม่สามารถเอาชนะได้เป็นผลให้ชาวจีนถูกชาวดัทช์สังหารมากกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
6
การเข้าปกครองอังกฤษ ในระหว่างรัชสมัยของนโปเลียน ฝรั่งเศสได้เข้าครอบครองฮอลแลนด์
บริษัท British East Company จึงได้เข้าปกครองอินโดนีเซียแทน (พ.ศ.๒๓๕๘ - ๒๓๕๙) เมื่อนโปเลียน
สิ้นอานาจลงในปี พ.ศ.๒๓๕๘ อินโดนีเซียก็กลับไปเป็นอาณานิคมของฮอลแลนด์อีก
การปราบปรามของฮอลแลนด์ นับตั้งแต่อินโดนีเซียตกอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลแลนด์
ชาวอินโดนีเซียได้ลุกขึ้นต่อต้านการปกครองของฮอลแลนด์หลายครั้ง แต่ไม่สามารถเอาชนะได้
การเคลื่อนไหวเพื่อกอบกู้เอกราช ได้มีการจัดตั้งสมาคม Budi Utom (ความบากบั่นอันสูงส่ง) ขึ้น
ในปี พ.ศ.๒๔๕๑ ได้ร่วมกันก่อตั้งพรรคการเมืองขึ้นหลายพรรค เพื่อเป็นข้อต่อรองในการเรียกร้องเอกราช
จากฮอลแลนด์
ปี พ.ศ.๒๔๖๗ กลุ่มนักศึกษา ได้ตั้งสมาคมนักศึกษาอินโดนีเซีย โดยมี ดร.โมฮัมหมัดอัตตา เป็น
หัวหน้า ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๗๐ ดร.โมฮัมหมัดอัตตา ได้จัดตั้งองค์การสหพันธ์ โดยรวมพรรคการเมืองของ
อินโดนีเซียทั้งหมดเข้าด้วยกัน
ในปี เดียวกัน ดร.ซูการ์โน และบุคคลชั้นนาอีกหลายคนได้ร่วมกันจัดตั้งพรรคชาตินิยม
อินโดนีเซียขึ้น และใช้ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียเป็นภาษากลางในการติดต่อ ประสานงานสนับสนุน
นโยบายที่จะไม่ให้ความร่วมมือใด ๆ แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของฮอลแลนด์ การเคลื่อนไหวดังกล่าว
ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในกลุ่มเยาวชน และทาให้เกิดองค์การยุวชนขึ้นในท้องถิ่นต่าง ๆ
สมัยการยึดครองของญี่ปุ่ น ในระหว่างสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ายึดครอง
อินโดนีเซียได้ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๕ - ๒๔๘๗ กองทัพญี่ปุ่นพยายามเอาใจชาวอินโดนีเซียด้วยการปล่อย
ตัวผู้นาทางการเมืองที่ถูกทางการฮอนแลนด์คุมขังไว้
การประกาศอิสรภาพ เมื่อญี่ปุ่ นแพ้สงครามใน ปี พ.ศ.๒๔๘๘ ญี่ปุ่นได้เปิดโอกาสให้ชาว
อินโดนีเซียในการนาของ ดร.ซูการณ์โน และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา ประกาศอิสรภาพของอินโดนีเซีย เมื่อปี
พ.ศ.๒๔๘๘ พร้อมกับประกาศหลักการแห่งรัฐห้าประการ (ปัญจศีล) คือ
- เชื่อมั่นในพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว
- มวลมนุษย์แห่งอารยะ
- ชาตินิยม
- ประชาธิปไตย
- ความยุติธรรมของสังคม
อินโดนีเซียได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ และได้เลือกตั้ง ดร.ซูการ์โน
เป็นประธานาธิบดี และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา เป็นรองประธานาธิบดี
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
7
สภาพทางสังคม
ชีวิตความเป็นอยู่ ฐานะความเป็นอยู่ของประชากรมีความแตกต่างกันมาก ส่วนใหญ่มีฐานะ
ค่อนข้างยากจน หลังจากอินโดนีเซียได้ประกาศเอกราช เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ ก็ได้เริ่มพัฒนาประเทศในหลาย
ด้าน โดยตั้งหน่วยงานของรัฐขึ้นหลายแห่ง มีหน่วยงานที่สาคัญคือ กระทรวงกิจการของสังคม
อาชีพ อาชีพหลักของประชาชนอินโดนีเซียได้แก่
การเพาะปลูก ผลิตผลที่สาคัญทารายได้ให้กับประเทศได้แก่ข้าว มันสาปะหลัง ข้าวโพด มันเทศ
ยาง มะพร้าวและน้าตาล
การทาป่ าไม้ อินโดนีเซียมีพื้นที่ป่ าประมาณ ๑๑๔ ล้านเฮกตาร์ และนโยบายของรัฐบาล
สนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตไม้แปรรูป จึงเป็นอาชีพสาคัญอาชีพหนึ่งของประชาชน
การประมง แม้อินโดนีเซียจะเป็นเกาะ แต่อาชีพทางการประมงยังไม่ค่อยเจริญ ประชาชนที่มี
อาชีพประมงก็เป็นประชาชนที่อยู่ตามชายฝั่งทะเล การใช้เครื่องมือทางประมง ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ส่วน
ใหญ่เป็นการประมงขนาดย่อม
การเลี้ยงสัตว์ มีการเลี้ยงกันเกือบทุกชนิด แต่ที่นิยมกันมาก และมีปริมาณการผลิตสูงได้แก่วัว
เนื้อ วัวนม ควาย แพะและแกะ
การทาเหมืองแร่ เป็นอาชีพสาคัญของประชากร เพราะประเทศอินโดนีเซียอุดมสมบูรณ์ด้วย
ทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ
การอุตสาหกรรม อินโดนีเซียมีโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภทที่สาคัญ ๆ ได้แก่ โรงงานผลิต
อาหารสาเร็จรูป โรงงานผลิตเครื่องมือทางการเกษตร โรงงานยาสูบ โรงงานอุตสาหกรรมไม้แปรรูป
โรงงานเครื่องหนัง โรงงานปูนซีเมนต์โรงงานสร้างรถยนต์ และโรงงานสร้างเครื่องบิน
ศาสนา
ศาสนาที่เป็นที่นิยมของประชาชน ชาวอินโดนีเซียประมาณ ร้อยละ ๘๘ นับถือศาสนาอิสลาม
ทาให้อินโดนีเซีย เป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาอิสลาม มากที่สุดในโลก เนื่องจากอินโดนีเซียเป็น
ประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
8
อิทธิพลของศาสนาต่อการดาเนินชีวิต เนื่องจากอินโดนีเซียมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม จึงมีแนวทางในการดาเนินชีวิต ตามแบบฉบับของศาสนาอิสลาม ดังนี้
การครองเรือน อุดมการณ์ของศาสนาอิสลามถือว่าผู้ชายเป็นผู้นา เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นผู้
เลือกถิ่นที่อยู่เป็นผู้รับผิดชอบต่อความทุกข์สุขของครอบครัว และเป็นผู้สืบสกุล ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงห้าม
ขาดไม่ให้หญิงมุสลิมเป็นภรรยาของผู้ที่มีความเชื่อถือต่างกัน ผู้ใดฝ่าฝืนให้ถือว่าได้ลาออก หรือถูกไล่ออก
จากสังคมอิสลามแล้ว สมาชิกของสังคมอิสลาม มีสิทธิที่จะทาการประชาทัณฑ์ด้วยการเลิกคบหาสมาคม
ด้วย แต่ถ้าฝ่ายชายได้เปลี่ยนอุดมการณ์ ความเชื่อถือเดิมมาเป็นอย่างเดียว กับฝ่ายหญิงแล้วด้วยความสมัคร
ใจก่อนการสมรสกัน หญิงมุสลิมก็ทาการสมรสด้วยได้ผู้นับถือศาสนาอิสลามมีความยึดมั่นในข้อห้ามอย่าง
แน่วแน่ จนต้องนาเอาหลักจารีตประเพณี มาบังคับเป็นกฎหมาย เพื่อกาหนดสถานภาพของครอบครัว อัน
เป็นการจากัดสิทธิของสตรี จนมีการดิ้นรนเรียกร้องสิทธิเพิ่มขึ้น ทางสภาผู้แทนราษฎร
การอุปโภคและบริโภค อิสลามแนะนาให้อยู่ดีกินดี บริโภคอาหารที่มีคุณแก่ร่างกาย และสะอาด
กับจิตใจ และอุปโภคเครื่องนุ่งห่มที่ประกอบจากวัสดุที่สะอาด และรักษาให้สะอาด เตรียมพร้อมที่จะ
นมัสการต่อพระเจ้าอยู่เสมอ
ตามคัมภีร์กุรอาน อิสลาม ได้เว้นการบริโภคซากสัตว์สัตว์ที่ตายเอง เนื้อสุกร และสัตว์ทั้งหลายที่
ถูกเชือด หรือถูกประหารโดยการขออนุญาตจากผู้ที่มิใช่อัลลอห์ นอกจากนี้ยังมีสัตวซ์พาวหนะและสัตว์
เลี้ยงเช่น ลา แมว สุนัข สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ประเภทนกที่ใช้เท้าเป็นสื่อส่งอาหารใส่ปากเช่น แร้ง เหยี่ยว กา
และสัตวว์ที่บริโภคเนื้อสัตว์ด้วยยกันเช่น เสือ สิงโต
การที่ห้ามบริโภคเนื้อสัตวว์ที่ถูกฆ่า โดยผู้ที่ไม่ใช่เป็นอิสลามนั้นเนื่องมาจากสิทธิของพระเจ้า
เพราะอิสลามถือว่าพระเจ้าเป็นเจ้าชีวิต แม้สัตว์ที่ยอมให้เป็นอาหารของมนุษย์แล้วก็ตาม แต่มนุษย์จะ
บริโภคได้ก็แต่เลือดเนื้อของสัตว์เท่านั้น ส่วนชีวิตเป็นของพระเจ้า เมื่อจะเชือด หรือประหารชีวิต เพื่อนามา
เป็นอาหารจะต้องขอนุญาตจากพระเจ้าเสียก่อน นอกจากปลาและสัตวว์น้า ซึ่งโดยกฎของบสวภาวะของ
พระเจ้า เมื่อขึ้นมาอยู่บนบกมันจะตายเองด้วยดินฟ้าอกาศ ซึ่งเป็นเครื่องมือของพระเจ้า
พิธีศพ อุดมการณ์ของอิสลามถือว่า การให้เกียรติแก่ศพ ไม่ว่าเมื่อมีชีวิตอยู่ จะถือศาสนาอะไร
เป็นมารยาทอันสูงส่งที่มุสลิมทุกคนบจะถือปฏิบัติตาม การทาลายศพเป็นข้อห้ามอย่างเด็ดขาด โดยที่
อุดมการณ์ของอิสลามถือว่ามนุษย์และสรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดยพระเจ้า ร่างกายของมนุษย์จึงยตกเป็น
สิทธิของพระเจ้า เมื่อสิ้นชีวิตแล้วก็ต้องส่งยคืนไปในสวภาพเดิมและไปสู่ที่เดิม
การถือศีลอด การถือศีลอดในเดือนรอมฎอนปีละหนึ่งเดือนคือ การอดอาหาร และเครื่องดื่ม
ตลอดจนการบริโภคใด ๆ ทั้งสิ้น ระหว่างเวลาก่อนรุ่งอรุณ จนตะวันตกดิน เพื่ออบรมให้มีความอดทนต่อ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
9
ความหิวกระหาย เพื่อใให้รู้ซึ้งถึงอาการของความหิวกระหายว่าเป็นประการใด เพื่อมนุษย์ที่เกิดความหิว
กระหาย เพราะอัตคัดขัดสน ควรจะได้รับการช่วยเหลืออย่างไรและเพียงใด
การบาเพ็ญฮัจยี การไปร่วมกันประกอบพิธีฮัจยีในเมืองเมกกะห์หนึ่งครั้งในชีวิตนั้น ถือปฏิบัติ
สาหรับผู้มีกาลังทรัพย์และกาลังกายเท่านั้น เพื่อประโยชนน์ในการอบรมจิตใจ ให้นิยมความเสมอภาค
เพราะในพิธีนี้ไม่ว่าจะเป็นกษัตริย์หรือคนธรรมดาสามัญที่รวมอยู่ในพิธีจะต้องแต่งกาย และกระทาพิธีอย่าง
เดียวกันหมด
ปูชนียสถาน ปูชนียสถานในพระพุทธศาสนาได้แก่ โบโร บูเดอร์ (borobudur) อยู่ในยอร์ค
จาการ์ตา สร้างเมื่อปี พ.ศ.๘๐๐ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ฮินดู ในเกาะบาหลี และมัสยิดอัล อาซาร์
ของศานาอิสลาม ที่สร้างขึ้นภายหลังศาสนสวถานของพระพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ฮินดู
ความเชื่อของคนอินโดนีเซีย คนอินโดนีเซียเชื่อเรื่องวิญญาณ พระเจ้า บรรพบุรุษ ภูติผีปีศาจ
ดวงดาว ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งพบมากในเกาะบาหลีและเกาะต่าง ๆ ที่ความเจริญสมัยใหม่ยังเข้าไปไม่ถึง
วิวัฒนาการของการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน เคยเป็นเมืองขึ้นของประเทศ
เนเธอร์แลนด์ในสมัยนั้นเนเธอร์แลนด์จัดการศึกษาโดยแบ่งเป็น2 ระบบที่มีมาตรฐานการศึกษาต่างกัน คือ
ระบบแรก เป็นการศึกษาสาหรับชาวยุโรป และบุตรหลานของขุนนางชาวอินโดนีเซีย ซึ่งมีจานวนน้อย อีก
ระบบเป็นการศึกษาของชาวพื้นเมือง เป้าหมายของการศึกษาคือการผลิตคนระดับสูง (Social Clite) เพื่อให้
เป็นประโยชน์ แก่ระบบการเมืองและเศรษฐกิจ ตามรูปแบบของเนเธอร์แลนด์ ต่อมาจึงมีนโยบายใหม่
เรียกว่า นโยบายมนุษยธรรม (The Ethical Policy) เสนอให้จัดการศึกษาแก่ประชาชนพื้นเมืองให้กว้างขึ้น
ในปี พ.ศ.2489 ประเทศได้รับเอกราช รัฐบาลได้ปฏิรูปการศึกษาโดยมุ่งเน้นจะให้ประชากรทุกคนมีโอกาส
ได้รับการศึกษาอย่างน้อยในระดับประถมศึกษา หลักสาคัญของการศึกษาอินโดนีเซีย คือ การพัฒนา
พฤติกรรมของมนุษย์ให้เป็นผู้ยึดหลักธรรมปฏิบัติ 5 ข้อ เป็นประจา หลักธรรมดังกล่าว คือ หลัก ปัญจศีล
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
10
(Parcasils) การจัดการศึกษาขออินโดนีเซียนั้น กฤษฎีกาของประธานาธิบดี (Keputuson Presiden หรือ
PresidentialDecree)เลขที่ 34 พ.ศ.2515 กาหนดให้รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมรับผิดชอบ
ต่อการส่งเสริมการศึกษา และการฝึกอบรมทุกๆ ด้าน นอกจากนั้นยังกาหนดให้รับผิดชอบการส่งเสริม
ความชานาญในการฝึกอบรมในระดับอาชีวศึกษาให้แก่กาลังคนในองค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ และให้
ประชาชน และสถาบันการบริการแห่งชาติ (LAN) รับผิดชอบการส่งเสริมการศึกษาและการฝึกอบรม
ทั้งหมดแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายรัฐบาล นอกจากนี้การศึกษายังอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศาสนา
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตร กระทรวงการคลัง และกระทรวงกิจการสังคม
การศึกษาของอินโดนีเซียจัดระบบ 6-3-3 เหมือนของประเทศไทย โดยแบ่งเป็นการระดับ
การศึกษา ดังนี้
1. ระดับอนุบาล หรือระดับก่อนประถมศึกษา (Pre-School)
2. ระดับประถมศึกษา ( Basic School-SD)
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เซโกลาห์ เบเนงกาห์ เปอร์ดามา-SMP)
4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (เซโกลาห์ เบเนงกาห์ ลาตาส-SMA)
5. ระดับอุดมศึกษา
การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียได้เกิดขึ้นเมื่อ
อินโดนีเซียได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐพร้อมรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ.1945(พ.ศ. 2488)หลังจากนั้น
รัฐบาลก็ได้ดาเนินการปฏิรูปการศึกษา จนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเป็นแบบแผนการศึกษาของรัฐใน
ปัจจุบัน โดยพระราชปัญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2523)
ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์ทางการศึกษาของอินโดนีเซีย แทรกอยู่ในวิสัยทัศน์ของประเทศตามแนวนโยบายแห่ง
รัฐ ให้สังคมอินโดนีเซียดารงอยู่อย่างสงบสุข เป็นประชาธิปไตย มีความยุติธรรม มีความสามารถในการ
แข่งขันกับนานาชาติมีความเจริญรุ่งเรืองบนพื้นฐานเอกภาพของสาธารณรัฐอินโดนีเซียด้วยการมีส่วนร่วม
ของประชาชนที่มีความสมบูรณ์ ความสามารถพึ่งตนเอง ศรัทธาความยาเกรงต่อพระเจ้าคุณธรรม จริยธรรม
ความรักในประเทศชาติจงรักภักดีต่อกฎหมายและแผ่นดิน มีความรู้และวิทยาการมีความพากเพียรและ
ระเบียบวินัย
ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบันของอินโดนีเซีย เป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี 2003 ได้กาหนดเป้าหมาย นโยบายและแผนการดาเนินงาน ซึ่ง
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
11
ครอบคลุมการขยายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา ส่งเสริมให้ประชากรทุกคน
เข้าถึงการศึกษาทุกระบบและทุกระดับ และปรับปรุงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาตลอดเวลา ตามแผนปฏิบัติ
การแห่งชาติว่าด้วยนโยบาย “Education for All” ในค.ศ. 2002 ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับกับความต้องการ
ของสังคม และเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ใช้ชุมชนเป็นพื้นฐานโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเสมอภาคทาง
การศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจว่าคนอินโดนีเซียทุกคนไม่ว่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจน อยู่
ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับเพื่อให้บรรลุ
จุดมุ่งหมายของนโยบาย Education for All รัฐบาลได้กาหนดยุทธศาสตร์แห่งชาติไว้ดังนี้
1) การนาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา และเพิ่มงบประมาณสาหรับ
สนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2) การให้ความสาคัญกับโครงการเร่งด่วนคือ การจัดหาที่เรียนอย่างทั่วถึง และปรับปรุงคุณภาพ
การเรียนการสอน
3) การประสานความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการศึกษาทุกกลุ่มรวมถึง
เรื่องงบประมาณที่รัฐบาลท้องถิ่นกับสมาชิกชุมชนต้องเข้ามาจัดการร่วมกันยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา
ตามแนว Education for All นั้น สาธารณรัฐอินโดนีเซียเน้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานในการศึกษาในโรงเรียน
และนอกโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการจัดการศึกษา 7 ประเภท ได้แก่
1) การศึกษาทั่วไป หลักในการจัดการศึกษาทั่วไปคือ การจัดการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี
ความรู้ทั่วๆ ไป และพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ของผู้เรียนไปจนตลอดหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ
2) อาชีวศึกษา การอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มี
ทักษะในการประกอบอาชีพ มวลประสบการณ์ต่างๆ ในหลักสูตรจัดขึ้นอย่างสอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดแรงงาน เมื่อผู้เรียนศึกษาจบหลักสูตรอาชีวศึกษาแล้วสามารถทางานได้จริง
3) การศึกษาพิเศษ เป็นการจัดการศึกษาสาหรับผู้พิการ โดยมีหลักการจัดการศึกษาคือให้ผู้เรียนมี
ทักษะความสามารถทางด้านร่างกายและจิตใจที่ช่วยเหลือตัวเองได้ และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคม
อย่างมีความสุข
4) การบริการศึกษาเฉพาะทาง เป็นการจัดการบริการการศึกษาที่มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความสามารถ
เฉพาะงานหรืองานเฉพาะอย่าง เพื่อให้บุคคลสามารถทางานในสานักงาน หรือการเตรียมเป็นเจ้าหน้าที่ทั้ง
ส่วนงานภาครัฐ และภาคเอกชน
5) ศาสนศึกษา เป็นการจัดการศึกษาที่เตรียมผู้เรียนให้มีความรู้สึกเกี่ยวกับศาสนาและวิชาอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง และสามารถแสดงบทบาทของผู้มีความรู้ด้านศาสนาเป็นอย่างดี
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
12
6) วิชาการศึกษา เป็นการจัดการศึกษาที่มีเป้าหมายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถด้าน
วิทยาศาสตร์
7) การศึกษาระดับวิชาชีพเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถระดับมือ
อาชีพ ที่มีความสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะเข้าด้วยกัน และปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพในวิชาชีพ
ชั้นสูง
นอกจากรูปแบบการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาทั่วไปสาหรับเด็ก
ปกติ และการศึกษาพิเศษสาหรับเด็กพิการแล้ว ก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาซึ่งเป็น
โรงเรียนศาสนาอิสลาม จัดการศึกษาโดยกระทรวงศาสนาโดยใช้ชื่อเรียกว่า Madrasah Ibtidaiyah หรือMI
วุฒิที่ได้รับจะเทียบเท่ากับวุฒิที่ได้จากโรงเรียนประถมศึกษาทั่วไป และมีโรงเรียนศาสนาอิสลามระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นด้วย ซึ่งใช้ชื่อเรียกว่า Madrasah Tsanawlyah หรือ MTs วุฒิที่ได้ก็เทียบเท่ากับวุฒิที่ได้
จากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นทั่วไปเช่นเดียวกัน
หลักสูตรการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื้อหาวิชาแกนของการศึกษาขั้นพื้นฐานทุก
หลักสูตรทุกสถานศึกษาจะประกอบด้วย เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาปัญจศีล (การศึกษาระบบความคิด หรือ
มโนคติวิทยา) วิชาศาสนา วิชาพลเมือง วิชาภาษาอินโดนีเซีย วิชาการอ่านและการเขียนวิชาคณิตศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเบื้องต้น วิชาภูมิศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ชาติและประวัติศาสตร์โลก วิชา
หัตถกรรมและศิลปะ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและสุขศึกษา วิชาวาดเขียน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชา
ท้องถิ่นศึกษาเนื้อหาเหล่านี้ไม่ได้บ่งบอกเพียงชื่อวิชาเท่านั้น สิ่งที่มากกว่านั้นก็คือ บ่งชี้ว่าเป็นการศึกษา
เนื้อหาสาระที่ต้องการมุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆของ
ทรัพยากรมนุษย์ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการสอนในโรงเรียนผ่านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้การจัดการศึกษาจัด
แนวบูรณาการหลากหลายวิชาเชื่อมโยงเนื้อหาซึ่งกันและกัน ไม่เน้นการสอนเนื้อหารายวิชาใดวิชาหนึ่ง
อย่างเดี่ยวๆ โดยไม่มีการเชื่อมโยงกับวิชาใดอินโดนีเซียมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยด้วย โดยมีเป้าหมาย
หลักของการศึกษาปฐมวัยคือการพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กต้องออกมาจากบ้านจาก
ครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน
ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู้ ทักษะ
และความคิดริเริ่ม รูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ได้ผลดี ได้แก่ การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือ
สถานอบรมเด็กเล็ก และการเล่นเป็นกลุ่ม เราจะเห็นได้ว่า การเรียนในโรงเรียนอนุบาลนั้นเป็นส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรู้จากการเล่นเป็นกลุ่มนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
13
การจัดการศึกษาก่อนวัยเรียนนี้เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ปี
ขณะที่การเรียนรู้โดย “การเล่นเป็นกลุ่ม” จัดให้กับเด็กอายุ 3 ขวบและต่ากว่า 3 ขวบ
การอาชีวศึกษา ในฐานะการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นการศึกษาสายอาชีวศึกษา
ประกอบด้วยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อ
บริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ปี และ 4 ปี แบ่งเป็น 6 กลุ่ม
วิชา คือ
1. การเกษตรกรรม และการป่าไม้
2. เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม
3. ธุรกิจ และการจัดการ
4. สวัสดิการสังคม
5. การท่องเที่ยว
6. ศิลปะ และหัตถกรรม
การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เน้นการขยายความรู้ การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียน
สาหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ กระทรวงศึกษาฯ
ได้จัดตั้ง “โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ฝึกงานระบบทวิภาคี” ซึ่งมีลักษณะเป็นการศึกษาในระบบทวิภาคี
หมายถึง การจัดมวลประสบการณ์ตามหลักสูตรร่วมกันระหว่างส่วนฝึกอบรมหรือสถานศึกษากับสถาน
ประกอบการ เพื่อฝึกฝนให้ผู้เรียนหรือผู้ฝึกงานมีความรู้ในเชิงทฤษฎี และมีทักษะที่จะปฏิบัติงานได้จริง อัน
เป็นปรัชญาของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาอย่างแท้จริงอย่างไรก็ตาม ความสาเร็จในการจัดหลักสูตรการ
เรียนรู้ในระบบนี้ต้องอาศัยความร่วมมือและความเข้าใจในปรัชญาทวิภาคีของทั้งสองฝ่ายคือ สถาน
ประกอบการและสถาบันการศึกษา เพื่อจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายสมตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
การอุดมศึกษา ในฐานะการศึกษาขั้นสูงต่อจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา อินโดนีเซียแบ่ง
การศึกษาในส่วนนี้ออกเป็นระดับประกาศนียบัตร 3 ปี ระดับปริญญาตรี 4 ปี ระดับปริญญาโท 2ปี ระดับ
ปริญญาเอก 3 ปี โดยสถาบันระดับอุดมศึกษานั้นมีหลายแบบ เช่น สถาบันโพลีเทคนิคโรงเรียนการศึกษา
ขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างความ
เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุ่งพัฒนาความสามารถในเชิง
ปฏิบัติการ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
14
การศึกษานอกระบบ การศึกษานอกโรงเรียน เป็นกิจกรรมการสอนและการเรียนรู้ซึ่งยืดหยุ่น
อาจจะมีหรือไม่มีระดับชั้นและความต่อเนื่อง มีทั้งการศึกษาวิชาทั่วไป ศาสนศึกษา การศึกษาเพื่อการ
บริการเฉพาะ อาชีวศึกษา รวมทั้งกลุ่มการศึกษาทั้งชุด A และชุด B (Paket A,B) หลักสูตรเสริมรายได้หรือ
อื่นๆ ที่สามารถศึกษาได้เช่น การฝึกงาน
อินโดนีเซียให้ความสาคัญกับการศึกษาเรียนรู้ในครอบครัวด้วย โดยถือว่าเป็นการศึกษานอก
ระบบโรงเรียน ซึ่งได้ปลูกฝังค่านิยมทางศาสนาวัฒนธรรม ศีลธรรม และทักษะ การศึกษาเช่นนี้เกิดขึ้นนอก
ระบบโรงเรียนแต่อยู่ในระบบการศึกษาของชาติโดยรวม ซึ่งรัฐมีแนวโน้มที่จะให้ความสาคัญมากขึ้น
พัฒนาการทางการศึกษาในภาพรวม
การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียได้เกิดขึ้นเมื่อ
อินโดนีเซียได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐ พร้อมรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ.1945 หลังจากนั้นรัฐบาลก็ได้
ดาเนินการปฏิรูปการศึกษาจนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเป็นแบบแผนการศึกษาของรัฐในปัจจุบัน โดย
พระราชปัญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษา ค.ศ. 2003 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
นับว่ามีผลกระทบต่อการศึกษาทางศาสนาต่างๆ ในประวัติศาสตร์ของอินโดนีเซียด้วย และในทางกลับกัน
ศาสนาก็มีผลต่อการจัดระบบทางการศึกษาของประเทศปฏิสัมพันธ์หลักระหว่างศาสนากับการจัดระบบ
ทางการศึกษาอันเป็นที่มาของโครงสร้างระบบการศึกษาที่ลักษณะเด่นเฉพาะของอินโดนีเซีย เป็น
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลาม ซึ่งกลายมาเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่
ในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่16 กับรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปล่อยตนเอง
จากลัทธิล่าอาณานิคม และความพยายามปรับตัวในโลกปัจจุบัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การวางแผนพัฒนาประเทศแสดงถึงบทบาทในการปกครองของรัฐที่มีผลกระทบต่อประชาชน
ทั้งหมดอย่างกว้างขวาง ในทางการเมือง การกาหนดแผนพัฒนาของรัฐจะเป็นที่ยอมรับประกาศใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาประเทศ ได้ผ่านกระบวนการกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองและมวลชนตาม
สถานการณ์เฉพาะของประเทศ อินโดนีเซียประกาศใช้แผนพัฒนาประเทศเป็นแผนพัฒนา 5 ปี เรียกว่า
Rencana Pembangunan Lima Tahun หรื อแผนพัฒนา 5 ปี เรี ยกโดยย่อว่าREPELITA แผนแรก
(REPELITA I) เริ่มใช้ในช่วงปี ค.ศ. 1969/70-1973/74 ปัจจุบันเป็ นช่วงแผนที่ 8(ค.ศ. 2003/2004-
2007/2008)พิจารณาจากแผนเหล่านี้จะเห็นว่า สาระของแผนแรกเน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก แผนต่อๆ มาให้ความสาคัญกับภาคอุตสาหกรรม และคุณภาพชีวิตโดยอาศัยการ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
15
จัดการด้านการศึกษา สาธารณสุข สวัสดิการ และการวางแผนครอบครัว อย่างไรก็ตามการพัฒนาเศรษฐกิจ
ยังปรากฏเป็นหลักในทุกแผน
อันที่จริงรัฐบาลดัตช์และรัฐบาลญี่ปุ่ นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการประกาศเอกราชและ
รัฐธรรมนูญในปี 1945 ก็พยายามเสนอแนวทางพัฒนาโดยเน้นเศรษฐกิจ แต่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม
ทั่วไป เนื่องจากเกรงว่า การพัฒนาเป็นกลวิธีแสวงหาประโยชน์ของนักล่าอาณานิคม แนวการพัฒนา
ประเทศในระยะต้นก่อนปี 1970 จึงเป็นเรื่อง “อิสรภาพ” และ “การปฏิวัติ” ขบวนการหนึ่งที่แสดงอานาจ
เข้มแข็งและกว้างขวางในการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ
ของการประกาศอิสรภาพในปี 1945 คือกลุ่มสถาบันการศึกษาศาสนาอิสลามแบบดั้งเดิมที่เรียกว่าเปอซัน
เตรน (Pesantren) หรือ ปอเนาะ (Pondok ) กลุ่มนี้ได้ออกคาประกาศตัดสินที่เรียกว่า“ฟัตวา” ให้มุสลิมลุก
ขึ้นปฏิบัติการต่อสู้ที่เรียกว่า “ญิฮาด” กับนักล่าอาณานิคม ต่อมามีคาว่า “การทาให้ทันสมัย”
(modernization) เข้ามาแทนที่ แม้จะมีทรรศนะท้วงติงว่า แผนพัฒนาของรัฐช่วงแรกเป็นการเติบโตทาง
เศรษฐกิจเกินไป จนเป็นเหตุให้ประเทศพึ่งต่างชาติเกินไป แต่องค์กรพัฒนาเอกชนก็เคลื่อนไหวโดยได้แรง
หนุนจากมุสลิม คริสเตียน และคาทอลิก ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับชุมชนโดยถือหลักการมีส่วนร่วม
(participation) ความเป็นอิสระ (autonomy) และการพึ่งตนเอง (selfreliance)กลุ่มเหล่านี้บางกลุ่มได้รับ
อิทธิพลจากแนวคิดสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และเทววิทยาแห่งการปลดปล่อย (Liberation Theology) ของ
ขบวนการชาวคริสต์ในละตินอเมริกสต์ในละตินอเมริกยากรมนุษย์จัดเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สาคัญของ
การพัฒนาประเทศของรัฐบาลอินโดนีเซีย ด้วยความตระหนักถึงการพัฒนาคนให้มีการศึกษาในระดับที่
สามารถเป็นแรงสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติให้ไปด้วยกันได้อย่างดี รัฐบาล
อินโดนีเซียจึงได้กาหนดโครงการการศึกษาภาคบังคับ9 ปี ตั้งแต่ปี 1994 เป็นต้นมา โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อ
เตรียมคนให้พร้อมกับระบบการค้าเสรีหรือพร้อมเข้าสู่ตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการ
แข่งขันในเวทีเอเปคและเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area – AFTA) แต่อย่างไร
ก็ดี ในช่วงแรกรัฐบาลอินโดนีเซียต้องเผชิญกับข้อจากัดต่างๆมากมายที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษา อาทิ
อัตราของเด็กวัย 7 – 15 ปีไม่ได้รับการศึกษาเป็นจานวนที่สูงมาก รวมไปถึงจานวนนักเรียนสอบตกและ
นักเรียนที่จบชั้นประถมแล้วไม่ยอมเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา
แผนการศึกษาแห่งชาติ/ ระบบการศึกษา
ระบบและการบริหารการศึกษาของอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากรัฐธรรมนูญ ปี 1945 (พ.ศ.2488)
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐดังที่ปรากฏในหลักปัญจศีล รัฐธรรมนูญ ปี 1945 บทที่ 2 มาตรา31 ระบุว่า “(1)
พลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษา และ (2) รัฐบาลจะต้องจัดตั้งและดาเนินการระบบการศึกษาของ
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
16
ชาติ ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติ” กฎหมายรัฐธรรมนูญได้เป็นที่มาของการปฏิรูปและการปรับปรุง
การศึกษาโดยตลอดมาตราบจนปัจจุบัน ทั้งในเรื่องหลักการ แนวทางปฏิบัติ และกฎระเบียบปลีกย่อยต่างๆ
ในการจัดการศึกษา นอกจากนั้นการศึกษายังได้ปรับไปตามแผนพัฒนาห้าปี(Repelita) ซึ่งแผนที่เน้นเรื่อง
การศึกษามากที่สุดคือแผนพัฒนาที่ 3 (1994/95-1998/99) ที่กาหนดยุทธวิธีการพัฒนาการศึกษาไว้ 4
ประการ ได้แก่
1. ความเสมอภาคโอกาสทางการศึกษา
2. การตอบสนองความจาเป็นทางการศึกษา
3. คุณภาพของการศึกษา และ
4. ประสิทธิภาพของการศึกษา
แผนพัฒนาที่ 8 (ค.ศ. 2003/2004-2007/2008) สาระสาคัญเน้นไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจและ
ทรัพยากรมนุษย์ในฐานะที่เป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจอีกทีหนึ่ง ในแผนพัฒนาประกอบไปด้วย
เป้าหมายการพัฒนาในด้านต่างๆ แต่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางการศึกษาจะอยู่ในโครงการพัฒนาสอง
ส่วน คือส่วนที่ว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์( HumanResources Development) โดยระบุว่า ในยุคที่มี
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง สิ่งที่ต้องเกิดขึ้นไป
พร้อมๆกันคือการมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งการพัฒนาเพื่อให้ได้ทรัพยากร
มนุษย์ที่มีคุณสมบัติดังกล่าว จาเป็นต้องพัฒนาในทุก ๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านศาสนา บุคลิกภาพ สุขภาพ
สวัสดิการ การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมุทรศาสตร์และการบินอีกส่วนหนึ่งระบุอยู่ในส่วนของ
แผนพัฒนา Center for Building the Training and Educationof Development Planning ซึ่งมีใจความสาคัญ
ว่า เพื่อที่จะยกระดับการแข่งขันและความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้น จึงให้การสนับสนุนบุคคล
ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการวางแผนเพื่อพัฒนา ให้มีโอกาสได้ศึกษาต่อในระดับสูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมงานด้านการพัฒนาควบคู่กันไปด้วย
ระบบการศึกษาของรัฐ
กระบวนการจัดการศึกษาอิงระบบโครงสร้างการศึกษาที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษา
ปี 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 รัฐบาลอินโดนีเซียได้คานึงถึงความสาคัญของกระบวนการ
เรียนรู้ทุกลักษณะครอบคลุมการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดย
จาแนกเป็นการศึกษาในโรงเรียน (school education) กับการศึกษานอกโรงเรียน(out-of-school education)
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 แบ่งระดับการศึกษาในโรงเรียนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
17
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการศึกษาภาคบังคับมี 3 ระดับได้แก่
1.1 โรงเรียนประถมศึกษา (Sekolah Dasar) ให้การศึกษาพื้นฐาน 6 ปี สาหรับนักเรียนอายุ
7-12 ปี
1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จัดการศึกษา 3 ปี สาหรับนักเรียนอายุ13-15ปี
1.3 โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนที่มีปัญหาความผิดปกติทางด้านร่างกายและ
จิตใจการศึกษาขั้นพื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นสมาชิกของ
สังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป
2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี สาหรับสาย
สามัญ และ 3-4 ปี สาหรับสายอาชีวศึกษา ประกอบด้วยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา
โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อบริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ
โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ปี และ 4 ปี แบ่งเป็น 6 กลุ่มวิชาคือ
1. การเกษตรกรรม และการป่าไม้
2. เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
3. ธุรกิจ และการจัดการ
4. สวัสดิการสังคม
5. การท่องเที่ยว
6. ศิลปะ และหัตถกรรม
การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเน้นการขยายความรู้ การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียน
สาหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาขั้นสูงต่อจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเป็น
ระดับประกาศนียบัตร 3 ปี ระดับปริญญาตรี 4 ปี ระดับปริญญาโท 2 ปี ระดับปริญญาเอก 3 ปี สถาบัน
ระดับอุดมศึกษามีหลายแบบ เช่น สถาบันโพลีเทคนิค โรงเรียนการศึกษาขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย
การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี
และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุ่งพัฒนาความสามารถในเชิงปฏิบัติการ
นอกเหนือจากการศึกษาทั้ง 3 ระดับดังกล่าวแล้วก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยด้วย
เป้าหมายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กต้องออกมา
จากบ้านจากครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียนการจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อม
ของผู้เรียนก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู้
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย

More Related Content

What's hot

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
Guntima NaLove
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 

What's hot (20)

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 

Viewers also liked

อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
Kruthai Kidsdee
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
Kingkarn Saowalak
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
Decode Ac
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (15)

อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
 
ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซียประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
ระบบการศึกษาประเทศในอาเซียน
ระบบการศึกษาประเทศในอาเซียนระบบการศึกษาประเทศในอาเซียน
ระบบการศึกษาประเทศในอาเซียน
 
ทฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ททฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ท
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

รายงานการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย

  • 1. singhapong [ชื่อหลักสูตร] รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ เรื่อง ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เสนอ ผศ.รุ่งอรุณ รังรองรัตน์ โดย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • 2. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 1 สาธารณรัฐประเทศอินโดนีเซีย สภาพทางภูมิศาสตร์และประชากร  อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะจานวนทั้งสิ้น 17,508 เกาะเป็นประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิคและมหาสมุทรอินเดียซึ่งอยู่ระหว่างทวีปเอเชียและออสเตรเลีย พื้นที่ซึ่งรวมพื้นที่ในทะเลประมาณ 5.2 ล้าน ตร.กม.  หมู่เกาะที่สาคัญของอินโดนีเซียมี 5 เกาะ คือ สุมาตรา (473,606 ตร.กม.) ชวา (132,107 ตร.กม.) ซึ่งจะมีจานวนประชากรหนาแน่นที่สุด กะลิมันตัน (539,460 ตร.กม.) สุลาเวสี (189,216 ตร.กม.) และ ปาปัว (421,981 ตร.กม.)  มีสภาพอากาศแบบป่าฝนเขตร้อน มี 2 ฤดูคือ ฤดูแล้ง (เม.ย. – ก.ย.) และฤดูฝน (ต.ค. – มี.ค.) อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 21 – 33 ดีกรีเซลเซียส  เป็นประเทศที่มี 3 เขตเวลา คือ 1. เขตตะวันตก (ชวา สุมาตรา และกะลิมันตันตะวันตก) คือ GMT+7 หรือเท่ากับเวลาในประเทศไทย 2. เขตกลาง (กะลิมันตันตะวันออก สุราเวสี และบาหลี) คือ GMT+8 หรือเร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 1 ชม. และ 3. เขตตะวันออก (มาลูกูและปาปัว) คือ GMT+9 หรือ เร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 2 ชม.
  • 3. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 2  อินโดนีเซียมีจานวนประชากรประมาณ 240 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่เกาะ ชวา ประมาณกว่าร้อยละ 60  ประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 88 นับถือศาสนาอิสลาม สาหรับศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ คริสต์ฮินดู และพุทธ จึงถือเป็นประเทศอิสลามที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่ไม่ได้เป็นรัฐมุสลิม  ภาษาราชการคือ ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และภาษาพื้นเมืองอีกเป็นจานวน มาก ได้แก่ ภาษาพื้นเมืองชวากว่า 300 ภาษา ภาษาพื้นเมือง Sundanese เป็นต้น การเมืองการปกครอง  อินโดนีเซียปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นเป็นผู้นาของประเทศ (วาระการบริหารประเทศ 5 ปี และต่อได้อีก 1 วาระ) มีการแบ่งอานาจระหว่างประธานาธิบดีและสภา ผู้แทนราษฎร และเป็นการปกครองในระบบสาธารณรัฐแบบ Unitary Republic ซึ่งมีการปกครองตนเองใน บางพื้นที่ (provincial autonomy)  มีการแบ่งเขตการปกครองเป็น 33จังหวัด โดยมีเขตการปกครองพิเศษใน 3เมืองคือ กรุง จาการ์ตา เมืองยอร์กยาการ์ตา และอาเจะห์  รัฐสภาของอินโดนีเซีย (People’sConsultative Assembly) ประกอบด้วยสมาชิกผู้แทนรวม 678 คน โดยเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (People’s Representative Council) 550 คน และเป็ น สมาชิกสภาผู้แทนระดับภูมิภาค (Regional Representative Council) 128 คน พัฒนาการทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ประชากรกลุ่มต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถีชีวิตแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชน ชาวชนบทที่อาศัยอยู่ห่างไกลจากตัวเมือง ยังยึดมั่นอยู่ กับประเพณีเดิมอยู่มาก ส่วนกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในตัวเมือง และได้รับการศึกษาแบบตะวันตก จะมีวิถีชีวิต แตกต่างกันออกไป การแบ่งกลุ่มชนตามขนบธรรมเนียมประเพณี และพื้นที่ตั้ง ในประเทศอินโดนีเซีย มีการกาหนดกฎหมายประเพณีในสังคม ตามความเชื่อในศาสนาซึ่ง จะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และสืบทอดกันมานานแล้ว มีสาระที่สาคัญคือ ความผูกพันระหว่างสามีกับ ภรรยา พ่อแม่กับลูก และพลเมืองต่อสังคมที่ตนอยู่ โดยยึดหลักการปฏิบัติที่เรียกเป็นภาษาอินโดนีเซียว่า โก ตองโรยอง คือการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันในงานต่าง ๆ เช่น การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การแต่งงาน การ สร้างบ้านที่อยู่อาศัย การใช้ที่ดินร่วมกัน ภายใต้ข้อตกลงและข้อแม้พิเศษ
  • 4. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 3 การแต่งกาย เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม การแต่งกายจึงโน้มน้าวไปตาม ประเพณีของศาสนา ผู้ชาย จะนุ่งโสร่งสวมเสื้อคอปิด แขนยาวสวมหมวกรูปกลมหรือหมวกหนีบทาด้วยสักหลาดสีดา บางครั้งจะนุ่งโสร่งทับกางเกง ประมาณครึ่งตัว โดยปล่อยให้เห็นขากางเกงในกรณีที่ต้องเข้าพิธี อาจจะมีการ เหน็บกริชด้วยปัจจุบันผู้ชายอินโดนีเซียส่วนใหญ่นิยมแต่งกายแบบสากล แต่ยังคงสวมหมวกแบบเดิม ผู้หญิง จะใช้ผ้าไคน์ พันรอบตัว และใช้นุ่งอยู่กับบ้านเท่านั้น ผ้าไคน์จะมีลวดลายสวยงามมาก เนื้อดีและราคาแพง ซึ่งเป็นที่นิยมเรียกกันอีกชื่อว่า ผ้าปาติค (Patik) เวลานุ่งจะต้องให้ยาวกรอมเท้า สวมเสื้อ เรียกว่า เคบาจา (Kebaja) เป็นเสื้อที่รัดติดกับตัว แขนยาว สาหรับผู้หญิงชาวเกาะสุมาตรา นิยมสวมเสื้อ หลวม ลาตัวยาวเกือบถึงเข่า เรียกว่า บัตยูกรุง และใช้ผ้าห่มพาดไหล่ข้างหนึ่งด้วย ผู้หญิงอินโดนีเซียไว้ผม ยาว แล้วเกล้าเป็นมวย และใช้เครื่องประดับ เช่น พลอย หรือดอกไม้ประดับศีรษะ รองเท้าที่ใช้เดิมเป็น รองเท้าแตะ แต่ปัจจุบันเป็นรองเท้ามีส้น และทาสี แกะสลักเป็นรูปต่าง ๆ สายคาดทาด้วยหนังทาสีเงิน หรือ สีทอง สตรีที่นับถือศาสนาอิสลามจะใช้ผ้าคลุมศีรษะ แต่ไม่ปิดหน้า ปัจจุบันนิยมแต่งกายแบบตะวันตกมาก ขึ้น การแต่งกายแบบดังกล่าว จะใช้ในโอกาสพิธีสาคัญ ๆ เท่านั้น ศิลปและวรรณคดี ชาวอินเดียเป็นผู้รักศิลป และวรรณคดีมาช้านานแล้ว สังเกตได้จากลวดลาย ของเครื่องแต่งกาย บ้านที่พักอาศัย ศาสนสถาน และนาฎศิลป์ต่าง ๆ ศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย มิได้ ยึดถือตามที่สืบทอดกันมาแต่ในอดีตเท่านั้น แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างได้พัฒนาเปลี่ยนไปตามแต่ละยุคแต่ละ สมัย ที่มีอิทธิพลต่อประเทศอินโดนีเซีย ในขณะนั้น ศิลปกรรมการปั้น และการแกะสลัก : การทางานแบบธรรมชาติ โดยใช้ฝีมืออย่างแท้จริง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆในรูปแบบแกะสลักไม้แกะสลักวัตถุโลหะเครื่องปั้นดินเผาและงานแกะสลักหินเป็นรูป ต่างๆ แต่ส่วนใหญ่เป็นศิลปกรรมฮินดู เพราะศาสนาพราหมณ์ฮินดู เคยเข้ามามีอิทธิพลในอินโดนีเซีย นัก แกะสลักที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่เป็นชาวบาหลี สถาปัตยกรรม มีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพของภูมิประเทศและอิทธิพลของศาสนา แต่ ส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับประเทศต่างๆ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาคารบ้านเรือนของประชาชน โดยทั่วๆ ไปจะใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นอุปกรณ์ในการก่อสร้าง ส่วนเทวสถานบางแห่ง เช่น สถูปโบโรพุทโธ ซึ่งมีชื่อเสียงมากได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมของศาสนาฮินดู
  • 5. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 4 นาฏศิลป์ มีรูปแบบแตกต่างกันไปเป็นสองลักษณะ เนื่องจากในอดีตอินโดนีเซียถูกฮอลันดาบีบ บังคับให้แบ่งอาณาจักร Matanamออกเป็นสองส่วนคืออาณาจักรสมาการ์ตา (Sumakarta) และอาณาจักร ยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) จึงทาให้นาฏศิลป์ชวามีรูปแบบแตกต่างกันออกไปดังกล่าว แบบสมาการ์ตา(Samakarta) การแต่งกายจะใช้ผ้าแพรพาดบ่าท่วงทานองของวงมโหรีจะนุ่มนวล ราบเรียบ มีเส้นแบ่งจังหวะน้อย แบบยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) การแต่งกายจะใช้ผ้าแพรพันเอว ท่วงทานองของวงมโหรีจะมี เสียงไม่นุ่มนวล เพราะมีเส้นแบ่งจังหวะมาก ถึงแม้นาฏศิลป์ทั้งสองแบบจะแตกต่างกันไปบ้างก็ตาม แต่ก็สะท้อนปรัชญาของชวาจากท่าทาง การเคลื่อนไหวมือ- แขน แม้กระทั่งการแสดงออกทางสีหน้า เช่น ตัวละครที่แสดงเป็นธรรมะจะหลบตาลง ต่าเสมอ และจะร่ายราด้วยลีลาอ่อนช้อย ผสมกลมกลืนอย่างสง่างาม แสดงถึงจิตใจอ่อนโยนบริสุทธิ์ ในทาง ตรงกันข้าม ตัวละครที่แสดงเป็นอธรรม หรือชั่วร้ายจะแสดง ลักษณะท่วงท่าวางอานาจ กลอกตาแข็งกร้าว แสดงถึงจิตใจชั่วร้ายหยาบคาย ปรัชญาของชวามุ่งใฝ่สันติความสงบสุข สุภาพ ถ่อมตัวในการติดต่อกับผู้อื่นเช่นเดียวกับตัวละคร ที่แสดงเป็นฝ่ายธรรมะ ดนตรี ในสมัยโบราณ อินโดนีเซียมีวงดนตรีพื้นเมืองมีชื่อเสียงมากเรียกว่า ตมิลาน ประกอบด้วย เครื่องดนตรีคล้ายระนาด กลอง ฆ้อง ซอสองสาย และขลุ่ย ซึ่งนอกจากเป็นดนตรีประจาราชสานักของสุลต่าน ต่าง ๆ บนเกาะชวาแล้ว ดนตรีดังกล่าวยังทาหน้าที่เผยแพร่ศาสนาอิสลามด้วย แต่ปัจจุบันวงดนตรีตมิลานได้ กลายเป็นวงดนตรีสาหรับการฟ้อนรา การแสดงนาฏศิลป์ และการแสดงหนังตะลุง นอกจากนี้อินโดนีเซียยัง มีวงดนตรีอังกะลุงด้วย ศิลปะการแสดง การมหรสพของอินโดนีเซียได้แก่ ละครและภาพยนตร์ เค้าโครงเรื่องของละคร ที่นามาแสดงส่วนใหญ่คือเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเป็นเทพนิยายในศาสนาฮินดู ตัวละครจะแต่งกายด้วยผ้าปาติก ไม่สวมเสื้อชั้นนอก ใช้สีทาตัวเป็นสีต่าง ๆ ประดับด้วยสร้อยสังวาลย์นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังมีการละเล่น
  • 6. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 5 อีกชนิดหนึ่งเรียกว่า วายัง หรือหนังตะลุง เป็นที่นิยมกันมาก เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่เป็นนิยายเกี่ยวกับเรื่อง สงครามในศาสนาฮินดู วรรณคดี ในสมัยที่ศาสนาฮินดู และพุทธศาสนาได้เข้าไปเผยแพร่ในอินโดนีเซีย วรรณคดีของ อินโดนีเซียมีความเจริญอย่างรวดเร็ว หนังสือที่มีชื่อเสียงในระยะนั้นได้แก่เรื่องเนการาเกอร์ตากามา ซึ่งเป็น เรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความยิ่งใหญ่ และอานาจของอาณาจักรมัดยาปาหิตนอกจากนี้ยังมีหนังสือที่ได้รับ ความนิยมกันมากอีกเรื่องหนึ่งคือ เรื่องปาราราตัน เป็นเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของกษัตริย์อินโดนีเซีย ในสมัยนั้น เขียนเป็นภาษาชวาโบราณ ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้แพร่เข้าไปในอินโดนีเซีย ก็ได้มีผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับคาสอนของ ศาสนาอิสลาม และตาราหมอดูไว้หลายเล่ม โดยเขียนเป็นภาษาชวา ประวัติศาสตร์ สมัยตกเป็ นอาณานิคมของฮอลแลนด์ ฮอลแลนด์ได้ตั้งบริษัท United Dutch East India Company เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๕ เพื่อทาการค้า อยู่ที่หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ซึ่งนอกจากทาการค้าแล้ว ยังทา หน้าที่แสวงหาอาณานิคมให้แก่ฮอลแลนด์ด้วย ในที่สุดได้ทาการยึดครองอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ.๒๑๖๔ และได้ขยายการปกครองออกไปทั่วประเทศ ทาให้อินโดนีเซียตกอยู่ในฐานะอาณานิคมของฮอลแลนด์ การทาสงครามต่อต้านฮอลแลนด์ได้เริ่มขึ้น เมื่อปี พ.ศ.๒๒๐๙ โดยสุลต่านฮานุดดินแห่งโกลา แต่ ประสบความล้มเหลว และต้องเซ็นสัญญายอมแพ้ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ ในปี พ.ศ.๒๒๓๓ - ๒๓๖๗ บริษัทได้ ส่งทหารเข้าควบคุมหมู่เกาะโมลุกกัส (มาลูกู) เพื่อเข้าควบคุมการค้าเครื่องเทศ ในระยะเวลาเดียวกันได้ปรากฏมีชาวอังกฤษเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองเบวกูเลน บนฝั่งตะวันตก ของเกาะสุมาตรา และได้มีการสร้างป้อมค่ายขึ้น ในระยะนี้ชาวอังกฤษยังไม่มีบทบาทมากนัก ในปี พ.ศ.๒๒๘๓ ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในจาการ์ตาได้ทาการต่อต้านชาวดัตช์ เนื่องจากไม่พอใจที่ถูก เอารัดเอาเปรียบทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในด้านอื่น ๆ ชาวอินโดนีเซียได้เข้าร่วมในการต่อต้านครั้งนี้ด้วย แต่ไม่สามารถเอาชนะได้เป็นผลให้ชาวจีนถูกชาวดัทช์สังหารมากกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
  • 7. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 6 การเข้าปกครองอังกฤษ ในระหว่างรัชสมัยของนโปเลียน ฝรั่งเศสได้เข้าครอบครองฮอลแลนด์ บริษัท British East Company จึงได้เข้าปกครองอินโดนีเซียแทน (พ.ศ.๒๓๕๘ - ๒๓๕๙) เมื่อนโปเลียน สิ้นอานาจลงในปี พ.ศ.๒๓๕๘ อินโดนีเซียก็กลับไปเป็นอาณานิคมของฮอลแลนด์อีก การปราบปรามของฮอลแลนด์ นับตั้งแต่อินโดนีเซียตกอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลแลนด์ ชาวอินโดนีเซียได้ลุกขึ้นต่อต้านการปกครองของฮอลแลนด์หลายครั้ง แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ การเคลื่อนไหวเพื่อกอบกู้เอกราช ได้มีการจัดตั้งสมาคม Budi Utom (ความบากบั่นอันสูงส่ง) ขึ้น ในปี พ.ศ.๒๔๕๑ ได้ร่วมกันก่อตั้งพรรคการเมืองขึ้นหลายพรรค เพื่อเป็นข้อต่อรองในการเรียกร้องเอกราช จากฮอลแลนด์ ปี พ.ศ.๒๔๖๗ กลุ่มนักศึกษา ได้ตั้งสมาคมนักศึกษาอินโดนีเซีย โดยมี ดร.โมฮัมหมัดอัตตา เป็น หัวหน้า ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๗๐ ดร.โมฮัมหมัดอัตตา ได้จัดตั้งองค์การสหพันธ์ โดยรวมพรรคการเมืองของ อินโดนีเซียทั้งหมดเข้าด้วยกัน ในปี เดียวกัน ดร.ซูการ์โน และบุคคลชั้นนาอีกหลายคนได้ร่วมกันจัดตั้งพรรคชาตินิยม อินโดนีเซียขึ้น และใช้ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียเป็นภาษากลางในการติดต่อ ประสานงานสนับสนุน นโยบายที่จะไม่ให้ความร่วมมือใด ๆ แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของฮอลแลนด์ การเคลื่อนไหวดังกล่าว ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางในกลุ่มเยาวชน และทาให้เกิดองค์การยุวชนขึ้นในท้องถิ่นต่าง ๆ สมัยการยึดครองของญี่ปุ่ น ในระหว่างสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ายึดครอง อินโดนีเซียได้ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๕ - ๒๔๘๗ กองทัพญี่ปุ่นพยายามเอาใจชาวอินโดนีเซียด้วยการปล่อย ตัวผู้นาทางการเมืองที่ถูกทางการฮอนแลนด์คุมขังไว้ การประกาศอิสรภาพ เมื่อญี่ปุ่ นแพ้สงครามใน ปี พ.ศ.๒๔๘๘ ญี่ปุ่นได้เปิดโอกาสให้ชาว อินโดนีเซียในการนาของ ดร.ซูการณ์โน และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา ประกาศอิสรภาพของอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ พร้อมกับประกาศหลักการแห่งรัฐห้าประการ (ปัญจศีล) คือ - เชื่อมั่นในพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว - มวลมนุษย์แห่งอารยะ - ชาตินิยม - ประชาธิปไตย - ความยุติธรรมของสังคม อินโดนีเซียได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรก เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ และได้เลือกตั้ง ดร.ซูการ์โน เป็นประธานาธิบดี และ ดร.โมฮัมหมัด ฮัตตา เป็นรองประธานาธิบดี
  • 8. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 7 สภาพทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ ฐานะความเป็นอยู่ของประชากรมีความแตกต่างกันมาก ส่วนใหญ่มีฐานะ ค่อนข้างยากจน หลังจากอินโดนีเซียได้ประกาศเอกราช เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๘ ก็ได้เริ่มพัฒนาประเทศในหลาย ด้าน โดยตั้งหน่วยงานของรัฐขึ้นหลายแห่ง มีหน่วยงานที่สาคัญคือ กระทรวงกิจการของสังคม อาชีพ อาชีพหลักของประชาชนอินโดนีเซียได้แก่ การเพาะปลูก ผลิตผลที่สาคัญทารายได้ให้กับประเทศได้แก่ข้าว มันสาปะหลัง ข้าวโพด มันเทศ ยาง มะพร้าวและน้าตาล การทาป่ าไม้ อินโดนีเซียมีพื้นที่ป่ าประมาณ ๑๑๔ ล้านเฮกตาร์ และนโยบายของรัฐบาล สนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตไม้แปรรูป จึงเป็นอาชีพสาคัญอาชีพหนึ่งของประชาชน การประมง แม้อินโดนีเซียจะเป็นเกาะ แต่อาชีพทางการประมงยังไม่ค่อยเจริญ ประชาชนที่มี อาชีพประมงก็เป็นประชาชนที่อยู่ตามชายฝั่งทะเล การใช้เครื่องมือทางประมง ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ส่วน ใหญ่เป็นการประมงขนาดย่อม การเลี้ยงสัตว์ มีการเลี้ยงกันเกือบทุกชนิด แต่ที่นิยมกันมาก และมีปริมาณการผลิตสูงได้แก่วัว เนื้อ วัวนม ควาย แพะและแกะ การทาเหมืองแร่ เป็นอาชีพสาคัญของประชากร เพราะประเทศอินโดนีเซียอุดมสมบูรณ์ด้วย ทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ การอุตสาหกรรม อินโดนีเซียมีโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภทที่สาคัญ ๆ ได้แก่ โรงงานผลิต อาหารสาเร็จรูป โรงงานผลิตเครื่องมือทางการเกษตร โรงงานยาสูบ โรงงานอุตสาหกรรมไม้แปรรูป โรงงานเครื่องหนัง โรงงานปูนซีเมนต์โรงงานสร้างรถยนต์ และโรงงานสร้างเครื่องบิน ศาสนา ศาสนาที่เป็นที่นิยมของประชาชน ชาวอินโดนีเซียประมาณ ร้อยละ ๘๘ นับถือศาสนาอิสลาม ทาให้อินโดนีเซีย เป็นประเทศที่มีคนนับถือศาสนาอิสลาม มากที่สุดในโลก เนื่องจากอินโดนีเซียเป็น ประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
  • 9. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 8 อิทธิพลของศาสนาต่อการดาเนินชีวิต เนื่องจากอินโดนีเซียมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลาม จึงมีแนวทางในการดาเนินชีวิต ตามแบบฉบับของศาสนาอิสลาม ดังนี้ การครองเรือน อุดมการณ์ของศาสนาอิสลามถือว่าผู้ชายเป็นผู้นา เป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นผู้ เลือกถิ่นที่อยู่เป็นผู้รับผิดชอบต่อความทุกข์สุขของครอบครัว และเป็นผู้สืบสกุล ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงห้าม ขาดไม่ให้หญิงมุสลิมเป็นภรรยาของผู้ที่มีความเชื่อถือต่างกัน ผู้ใดฝ่าฝืนให้ถือว่าได้ลาออก หรือถูกไล่ออก จากสังคมอิสลามแล้ว สมาชิกของสังคมอิสลาม มีสิทธิที่จะทาการประชาทัณฑ์ด้วยการเลิกคบหาสมาคม ด้วย แต่ถ้าฝ่ายชายได้เปลี่ยนอุดมการณ์ ความเชื่อถือเดิมมาเป็นอย่างเดียว กับฝ่ายหญิงแล้วด้วยความสมัคร ใจก่อนการสมรสกัน หญิงมุสลิมก็ทาการสมรสด้วยได้ผู้นับถือศาสนาอิสลามมีความยึดมั่นในข้อห้ามอย่าง แน่วแน่ จนต้องนาเอาหลักจารีตประเพณี มาบังคับเป็นกฎหมาย เพื่อกาหนดสถานภาพของครอบครัว อัน เป็นการจากัดสิทธิของสตรี จนมีการดิ้นรนเรียกร้องสิทธิเพิ่มขึ้น ทางสภาผู้แทนราษฎร การอุปโภคและบริโภค อิสลามแนะนาให้อยู่ดีกินดี บริโภคอาหารที่มีคุณแก่ร่างกาย และสะอาด กับจิตใจ และอุปโภคเครื่องนุ่งห่มที่ประกอบจากวัสดุที่สะอาด และรักษาให้สะอาด เตรียมพร้อมที่จะ นมัสการต่อพระเจ้าอยู่เสมอ ตามคัมภีร์กุรอาน อิสลาม ได้เว้นการบริโภคซากสัตว์สัตว์ที่ตายเอง เนื้อสุกร และสัตว์ทั้งหลายที่ ถูกเชือด หรือถูกประหารโดยการขออนุญาตจากผู้ที่มิใช่อัลลอห์ นอกจากนี้ยังมีสัตวซ์พาวหนะและสัตว์ เลี้ยงเช่น ลา แมว สุนัข สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ประเภทนกที่ใช้เท้าเป็นสื่อส่งอาหารใส่ปากเช่น แร้ง เหยี่ยว กา และสัตวว์ที่บริโภคเนื้อสัตว์ด้วยยกันเช่น เสือ สิงโต การที่ห้ามบริโภคเนื้อสัตวว์ที่ถูกฆ่า โดยผู้ที่ไม่ใช่เป็นอิสลามนั้นเนื่องมาจากสิทธิของพระเจ้า เพราะอิสลามถือว่าพระเจ้าเป็นเจ้าชีวิต แม้สัตว์ที่ยอมให้เป็นอาหารของมนุษย์แล้วก็ตาม แต่มนุษย์จะ บริโภคได้ก็แต่เลือดเนื้อของสัตว์เท่านั้น ส่วนชีวิตเป็นของพระเจ้า เมื่อจะเชือด หรือประหารชีวิต เพื่อนามา เป็นอาหารจะต้องขอนุญาตจากพระเจ้าเสียก่อน นอกจากปลาและสัตวว์น้า ซึ่งโดยกฎของบสวภาวะของ พระเจ้า เมื่อขึ้นมาอยู่บนบกมันจะตายเองด้วยดินฟ้าอกาศ ซึ่งเป็นเครื่องมือของพระเจ้า พิธีศพ อุดมการณ์ของอิสลามถือว่า การให้เกียรติแก่ศพ ไม่ว่าเมื่อมีชีวิตอยู่ จะถือศาสนาอะไร เป็นมารยาทอันสูงส่งที่มุสลิมทุกคนบจะถือปฏิบัติตาม การทาลายศพเป็นข้อห้ามอย่างเด็ดขาด โดยที่ อุดมการณ์ของอิสลามถือว่ามนุษย์และสรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดยพระเจ้า ร่างกายของมนุษย์จึงยตกเป็น สิทธิของพระเจ้า เมื่อสิ้นชีวิตแล้วก็ต้องส่งยคืนไปในสวภาพเดิมและไปสู่ที่เดิม การถือศีลอด การถือศีลอดในเดือนรอมฎอนปีละหนึ่งเดือนคือ การอดอาหาร และเครื่องดื่ม ตลอดจนการบริโภคใด ๆ ทั้งสิ้น ระหว่างเวลาก่อนรุ่งอรุณ จนตะวันตกดิน เพื่ออบรมให้มีความอดทนต่อ
  • 10. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 9 ความหิวกระหาย เพื่อใให้รู้ซึ้งถึงอาการของความหิวกระหายว่าเป็นประการใด เพื่อมนุษย์ที่เกิดความหิว กระหาย เพราะอัตคัดขัดสน ควรจะได้รับการช่วยเหลืออย่างไรและเพียงใด การบาเพ็ญฮัจยี การไปร่วมกันประกอบพิธีฮัจยีในเมืองเมกกะห์หนึ่งครั้งในชีวิตนั้น ถือปฏิบัติ สาหรับผู้มีกาลังทรัพย์และกาลังกายเท่านั้น เพื่อประโยชนน์ในการอบรมจิตใจ ให้นิยมความเสมอภาค เพราะในพิธีนี้ไม่ว่าจะเป็นกษัตริย์หรือคนธรรมดาสามัญที่รวมอยู่ในพิธีจะต้องแต่งกาย และกระทาพิธีอย่าง เดียวกันหมด ปูชนียสถาน ปูชนียสถานในพระพุทธศาสนาได้แก่ โบโร บูเดอร์ (borobudur) อยู่ในยอร์ค จาการ์ตา สร้างเมื่อปี พ.ศ.๘๐๐ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ฮินดู ในเกาะบาหลี และมัสยิดอัล อาซาร์ ของศานาอิสลาม ที่สร้างขึ้นภายหลังศาสนสวถานของพระพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ฮินดู ความเชื่อของคนอินโดนีเซีย คนอินโดนีเซียเชื่อเรื่องวิญญาณ พระเจ้า บรรพบุรุษ ภูติผีปีศาจ ดวงดาว ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งพบมากในเกาะบาหลีและเกาะต่าง ๆ ที่ความเจริญสมัยใหม่ยังเข้าไปไม่ถึง วิวัฒนาการของการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซียเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน เคยเป็นเมืองขึ้นของประเทศ เนเธอร์แลนด์ในสมัยนั้นเนเธอร์แลนด์จัดการศึกษาโดยแบ่งเป็น2 ระบบที่มีมาตรฐานการศึกษาต่างกัน คือ ระบบแรก เป็นการศึกษาสาหรับชาวยุโรป และบุตรหลานของขุนนางชาวอินโดนีเซีย ซึ่งมีจานวนน้อย อีก ระบบเป็นการศึกษาของชาวพื้นเมือง เป้าหมายของการศึกษาคือการผลิตคนระดับสูง (Social Clite) เพื่อให้ เป็นประโยชน์ แก่ระบบการเมืองและเศรษฐกิจ ตามรูปแบบของเนเธอร์แลนด์ ต่อมาจึงมีนโยบายใหม่ เรียกว่า นโยบายมนุษยธรรม (The Ethical Policy) เสนอให้จัดการศึกษาแก่ประชาชนพื้นเมืองให้กว้างขึ้น ในปี พ.ศ.2489 ประเทศได้รับเอกราช รัฐบาลได้ปฏิรูปการศึกษาโดยมุ่งเน้นจะให้ประชากรทุกคนมีโอกาส ได้รับการศึกษาอย่างน้อยในระดับประถมศึกษา หลักสาคัญของการศึกษาอินโดนีเซีย คือ การพัฒนา พฤติกรรมของมนุษย์ให้เป็นผู้ยึดหลักธรรมปฏิบัติ 5 ข้อ เป็นประจา หลักธรรมดังกล่าว คือ หลัก ปัญจศีล
  • 11. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 10 (Parcasils) การจัดการศึกษาขออินโดนีเซียนั้น กฤษฎีกาของประธานาธิบดี (Keputuson Presiden หรือ PresidentialDecree)เลขที่ 34 พ.ศ.2515 กาหนดให้รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมรับผิดชอบ ต่อการส่งเสริมการศึกษา และการฝึกอบรมทุกๆ ด้าน นอกจากนั้นยังกาหนดให้รับผิดชอบการส่งเสริม ความชานาญในการฝึกอบรมในระดับอาชีวศึกษาให้แก่กาลังคนในองค์การที่ไม่ใช่ของรัฐ และให้ ประชาชน และสถาบันการบริการแห่งชาติ (LAN) รับผิดชอบการส่งเสริมการศึกษาและการฝึกอบรม ทั้งหมดแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายรัฐบาล นอกจากนี้การศึกษายังอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงศาสนา กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตร กระทรวงการคลัง และกระทรวงกิจการสังคม การศึกษาของอินโดนีเซียจัดระบบ 6-3-3 เหมือนของประเทศไทย โดยแบ่งเป็นการระดับ การศึกษา ดังนี้ 1. ระดับอนุบาล หรือระดับก่อนประถมศึกษา (Pre-School) 2. ระดับประถมศึกษา ( Basic School-SD) 3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เซโกลาห์ เบเนงกาห์ เปอร์ดามา-SMP) 4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (เซโกลาห์ เบเนงกาห์ ลาตาส-SMA) 5. ระดับอุดมศึกษา การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียได้เกิดขึ้นเมื่อ อินโดนีเซียได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐพร้อมรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ.1945(พ.ศ. 2488)หลังจากนั้น รัฐบาลก็ได้ดาเนินการปฏิรูปการศึกษา จนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเป็นแบบแผนการศึกษาของรัฐใน ปัจจุบัน โดยพระราชปัญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 (พ.ศ. 2523) ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ทางการศึกษาของอินโดนีเซีย แทรกอยู่ในวิสัยทัศน์ของประเทศตามแนวนโยบายแห่ง รัฐ ให้สังคมอินโดนีเซียดารงอยู่อย่างสงบสุข เป็นประชาธิปไตย มีความยุติธรรม มีความสามารถในการ แข่งขันกับนานาชาติมีความเจริญรุ่งเรืองบนพื้นฐานเอกภาพของสาธารณรัฐอินโดนีเซียด้วยการมีส่วนร่วม ของประชาชนที่มีความสมบูรณ์ ความสามารถพึ่งตนเอง ศรัทธาความยาเกรงต่อพระเจ้าคุณธรรม จริยธรรม ความรักในประเทศชาติจงรักภักดีต่อกฎหมายและแผ่นดิน มีความรู้และวิทยาการมีความพากเพียรและ ระเบียบวินัย ยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบันของอินโดนีเซีย เป็นไปตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี 2003 ได้กาหนดเป้าหมาย นโยบายและแผนการดาเนินงาน ซึ่ง
  • 12. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 11 ครอบคลุมการขยายโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาคทางการศึกษา ส่งเสริมให้ประชากรทุกคน เข้าถึงการศึกษาทุกระบบและทุกระดับ และปรับปรุงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาตลอดเวลา ตามแผนปฏิบัติ การแห่งชาติว่าด้วยนโยบาย “Education for All” ในค.ศ. 2002 ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับกับความต้องการ ของสังคม และเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ใช้ชุมชนเป็นพื้นฐานโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเสมอภาคทาง การศึกษา และเพื่อสร้างความมั่นใจว่าคนอินโดนีเซียทุกคนไม่ว่าจะเป็นเพศใด จะมีฐานะยากจน อยู่ ห่างไกลความเจริญหรือเป็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับเพื่อให้บรรลุ จุดมุ่งหมายของนโยบาย Education for All รัฐบาลได้กาหนดยุทธศาสตร์แห่งชาติไว้ดังนี้ 1) การนาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา และเพิ่มงบประมาณสาหรับ สนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) การให้ความสาคัญกับโครงการเร่งด่วนคือ การจัดหาที่เรียนอย่างทั่วถึง และปรับปรุงคุณภาพ การเรียนการสอน 3) การประสานความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการศึกษาทุกกลุ่มรวมถึง เรื่องงบประมาณที่รัฐบาลท้องถิ่นกับสมาชิกชุมชนต้องเข้ามาจัดการร่วมกันยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา ตามแนว Education for All นั้น สาธารณรัฐอินโดนีเซียเน้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานในการศึกษาในโรงเรียน และนอกโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการจัดการศึกษา 7 ประเภท ได้แก่ 1) การศึกษาทั่วไป หลักในการจัดการศึกษาทั่วไปคือ การจัดการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี ความรู้ทั่วๆ ไป และพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ ของผู้เรียนไปจนตลอดหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ 2) อาชีวศึกษา การอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มี ทักษะในการประกอบอาชีพ มวลประสบการณ์ต่างๆ ในหลักสูตรจัดขึ้นอย่างสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน เมื่อผู้เรียนศึกษาจบหลักสูตรอาชีวศึกษาแล้วสามารถทางานได้จริง 3) การศึกษาพิเศษ เป็นการจัดการศึกษาสาหรับผู้พิการ โดยมีหลักการจัดการศึกษาคือให้ผู้เรียนมี ทักษะความสามารถทางด้านร่างกายและจิตใจที่ช่วยเหลือตัวเองได้ และสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคม อย่างมีความสุข 4) การบริการศึกษาเฉพาะทาง เป็นการจัดการบริการการศึกษาที่มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความสามารถ เฉพาะงานหรืองานเฉพาะอย่าง เพื่อให้บุคคลสามารถทางานในสานักงาน หรือการเตรียมเป็นเจ้าหน้าที่ทั้ง ส่วนงานภาครัฐ และภาคเอกชน 5) ศาสนศึกษา เป็นการจัดการศึกษาที่เตรียมผู้เรียนให้มีความรู้สึกเกี่ยวกับศาสนาและวิชาอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง และสามารถแสดงบทบาทของผู้มีความรู้ด้านศาสนาเป็นอย่างดี
  • 13. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 12 6) วิชาการศึกษา เป็นการจัดการศึกษาที่มีเป้าหมายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถด้าน วิทยาศาสตร์ 7) การศึกษาระดับวิชาชีพเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถระดับมือ อาชีพ ที่มีความสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะเข้าด้วยกัน และปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพในวิชาชีพ ชั้นสูง นอกจากรูปแบบการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาทั่วไปสาหรับเด็ก ปกติ และการศึกษาพิเศษสาหรับเด็กพิการแล้ว ก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาซึ่งเป็น โรงเรียนศาสนาอิสลาม จัดการศึกษาโดยกระทรวงศาสนาโดยใช้ชื่อเรียกว่า Madrasah Ibtidaiyah หรือMI วุฒิที่ได้รับจะเทียบเท่ากับวุฒิที่ได้จากโรงเรียนประถมศึกษาทั่วไป และมีโรงเรียนศาสนาอิสลามระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นด้วย ซึ่งใช้ชื่อเรียกว่า Madrasah Tsanawlyah หรือ MTs วุฒิที่ได้ก็เทียบเท่ากับวุฒิที่ได้ จากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นทั่วไปเช่นเดียวกัน หลักสูตรการเรียนการสอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื้อหาวิชาแกนของการศึกษาขั้นพื้นฐานทุก หลักสูตรทุกสถานศึกษาจะประกอบด้วย เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาปัญจศีล (การศึกษาระบบความคิด หรือ มโนคติวิทยา) วิชาศาสนา วิชาพลเมือง วิชาภาษาอินโดนีเซีย วิชาการอ่านและการเขียนวิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเบื้องต้น วิชาภูมิศาสตร์ วิชาประวัติศาสตร์ชาติและประวัติศาสตร์โลก วิชา หัตถกรรมและศิลปะ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพและสุขศึกษา วิชาวาดเขียน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชา ท้องถิ่นศึกษาเนื้อหาเหล่านี้ไม่ได้บ่งบอกเพียงชื่อวิชาเท่านั้น สิ่งที่มากกว่านั้นก็คือ บ่งชี้ว่าเป็นการศึกษา เนื้อหาสาระที่ต้องการมุ่งเน้นการสร้างบุคลิกภาพและองค์ประกอบของความสามารถในด้านต่างๆของ ทรัพยากรมนุษย์ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการสอนในโรงเรียนผ่านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้การจัดการศึกษาจัด แนวบูรณาการหลากหลายวิชาเชื่อมโยงเนื้อหาซึ่งกันและกัน ไม่เน้นการสอนเนื้อหารายวิชาใดวิชาหนึ่ง อย่างเดี่ยวๆ โดยไม่มีการเชื่อมโยงกับวิชาใดอินโดนีเซียมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยด้วย โดยมีเป้าหมาย หลักของการศึกษาปฐมวัยคือการพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กต้องออกมาจากบ้านจาก ครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียน การจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู้ ทักษะ และความคิดริเริ่ม รูปแบบของการศึกษาปฐมวัยที่ได้ผลดี ได้แก่ การจัดการศึกษาในโรงเรียนอนุบาล หรือ สถานอบรมเด็กเล็ก และการเล่นเป็นกลุ่ม เราจะเห็นได้ว่า การเรียนในโรงเรียนอนุบาลนั้นเป็นส่วนหนึ่ง ของการศึกษาในระบบ ขณะที่การเรียนรู้จากการเล่นเป็นกลุ่มนั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษานอกระบบ
  • 14. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 13 การจัดการศึกษาก่อนวัยเรียนนี้เป็นการจัดการศึกษาให้กับเด็กอายุระหว่าง 4-6 ขวบ ระยะเวลาเรียน 1-2 ปี ขณะที่การเรียนรู้โดย “การเล่นเป็นกลุ่ม” จัดให้กับเด็กอายุ 3 ขวบและต่ากว่า 3 ขวบ การอาชีวศึกษา ในฐานะการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นการศึกษาสายอาชีวศึกษา ประกอบด้วยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อ บริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ปี และ 4 ปี แบ่งเป็น 6 กลุ่ม วิชา คือ 1. การเกษตรกรรม และการป่าไม้ 2. เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม 3. ธุรกิจ และการจัดการ 4. สวัสดิการสังคม 5. การท่องเที่ยว 6. ศิลปะ และหัตถกรรม การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เน้นการขยายความรู้ การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียน สาหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ กระทรวงศึกษาฯ ได้จัดตั้ง “โปรแกรมการฝึกอบรมผู้ฝึกงานระบบทวิภาคี” ซึ่งมีลักษณะเป็นการศึกษาในระบบทวิภาคี หมายถึง การจัดมวลประสบการณ์ตามหลักสูตรร่วมกันระหว่างส่วนฝึกอบรมหรือสถานศึกษากับสถาน ประกอบการ เพื่อฝึกฝนให้ผู้เรียนหรือผู้ฝึกงานมีความรู้ในเชิงทฤษฎี และมีทักษะที่จะปฏิบัติงานได้จริง อัน เป็นปรัชญาของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาอย่างแท้จริงอย่างไรก็ตาม ความสาเร็จในการจัดหลักสูตรการ เรียนรู้ในระบบนี้ต้องอาศัยความร่วมมือและความเข้าใจในปรัชญาทวิภาคีของทั้งสองฝ่ายคือ สถาน ประกอบการและสถาบันการศึกษา เพื่อจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายสมตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้ การอุดมศึกษา ในฐานะการศึกษาขั้นสูงต่อจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา อินโดนีเซียแบ่ง การศึกษาในส่วนนี้ออกเป็นระดับประกาศนียบัตร 3 ปี ระดับปริญญาตรี 4 ปี ระดับปริญญาโท 2ปี ระดับ ปริญญาเอก 3 ปี โดยสถาบันระดับอุดมศึกษานั้นมีหลายแบบ เช่น สถาบันโพลีเทคนิคโรงเรียนการศึกษา ขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างความ เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุ่งพัฒนาความสามารถในเชิง ปฏิบัติการ
  • 15. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 14 การศึกษานอกระบบ การศึกษานอกโรงเรียน เป็นกิจกรรมการสอนและการเรียนรู้ซึ่งยืดหยุ่น อาจจะมีหรือไม่มีระดับชั้นและความต่อเนื่อง มีทั้งการศึกษาวิชาทั่วไป ศาสนศึกษา การศึกษาเพื่อการ บริการเฉพาะ อาชีวศึกษา รวมทั้งกลุ่มการศึกษาทั้งชุด A และชุด B (Paket A,B) หลักสูตรเสริมรายได้หรือ อื่นๆ ที่สามารถศึกษาได้เช่น การฝึกงาน อินโดนีเซียให้ความสาคัญกับการศึกษาเรียนรู้ในครอบครัวด้วย โดยถือว่าเป็นการศึกษานอก ระบบโรงเรียน ซึ่งได้ปลูกฝังค่านิยมทางศาสนาวัฒนธรรม ศีลธรรม และทักษะ การศึกษาเช่นนี้เกิดขึ้นนอก ระบบโรงเรียนแต่อยู่ในระบบการศึกษาของชาติโดยรวม ซึ่งรัฐมีแนวโน้มที่จะให้ความสาคัญมากขึ้น พัฒนาการทางการศึกษาในภาพรวม การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในการจัดระบบการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียได้เกิดขึ้นเมื่อ อินโดนีเซียได้ประกาศอิสรภาพจัดตั้งสาธารณรัฐ พร้อมรัฐธรรมนูญในปี ค.ศ.1945 หลังจากนั้นรัฐบาลก็ได้ ดาเนินการปฏิรูปการศึกษาจนมีระบบการศึกษาที่มั่นคง และเป็นแบบแผนการศึกษาของรัฐในปัจจุบัน โดย พระราชปัญญัติการศึกษา ค.ศ. 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษา ค.ศ. 2003 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว นับว่ามีผลกระทบต่อการศึกษาทางศาสนาต่างๆ ในประวัติศาสตร์ของอินโดนีเซียด้วย และในทางกลับกัน ศาสนาก็มีผลต่อการจัดระบบทางการศึกษาของประเทศปฏิสัมพันธ์หลักระหว่างศาสนากับการจัดระบบ ทางการศึกษาอันเป็นที่มาของโครงสร้างระบบการศึกษาที่ลักษณะเด่นเฉพาะของอินโดนีเซีย เป็น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาศาสนาแบบดั้งเดิมของศาสนาอิสลาม ซึ่งกลายมาเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ ในประเทศ หลังจากสิ้นอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่16 กับรัฐชาติที่เกิดจากการปลดปล่อยตนเอง จากลัทธิล่าอาณานิคม และความพยายามปรับตัวในโลกปัจจุบัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การวางแผนพัฒนาประเทศแสดงถึงบทบาทในการปกครองของรัฐที่มีผลกระทบต่อประชาชน ทั้งหมดอย่างกว้างขวาง ในทางการเมือง การกาหนดแผนพัฒนาของรัฐจะเป็นที่ยอมรับประกาศใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาประเทศ ได้ผ่านกระบวนการกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองและมวลชนตาม สถานการณ์เฉพาะของประเทศ อินโดนีเซียประกาศใช้แผนพัฒนาประเทศเป็นแผนพัฒนา 5 ปี เรียกว่า Rencana Pembangunan Lima Tahun หรื อแผนพัฒนา 5 ปี เรี ยกโดยย่อว่าREPELITA แผนแรก (REPELITA I) เริ่มใช้ในช่วงปี ค.ศ. 1969/70-1973/74 ปัจจุบันเป็ นช่วงแผนที่ 8(ค.ศ. 2003/2004- 2007/2008)พิจารณาจากแผนเหล่านี้จะเห็นว่า สาระของแผนแรกเน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก แผนต่อๆ มาให้ความสาคัญกับภาคอุตสาหกรรม และคุณภาพชีวิตโดยอาศัยการ
  • 16. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 15 จัดการด้านการศึกษา สาธารณสุข สวัสดิการ และการวางแผนครอบครัว อย่างไรก็ตามการพัฒนาเศรษฐกิจ ยังปรากฏเป็นหลักในทุกแผน อันที่จริงรัฐบาลดัตช์และรัฐบาลญี่ปุ่ นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการประกาศเอกราชและ รัฐธรรมนูญในปี 1945 ก็พยายามเสนอแนวทางพัฒนาโดยเน้นเศรษฐกิจ แต่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม ทั่วไป เนื่องจากเกรงว่า การพัฒนาเป็นกลวิธีแสวงหาประโยชน์ของนักล่าอาณานิคม แนวการพัฒนา ประเทศในระยะต้นก่อนปี 1970 จึงเป็นเรื่อง “อิสรภาพ” และ “การปฏิวัติ” ขบวนการหนึ่งที่แสดงอานาจ เข้มแข็งและกว้างขวางในการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ของการประกาศอิสรภาพในปี 1945 คือกลุ่มสถาบันการศึกษาศาสนาอิสลามแบบดั้งเดิมที่เรียกว่าเปอซัน เตรน (Pesantren) หรือ ปอเนาะ (Pondok ) กลุ่มนี้ได้ออกคาประกาศตัดสินที่เรียกว่า“ฟัตวา” ให้มุสลิมลุก ขึ้นปฏิบัติการต่อสู้ที่เรียกว่า “ญิฮาด” กับนักล่าอาณานิคม ต่อมามีคาว่า “การทาให้ทันสมัย” (modernization) เข้ามาแทนที่ แม้จะมีทรรศนะท้วงติงว่า แผนพัฒนาของรัฐช่วงแรกเป็นการเติบโตทาง เศรษฐกิจเกินไป จนเป็นเหตุให้ประเทศพึ่งต่างชาติเกินไป แต่องค์กรพัฒนาเอกชนก็เคลื่อนไหวโดยได้แรง หนุนจากมุสลิม คริสเตียน และคาทอลิก ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับชุมชนโดยถือหลักการมีส่วนร่วม (participation) ความเป็นอิสระ (autonomy) และการพึ่งตนเอง (selfreliance)กลุ่มเหล่านี้บางกลุ่มได้รับ อิทธิพลจากแนวคิดสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และเทววิทยาแห่งการปลดปล่อย (Liberation Theology) ของ ขบวนการชาวคริสต์ในละตินอเมริกสต์ในละตินอเมริกยากรมนุษย์จัดเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สาคัญของ การพัฒนาประเทศของรัฐบาลอินโดนีเซีย ด้วยความตระหนักถึงการพัฒนาคนให้มีการศึกษาในระดับที่ สามารถเป็นแรงสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติให้ไปด้วยกันได้อย่างดี รัฐบาล อินโดนีเซียจึงได้กาหนดโครงการการศึกษาภาคบังคับ9 ปี ตั้งแต่ปี 1994 เป็นต้นมา โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อ เตรียมคนให้พร้อมกับระบบการค้าเสรีหรือพร้อมเข้าสู่ตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการ แข่งขันในเวทีเอเปคและเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area – AFTA) แต่อย่างไร ก็ดี ในช่วงแรกรัฐบาลอินโดนีเซียต้องเผชิญกับข้อจากัดต่างๆมากมายที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษา อาทิ อัตราของเด็กวัย 7 – 15 ปีไม่ได้รับการศึกษาเป็นจานวนที่สูงมาก รวมไปถึงจานวนนักเรียนสอบตกและ นักเรียนที่จบชั้นประถมแล้วไม่ยอมเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ/ ระบบการศึกษา ระบบและการบริหารการศึกษาของอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากรัฐธรรมนูญ ปี 1945 (พ.ศ.2488) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของรัฐดังที่ปรากฏในหลักปัญจศีล รัฐธรรมนูญ ปี 1945 บทที่ 2 มาตรา31 ระบุว่า “(1) พลเมืองทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการศึกษา และ (2) รัฐบาลจะต้องจัดตั้งและดาเนินการระบบการศึกษาของ
  • 17. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 16 ชาติ ซึ่งอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติ” กฎหมายรัฐธรรมนูญได้เป็นที่มาของการปฏิรูปและการปรับปรุง การศึกษาโดยตลอดมาตราบจนปัจจุบัน ทั้งในเรื่องหลักการ แนวทางปฏิบัติ และกฎระเบียบปลีกย่อยต่างๆ ในการจัดการศึกษา นอกจากนั้นการศึกษายังได้ปรับไปตามแผนพัฒนาห้าปี(Repelita) ซึ่งแผนที่เน้นเรื่อง การศึกษามากที่สุดคือแผนพัฒนาที่ 3 (1994/95-1998/99) ที่กาหนดยุทธวิธีการพัฒนาการศึกษาไว้ 4 ประการ ได้แก่ 1. ความเสมอภาคโอกาสทางการศึกษา 2. การตอบสนองความจาเป็นทางการศึกษา 3. คุณภาพของการศึกษา และ 4. ประสิทธิภาพของการศึกษา แผนพัฒนาที่ 8 (ค.ศ. 2003/2004-2007/2008) สาระสาคัญเน้นไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจและ ทรัพยากรมนุษย์ในฐานะที่เป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจอีกทีหนึ่ง ในแผนพัฒนาประกอบไปด้วย เป้าหมายการพัฒนาในด้านต่างๆ แต่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางการศึกษาจะอยู่ในโครงการพัฒนาสอง ส่วน คือส่วนที่ว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์( HumanResources Development) โดยระบุว่า ในยุคที่มี การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง สิ่งที่ต้องเกิดขึ้นไป พร้อมๆกันคือการมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งการพัฒนาเพื่อให้ได้ทรัพยากร มนุษย์ที่มีคุณสมบัติดังกล่าว จาเป็นต้องพัฒนาในทุก ๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านศาสนา บุคลิกภาพ สุขภาพ สวัสดิการ การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมุทรศาสตร์และการบินอีกส่วนหนึ่งระบุอยู่ในส่วนของ แผนพัฒนา Center for Building the Training and Educationof Development Planning ซึ่งมีใจความสาคัญ ว่า เพื่อที่จะยกระดับการแข่งขันและความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้น จึงให้การสนับสนุนบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการวางแผนเพื่อพัฒนา ให้มีโอกาสได้ศึกษาต่อในระดับสูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมงานด้านการพัฒนาควบคู่กันไปด้วย ระบบการศึกษาของรัฐ กระบวนการจัดการศึกษาอิงระบบโครงสร้างการศึกษาที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษา ปี 1989 และพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 รัฐบาลอินโดนีเซียได้คานึงถึงความสาคัญของกระบวนการ เรียนรู้ทุกลักษณะครอบคลุมการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดย จาแนกเป็นการศึกษาในโรงเรียน (school education) กับการศึกษานอกโรงเรียน(out-of-school education) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปี 2003 แบ่งระดับการศึกษาในโรงเรียนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่
  • 18. รายงานการศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย นางสาวปาณิสรา สิงหพงษ์ รหัสนักศึกษา 11547020800106 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา 17 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการศึกษาภาคบังคับมี 3 ระดับได้แก่ 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา (Sekolah Dasar) ให้การศึกษาพื้นฐาน 6 ปี สาหรับนักเรียนอายุ 7-12 ปี 1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จัดการศึกษา 3 ปี สาหรับนักเรียนอายุ13-15ปี 1.3 โรงเรียนพิเศษจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนที่มีปัญหาความผิดปกติทางด้านร่างกายและ จิตใจการศึกษาขั้นพื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นสมาชิกของ สังคม พลเมือง และมนุษยชาติโดยรวมทั้งสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป 2. การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษา เป็นการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี สาหรับสาย สามัญ และ 3-4 ปี สาหรับสายอาชีวศึกษา ประกอบด้วยการศึกษาในโรงเรียนสามัญ โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนศาสนา โรงเรียนการศึกษาเพื่อบริการเฉพาะ และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนอาชีวศึกษา มีหลักสูตร 3 ปี และ 4 ปี แบ่งเป็น 6 กลุ่มวิชาคือ 1. การเกษตรกรรม และการป่าไม้ 2. เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม 3. ธุรกิจ และการจัดการ 4. สวัสดิการสังคม 5. การท่องเที่ยว 6. ศิลปะ และหัตถกรรม การศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเน้นการขยายความรู้ การพัฒนาทักษะ และการเตรียมนักเรียน สาหรับศึกษาขั้นสูง หรือมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาขั้นสูงต่อจากการศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาเป็น ระดับประกาศนียบัตร 3 ปี ระดับปริญญาตรี 4 ปี ระดับปริญญาโท 2 ปี ระดับปริญญาเอก 3 ปี สถาบัน ระดับอุดมศึกษามีหลายแบบ เช่น สถาบันโพลีเทคนิค โรงเรียนการศึกษาขั้นสูง สถาบัน และมหาวิทยาลัย การศึกษาขั้นสูงในสายวิชาการมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาการ เทคโนโลยี และการวิจัยการศึกษาทางสายอาชีพมุ่งพัฒนาความสามารถในเชิงปฏิบัติการ นอกเหนือจากการศึกษาทั้ง 3 ระดับดังกล่าวแล้วก็ยังมีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยด้วย เป้าหมายหลักของการศึกษาปฐมวัยคือ การพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจของนักเรียน เมื่อเด็กต้องออกมา จากบ้านจากครอบครัวมาเข้าสังคมที่โรงเรียนการจัดการศึกษาระดับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อม ของผู้เรียนก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา เป็นการเตรียมการพัฒนาการขั้นพื้นฐาน พัฒนาทัศนคติ ความรู้