SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 1
ข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินกำร
จำกตัวอย่ำงที่นักเรียนได้ฝึกเขียนโปรแกรมนั้น มีกำรใช้ข้อมูลในหลำยรูปแบบ โดยที่ข้อมูลสำมำรถนำมำใช้
คำนวณ และประมวลผล ซึ่งอยู่ในรูปของตัวแปรเพื่อเก็บค่ำข้อมูล สำมำรถอธิบำยได้ดังนี้
ชนิดข้อมูล (Data Types)
- Numeric ข้อมูลที่มีค่ำเป็นตัวเลข ทั้งจำนวนเต็ม และทศนิยม
- String ข้อมูลที่เป็นอักขระ และข้อควำม
- DateTime ข้อมูลในรูปแบบวันเดือนปี เวลำ
- Boolean ข้อมูลที่มีค่ำเป็นจริง (True) หรือเป็นเท็จ (False)
ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม
ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล
byte 1 0 ถึง 255
sbyte 1 -128 ถึง 127
short 2 -32,768 ถึง 32,767
ushort 2 0 ถึง 65,535
int 4 -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
unit 4 0 ถึง 4,294,967,295
long 8 -9,223,372,036,854,755,808 ถึง 9,223,372,036,854,755,807
ulong 8 0 ถึง 18,446,744,073,709,551,615
เมื่อต้องกำรระบุชนิดข้อมูลให้ชัดเจน สำมำรถเติมตัวอักษรต่อท้ำยจำนวนเต็ม เพื่อให้คอมไพเลอร์สำมำรถ
จัดกำรกับชนิดข้อมูลได้ถูกต้องตรงตำมควำมต้องกำร เช่น
- Unit เติมตัวอักษร U ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345U เป็นต้น
- long เติมตัวอักษร L ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345L เป็นต้น
- ulong เติมตัวอักษร UL ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345UL เป็นต้น
ข้อมูลชนิดจำนวนทศนิยม
ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล
float 4 -3.402823 X 1038
ถึง 3.402823 X 1038
double 8 -1.79769313486232 X 10308
ถึง 1.79769313486232 X 10308
เมื่อต้องกำรอ้ำงอิงกำรใช้ 10 ยกกำลัง สำมำรถเขียนในเชิงวิทยำศำสตร์ที่ใช้ตัว “E” หรือ “e” แทนได้
ตัวอย่ำง
- 1.23E+4 หรือ 1.23e+4 หมำยถึง 1.23 X 104 หรือเท่ำกับ 12,300
- 1.23E-2 หรือ 1.23e-2 หมำยถึง 1.23 X 10-2 หรือเท่ำกับ 0.0123
ข้อมูลชนิดตัวเลข decimal มีหน่วยควำมจำขนำด 16 ไบต์ (byte) เก็บค่ำจำนวนเต็มได้ระหว่ำง
-79,228,162,514,264,337,593,543,950,335 ถึง 79,228,162,514,264,337,593,543,950,335 และเก็บค่ำ
ทศนิยมได้ระหว่ำง -7.9228162514264337593543950335 ถึง 7.9228162514264337593543950335 ซึ่งเก็บ
ค่ำทศนิยมได้ 28 ตำแหน่ง
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 2
ข้อมูลชนิดตรรกะ
ข้อมูลชนิดตรรกะ หรือ bool ใช้เก็บข้อมูลด้ำนตรรกศำสตร์ คือ ค่ำจริง (True) และค่ำเท็จ (False)
ข้อมูลชนิดตัวอักษรและข้อควำม
ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ
(byte)
ขอบเขตข้อมูล
char 2 ตัวอักษรหนึ่งตัว เก็บแบบ Unicode
ใช้เครื่องหมำย Single Quote ครอบตัวอักษร
ตัวอย่ำง ‘O’ ‘K’
string ตำมควำมยำวข้อควำม ข้อควำม ตั้งแต่ 0 ถึง 231 (ประมำณสองพันล้ำนตัวอักษร)
ใช้เครื่องหมำย Double Quote ครอบข้อควำม
ตัวอย่ำง “My game by Visual C#” “ยินดีต้อนรับสู่เกมของเรำ”
ข้อมูลชนิดวันเวลำ
ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ
(byte)
ขอบเขตข้อมูล
Date 8 วันเวลำ ตั้งแต่ 00:00:00 ของวันที่ 1 มกรำคม ค.ศ.0
ถึง 23:59:59 ของวันที่ 31 ธันวำคม ค.ศ.9999
ตัวแปร (Variable)
ตัวแปร (Variable) เป็นกำรอ้ำงถึงข้อมูล ด้วยค่ำของตัวแปร สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลำที่โปรแกรม
ทำงำน ทั้งนี้ตัวแปรทุกตัวต้องถูกประกำศ ก่อนนำมำใช้ และต้องระบุชนิดข้อมูลที่จะใช้กับตัวแปร
หลักกำรตั้งชื่อตัวแปร
- ต้องขึ้นต้นชื่อด้วยตัวอักษรเท่ำนั้น
- ตัวอักษรพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ แตกต่ำงกัน (Case Sensitive)
- ควรตั้งชื่อให้สื่อควำมหมำยและสำมำรถบอกชนิดของตัวแปรได้ด้วย เช่น intAge
- ตัวอักษรแรกของคำต่อไปใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น strFirstName
- ห้ำมตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word)
คำสงวน
abstract as base bool break byte
case catch char checked class const
continue decimal default delegate do double
else enum event explicit extern false
finally fixed float for foreach get
goto if implicit in int interface
internal is lock long namespace new
null object operator out override params
partial private protected public readonly ref
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 3
return sbyte sealed set short sizeof
stackalloc static string struct switch this
throw true try typeof uint ulong
unchecked unsafe ushort using value virtual
void volatile where while yield
กำรประกำศตัวแปร
ในภำษำ Visual C# มีรูปแบบกำรประกำศตัวแปร ดังนี้
TypeOfVariable Variable_Name [= initialize_value];
โดย TypeOfVariable คือ ชนิดข้อมูล ซึ่งต้องกำหนดทุกครั้ง
Variable_Name คือ ชื่อตัวแปร ซึ่งต้องกำหนดทุกครั้ง
initialize_value คือ ค่ำที่กำหนดให้ตัวแปร กำหนดหรือไม่กำหนดก็ได้
ตัวอย่ำงกำรประกำศตัวแปรพร้อมกำหนดค่ำ
ตัวดำเนินกำร (Operator)
ตัวดำเนินกำรมีหน้ำที่ในกำรคำนวณหรือหำผลลัพธ์ที่เกิดจำกกำรกระทำ ซึ่งแบ่งตำมข้อมูลที่มี ตัว
ดำเนินกำรคั่นกลำง (Operand) ได้ 3 ประเภท ได้แก่
1. Unary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand เพียงตัวเดียว
2. Binary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand สองตัว ซึ่งเป็นรูปแบบที่พบมำกที่สุด
3. Ternary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand สำมตัว
และแบ่งตัวดำเนินกำรตำมรูปแบบกำรใช้งำน ได้ดังนี้
1. ตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operator) ได้แก่
ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ เมื่อ a = 5, b = 3 ผลลัพธ์ที่ได้
+ บวก a + b 8
- ลบ a – b 2
* คูณ a * b 15
/ หำร a / b 1.67
% หำเศษจำกกำรหำร a % b 2
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 4
จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ ดังนี้
a + b แทนค่ำ 5 + 3 ผลลัพธ์คือ 8
a – b แทนค่ำ 5 - 3 ผลลัพธ์คือ 2
a * b แทนค่ำ 5 * 3 ผลลัพธ์คือ 15
a / b แทนค่ำ 5 / 3 ผลลัพธ์คือ 1.67
a % b แทนค่ำ 5 / 3 ผลลัพธ์ 2 (เศษที่ได้จำกกำรหำร)
ถ้ำมีกำรใช้ตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์มำกกว่ำหนึ่งตัว จะเรียงลำดับกำรดำเนินกำร ดังนี้
ลำดับแรก คือ ( ) ลำดับที่สอง คือ * / % และลำดับสุดท้ำย คือ + และ -
2. ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ (Comparison Operator) ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True หรือ False
ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ เมื่อ a = 5, b = 3 ผลลัพธ์ที่ได้
= = เท่ำกับ a = = b False
! = ไม่เท่ำกับ a ! = b True
< น้อยกว่ำ a < b False
< = น้อยกว่ำ หรือเท่ำกับ a < = b False
> มำกกว่ำ a > b True
> = มำกกว่ำ หรือเท่ำกับ a > = b True
จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ ดังนี้
a = = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a เท่ำกับ b
a ! = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a ไม่เท่ำกับ b
a < b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่ำ b
a < = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ b
a > b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a มำกกว่ำ b
a > = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a มำกกว่ำหรือเท่ำกับ b
3. ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ (Logical Operator) ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True หรือ false เท่ำนั้น
ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้
เมื่อ a = True, b = False
ผลลัพธ์ที่ได้
! นิเสธ (Negation) !a False
&& และ (And) a && b False
| | หรือ (Or) a | | b True
^ Exclusive Or a ^ b True
จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ ดังนี้
!a ผลลัพธ์ คือ นิเสธของ a ซึ่งมีค่ำควำมจริงตรงข้ำมกับ a เมื่อ a เป็น True ผลลัพธ์จึงเป็น False
a && b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a และ b ต่ำงเป็นจริง
a | | b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a หรือ b เป็นจริง
a ^ b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a กับ b มีค่ำควำมจริงต่ำงกัน
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 5
4. ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ และลดค่ำ ดังนี้
ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำขึ้น 1 ค่ำ คือ + + ตัวอย่ำง a + + หมำยถึง a = a + 1
ตัวดำเนินกำรลดค่ำลง 1 ค่ำ คือ - - ตัวอย่ำง a - - หมำยถึง a = a - 1
ทั้งนี้กำรวำงตำแหน่งของตัวดำเนินกำรมีควำมหมำยต่ำงกัน ถ้ำนำตัวดำเนินกำรไว้ด้ำนหน้ำ เรียกว่ำ
Prefix แต่ถ้ำนำตัวดำเนินกำรไว้ด้ำนหลัง เรียกว่ำ Postfix ตัวอย่ำงเมื่อ b = 10
a = b + + เป็นกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a ก่อนเพิ่มค่ำให้ตัวแปร b
จะได้ a = b แล้วจึง b = b + 1
ผลลัพธ์ของ a คือ 10
ผลลัพธ์ของ b คือ 11
a = + + b เป็นกำรเพิ่มค่ำให้ตัวแปร b ก่อนกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a
จะได้ b = b + 1 แล้วจึง a = b
ผลลัพธ์ของ a คือ 11
ผลลัพธ์ของ b คือ 11
a = b - - เป็นกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a ก่อนลดค่ำให้ตัวแปร b
จะได้ a = b แล้วจึง b = b – 1
ผลลัพธ์ของ a คือ 10
ผลลัพธ์ของ b คือ 9
a = - - b เป็นกำรลดค่ำให้ตัวแปร b ก่อนกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a
จะได้ b = b - 1 แล้วจึง a = b
ผลลัพธ์ของ a คือ 9
ผลลัพธ์ของ b คือ 9
5. ตัวดำเนินกำรกำหนดค่ำ เมื่อ a = 5 และ b = 3 ดังนี้
ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ ผลลัพธ์ที่ได้
= กำหนดค่ำ a = b เป็นกำรนำค่ำ b ให้ a 3
+ = เพิ่มค่ำ แล้วกำหนดค่ำ a + = b มีค่ำเท่ำกับ a = a + b 8
- = ลดค่ำ แล้วกำหนดค่ำ a - = b มีค่ำเท่ำกับ a = a - b 2
* = คูณ แล้วกำหนดค่ำ a * = b มีค่ำเท่ำกับ a = a * b 15
/ = หำร แล้วกำหนดค่ำ a / = b มีค่ำเท่ำกับ a = a / b 1.67
% = หำเศษจำกกำรหำร แล้วกำหนดค่ำ a % = b มีค่ำเท่ำกับ a = a % b 2
ถ้ำเป็น String เครื่องหมำย + คือกำรนำ String 2 ค่ำมำต่อกัน (Concatenate) เช่น a + b ผลลัพธ์คือ ab
กำรเขียนคำอธิบำยโปรแกรม
เมื่อต้องกำรเขียนคำอธิบำยโปรแกรม สำมำรถทำได้ 2 วิธี คือ
1. คำอธิบำยหนึ่งบรรทัด ใช้เครื่องหมำย // นำหน้ำข้อควำมที่ต้องกำรอธิบำย
2. คำอธิบำยมำกกว่ำหนึ่งบรรทัด ใช้เครื่องหมำย /* นำหน้ำข้อควำม และปิดด้วยเครื่อง */
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 6
กำรแปลงชนิดข้อมูล
ในกำรทำงำน เรำไม่สำมำรถนำข้อมูลต่ำงชนิดมำทำงำนร่วมกันได้ จึงต้องทำกำรแปลงให้เป็นข้อมูล
ชนิดเดียวกัน จึงสำมำรถทำได้ดังนี้
Method หมำยถึง ตัวอย่ำงกำรใช้
int.Parse(ข้อควำม); แปลงข้อมูลชนิดตัวอักษร
(String) ให้เป็นข้อมูลชนิด
ตัวเลขจำนวนเต็ม (int)
a = int.Parse(textBox1.Text) หมำยถึง
แปลงข้อมูลชนิด String ที่รับจำก textBox1
เป็นข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็ม และเก็บค่ำในตัว
แปร a
b = int.Parse(“999”); หมำยถึง แปลงข้อมูล
ชนิด String “999” ให้เป็นตัวเลข 999 แล้วเก็บ
ค่ำในตัวแปร b
double.Parse(ข้อควำม); แปลงข้อมูลชนิดตัวอักษร
(String) ให้เป็นข้อมูล
ตัวเลขทศนิยม (double)
c = double.Parse(textBox1.Text); หมำยถึง
แปลงข้อมูล String ที่รับจำก textBox1 เป็น
ข้อมูลตัวเลขทศนิยม และเก็บค่ำในตัวแปร c
d = double.Parse(“99.99”); หมำยถึง แปลง
ข้อมูล String “99.99” เป็นตัวเลขทศนิยม
99.99 แล้วเก็บค่ำในตัวแปร d
ToString(); แปลงชนิดข้อมูลให้เป็น
ชนิดตัวอักษร (String)
int e = 50;
textBox1.Text = e.ToString(); หมำยถึง
แปลงชนิดข้อมูล int ซึ่งคือตัวเลข 50 ให้เป็น
ข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) แล้วแสดงผลใน
textBox1 เนื่องจำก textbox สำมำรถแสดงผล
เฉพำะข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) เท่ำนั้น
DateTime.Now.Tostring(); แปลงข้อมูลชนิดวันเวลำ
(DateTime) ให้เป็นชนิด
ตัวอักษร (String)
f = DateTime.Now.ToString(); หมำยถึง
แปลงข้อมูลวันเวลำปัจจุบันให้เป็นข้อมูลชนิด
ตัวอักษร แล้วเก็บค่ำในตัวแปร f
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 7
ออนไลน์ 1  นักเรียนพิจำรณำชื่อตัวแปรที่กำหนดให้ว่ำถูกต้องตำมกฎกำรตั้งชื่อตัวแปรหรือไม่
พร้อมเหตุผล
ชื่อตัวแปร ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง เหตุผลที่ไม่ถูกต้อง
aaa
string
a_b
007james
Compu9
ออนไลน์ 2  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกกำรใช้ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ เมื่อ a = 5 b = 10
ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ที่ได้
a = = b
a ! = b
a < b
a < = b
a > b
a > = b
ออนไลน์3  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกกำรใช้ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ เมื่อ a = False b = True
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ ผลลัพธ์ที่ได้
!a
a && b
a | | b
a ^ b
ท้ ำ ท ำ ย
โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 8
ออนไลน์ 4  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ ลดค่ำและ String เมื่อ a = 25 และ b = 35
ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ ลดค่ำ และ String ผลลัพธ์ที่ได้
a = b + +
a = + + b
a = b - -
a = - - b
a + b
ออนไลน์ 5  นักเรียนพิจำรณำและอธิบำยกำรแปลงข้อมูลตำมตัวอย่ำงที่ให้
ตัวอย่ำงกำรแปลงข้อมูล คำอธิบำย
g = int.Parse(textBox1.Text);
h = int.Parse(“111”);
i = double.Parse(textBox1.Text);
j = double.Parse(“99.99”);
int k = 10; textBox1.Text = k.ToString();
l = DateTime.Now.ToString();

More Related Content

What's hot

Java database connectivity with MYSQL
Java database connectivity with MYSQLJava database connectivity with MYSQL
Java database connectivity with MYSQLAdil Mehmoood
 
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | Edureka
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | EdurekaWhat Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | Edureka
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | EdurekaEdureka!
 
Programação Orientação a Objetos - Herança
Programação Orientação a Objetos - HerançaProgramação Orientação a Objetos - Herança
Programação Orientação a Objetos - HerançaDaniel Brandão
 
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018Spring Security e Spring Boot Aula - 2018
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018André Luiz Forchesatto
 
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring Boot
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring BootConcevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring Boot
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring BootDNG Consulting
 
Présentation de JEE et de son écosysteme
Présentation de JEE et de son écosystemePrésentation de JEE et de son écosysteme
Présentation de JEE et de son écosystemeStéphane Traumat
 
Tester unitairement une application java
Tester unitairement une application javaTester unitairement une application java
Tester unitairement une application javaAntoine Rey
 
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHP
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHPUn exemple élémentaire d'application MVC en PHP
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHPKristen Le Liboux
 
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr Youssfi, ENSET, Université Ha...
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr  Youssfi, ENSET, Université Ha...Support de cours EJB 3 version complète Par Mr  Youssfi, ENSET, Université Ha...
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr Youssfi, ENSET, Université Ha...ENSET, Université Hassan II Casablanca
 
Introduction à JavaScript
Introduction à JavaScriptIntroduction à JavaScript
Introduction à JavaScriptAbdoulaye Dieng
 
ตัวอย่างการเขียน dfd
ตัวอย่างการเขียน dfdตัวอย่างการเขียน dfd
ตัวอย่างการเขียน dfdrubtumproject.com
 
Stored Procedures and Triggers
Stored Procedures and TriggersStored Procedures and Triggers
Stored Procedures and Triggersflaviognm
 

What's hot (20)

Java database connectivity with MYSQL
Java database connectivity with MYSQLJava database connectivity with MYSQL
Java database connectivity with MYSQL
 
Introdução ao neo4j
Introdução ao neo4jIntrodução ao neo4j
Introdução ao neo4j
 
Aula DFD - Revisão
Aula DFD - RevisãoAula DFD - Revisão
Aula DFD - Revisão
 
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | Edureka
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | EdurekaWhat Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | Edureka
What Is Java | Java Tutorial | Java Programming | Learn Java | Edureka
 
Programação Orientação a Objetos - Herança
Programação Orientação a Objetos - HerançaProgramação Orientação a Objetos - Herança
Programação Orientação a Objetos - Herança
 
React - Introdução
React - IntroduçãoReact - Introdução
React - Introdução
 
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018Spring Security e Spring Boot Aula - 2018
Spring Security e Spring Boot Aula - 2018
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring Boot
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring BootConcevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring Boot
Concevoir, développer et sécuriser des micro-services avec Spring Boot
 
Présentation de JEE et de son écosysteme
Présentation de JEE et de son écosystemePrésentation de JEE et de son écosysteme
Présentation de JEE et de son écosysteme
 
Tester unitairement une application java
Tester unitairement une application javaTester unitairement une application java
Tester unitairement une application java
 
Spring Data JPA
Spring Data JPASpring Data JPA
Spring Data JPA
 
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHP
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHPUn exemple élémentaire d'application MVC en PHP
Un exemple élémentaire d'application MVC en PHP
 
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr Youssfi, ENSET, Université Ha...
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr  Youssfi, ENSET, Université Ha...Support de cours EJB 3 version complète Par Mr  Youssfi, ENSET, Université Ha...
Support de cours EJB 3 version complète Par Mr Youssfi, ENSET, Université Ha...
 
Introduction à JavaScript
Introduction à JavaScriptIntroduction à JavaScript
Introduction à JavaScript
 
Hornet - 1.Conceitos de Mensageria
Hornet - 1.Conceitos de MensageriaHornet - 1.Conceitos de Mensageria
Hornet - 1.Conceitos de Mensageria
 
ตัวอย่างการเขียน dfd
ตัวอย่างการเขียน dfdตัวอย่างการเขียน dfd
ตัวอย่างการเขียน dfd
 
JAVA 8
JAVA 8JAVA 8
JAVA 8
 
Java Class Loader
Java Class LoaderJava Class Loader
Java Class Loader
 
Stored Procedures and Triggers
Stored Procedures and TriggersStored Procedures and Triggers
Stored Procedures and Triggers
 

Similar to ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Jakkree Eiei
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programmingPreaw Jariya
 
Computer programming
Computer programmingComputer programming
Computer programmingJariyaa
 
Variable Declaration & Constant
Variable Declaration  & ConstantVariable Declaration  & Constant
Variable Declaration & Constantsup11
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยfinverok
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาJK133
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 

Similar to ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ (16)

ชนิดของข้อมูลและตัวแปร
ชนิดของข้อมูลและตัวแปรชนิดของข้อมูลและตัวแปร
ชนิดของข้อมูลและตัวแปร
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
ผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภาผังงาน เจนนภา
ผังงาน เจนนภา
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programming
 
Computer programming
Computer programmingComputer programming
Computer programming
 
Variable Declaration & Constant
Variable Declaration  & ConstantVariable Declaration  & Constant
Variable Declaration & Constant
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ย
 
php
phpphp
php
 
C language
C languageC language
C language
 
C language
C languageC language
C language
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Naruemon Soonthong

กำหนดค่า Link label
กำหนดค่า Link labelกำหนดค่า Link label
กำหนดค่า Link labelNaruemon Soonthong
 
การสร้างเมนู ด้วย Menu strip
การสร้างเมนู ด้วย Menu stripการสร้างเมนู ด้วย Menu strip
การสร้างเมนู ด้วย Menu stripNaruemon Soonthong
 
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขคู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขNaruemon Soonthong
 
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขคู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขNaruemon Soonthong
 
Setup Project in Visual Studio C#
Setup Project in Visual Studio C#Setup Project in Visual Studio C#
Setup Project in Visual Studio C#Naruemon Soonthong
 
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรหลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรNaruemon Soonthong
 
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558Naruemon Soonthong
 
Eis m1 02principle of computer(2)
Eis m1 02principle of computer(2)Eis m1 02principle of computer(2)
Eis m1 02principle of computer(2)Naruemon Soonthong
 
Eis M1 01 principle of computer(1)
Eis M1 01 principle of computer(1)Eis M1 01 principle of computer(1)
Eis M1 01 principle of computer(1)Naruemon Soonthong
 

More from Naruemon Soonthong (18)

Register Animaker
Register AnimakerRegister Animaker
Register Animaker
 
IT Q & A
IT Q & AIT Q & A
IT Q & A
 
กำหนดค่า Link label
กำหนดค่า Link labelกำหนดค่า Link label
กำหนดค่า Link label
 
Setup project (csharp)
Setup project (csharp)Setup project (csharp)
Setup project (csharp)
 
การสร้างเมนู ด้วย Menu strip
การสร้างเมนู ด้วย Menu stripการสร้างเมนู ด้วย Menu strip
การสร้างเมนู ด้วย Menu strip
 
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขคู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
 
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลขคู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
คู่มือการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข
 
Setup Project in Visual Studio C#
Setup Project in Visual Studio C#Setup Project in Visual Studio C#
Setup Project in Visual Studio C#
 
switch case
switch caseswitch case
switch case
 
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรหลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
 
็Hello World! in C#
็Hello World! in C#็Hello World! in C#
็Hello World! in C#
 
Review Csharp
Review CsharpReview Csharp
Review Csharp
 
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558
คะแนนเก็บภาคเรียนที่ 1/2558
 
It1
It1It1
It1
 
M5 2 event driven programming
M5 2 event driven programmingM5 2 event driven programming
M5 2 event driven programming
 
Introduction to c sharp
Introduction to c sharpIntroduction to c sharp
Introduction to c sharp
 
Eis m1 02principle of computer(2)
Eis m1 02principle of computer(2)Eis m1 02principle of computer(2)
Eis m1 02principle of computer(2)
 
Eis M1 01 principle of computer(1)
Eis M1 01 principle of computer(1)Eis M1 01 principle of computer(1)
Eis M1 01 principle of computer(1)
 

ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ

  • 1. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 1 ข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินกำร จำกตัวอย่ำงที่นักเรียนได้ฝึกเขียนโปรแกรมนั้น มีกำรใช้ข้อมูลในหลำยรูปแบบ โดยที่ข้อมูลสำมำรถนำมำใช้ คำนวณ และประมวลผล ซึ่งอยู่ในรูปของตัวแปรเพื่อเก็บค่ำข้อมูล สำมำรถอธิบำยได้ดังนี้ ชนิดข้อมูล (Data Types) - Numeric ข้อมูลที่มีค่ำเป็นตัวเลข ทั้งจำนวนเต็ม และทศนิยม - String ข้อมูลที่เป็นอักขระ และข้อควำม - DateTime ข้อมูลในรูปแบบวันเดือนปี เวลำ - Boolean ข้อมูลที่มีค่ำเป็นจริง (True) หรือเป็นเท็จ (False) ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล byte 1 0 ถึง 255 sbyte 1 -128 ถึง 127 short 2 -32,768 ถึง 32,767 ushort 2 0 ถึง 65,535 int 4 -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 unit 4 0 ถึง 4,294,967,295 long 8 -9,223,372,036,854,755,808 ถึง 9,223,372,036,854,755,807 ulong 8 0 ถึง 18,446,744,073,709,551,615 เมื่อต้องกำรระบุชนิดข้อมูลให้ชัดเจน สำมำรถเติมตัวอักษรต่อท้ำยจำนวนเต็ม เพื่อให้คอมไพเลอร์สำมำรถ จัดกำรกับชนิดข้อมูลได้ถูกต้องตรงตำมควำมต้องกำร เช่น - Unit เติมตัวอักษร U ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345U เป็นต้น - long เติมตัวอักษร L ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345L เป็นต้น - ulong เติมตัวอักษร UL ต่อท้ำย ตัวอย่ำง 12,345UL เป็นต้น ข้อมูลชนิดจำนวนทศนิยม ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล float 4 -3.402823 X 1038 ถึง 3.402823 X 1038 double 8 -1.79769313486232 X 10308 ถึง 1.79769313486232 X 10308 เมื่อต้องกำรอ้ำงอิงกำรใช้ 10 ยกกำลัง สำมำรถเขียนในเชิงวิทยำศำสตร์ที่ใช้ตัว “E” หรือ “e” แทนได้ ตัวอย่ำง - 1.23E+4 หรือ 1.23e+4 หมำยถึง 1.23 X 104 หรือเท่ำกับ 12,300 - 1.23E-2 หรือ 1.23e-2 หมำยถึง 1.23 X 10-2 หรือเท่ำกับ 0.0123 ข้อมูลชนิดตัวเลข decimal มีหน่วยควำมจำขนำด 16 ไบต์ (byte) เก็บค่ำจำนวนเต็มได้ระหว่ำง -79,228,162,514,264,337,593,543,950,335 ถึง 79,228,162,514,264,337,593,543,950,335 และเก็บค่ำ ทศนิยมได้ระหว่ำง -7.9228162514264337593543950335 ถึง 7.9228162514264337593543950335 ซึ่งเก็บ ค่ำทศนิยมได้ 28 ตำแหน่ง
  • 2. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 2 ข้อมูลชนิดตรรกะ ข้อมูลชนิดตรรกะ หรือ bool ใช้เก็บข้อมูลด้ำนตรรกศำสตร์ คือ ค่ำจริง (True) และค่ำเท็จ (False) ข้อมูลชนิดตัวอักษรและข้อควำม ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล char 2 ตัวอักษรหนึ่งตัว เก็บแบบ Unicode ใช้เครื่องหมำย Single Quote ครอบตัวอักษร ตัวอย่ำง ‘O’ ‘K’ string ตำมควำมยำวข้อควำม ข้อควำม ตั้งแต่ 0 ถึง 231 (ประมำณสองพันล้ำนตัวอักษร) ใช้เครื่องหมำย Double Quote ครอบข้อควำม ตัวอย่ำง “My game by Visual C#” “ยินดีต้อนรับสู่เกมของเรำ” ข้อมูลชนิดวันเวลำ ชนิดข้อมูล หน่วยควำมจำ (byte) ขอบเขตข้อมูล Date 8 วันเวลำ ตั้งแต่ 00:00:00 ของวันที่ 1 มกรำคม ค.ศ.0 ถึง 23:59:59 ของวันที่ 31 ธันวำคม ค.ศ.9999 ตัวแปร (Variable) ตัวแปร (Variable) เป็นกำรอ้ำงถึงข้อมูล ด้วยค่ำของตัวแปร สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลำที่โปรแกรม ทำงำน ทั้งนี้ตัวแปรทุกตัวต้องถูกประกำศ ก่อนนำมำใช้ และต้องระบุชนิดข้อมูลที่จะใช้กับตัวแปร หลักกำรตั้งชื่อตัวแปร - ต้องขึ้นต้นชื่อด้วยตัวอักษรเท่ำนั้น - ตัวอักษรพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ แตกต่ำงกัน (Case Sensitive) - ควรตั้งชื่อให้สื่อควำมหมำยและสำมำรถบอกชนิดของตัวแปรได้ด้วย เช่น intAge - ตัวอักษรแรกของคำต่อไปใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น strFirstName - ห้ำมตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) คำสงวน abstract as base bool break byte case catch char checked class const continue decimal default delegate do double else enum event explicit extern false finally fixed float for foreach get goto if implicit in int interface internal is lock long namespace new null object operator out override params partial private protected public readonly ref
  • 3. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 3 return sbyte sealed set short sizeof stackalloc static string struct switch this throw true try typeof uint ulong unchecked unsafe ushort using value virtual void volatile where while yield กำรประกำศตัวแปร ในภำษำ Visual C# มีรูปแบบกำรประกำศตัวแปร ดังนี้ TypeOfVariable Variable_Name [= initialize_value]; โดย TypeOfVariable คือ ชนิดข้อมูล ซึ่งต้องกำหนดทุกครั้ง Variable_Name คือ ชื่อตัวแปร ซึ่งต้องกำหนดทุกครั้ง initialize_value คือ ค่ำที่กำหนดให้ตัวแปร กำหนดหรือไม่กำหนดก็ได้ ตัวอย่ำงกำรประกำศตัวแปรพร้อมกำหนดค่ำ ตัวดำเนินกำร (Operator) ตัวดำเนินกำรมีหน้ำที่ในกำรคำนวณหรือหำผลลัพธ์ที่เกิดจำกกำรกระทำ ซึ่งแบ่งตำมข้อมูลที่มี ตัว ดำเนินกำรคั่นกลำง (Operand) ได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1. Unary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand เพียงตัวเดียว 2. Binary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand สองตัว ซึ่งเป็นรูปแบบที่พบมำกที่สุด 3. Ternary Operator เป็นตัวดำเนินกำรที่ใช้ Operand สำมตัว และแบ่งตัวดำเนินกำรตำมรูปแบบกำรใช้งำน ได้ดังนี้ 1. ตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ (Arithmetic Operator) ได้แก่ ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ เมื่อ a = 5, b = 3 ผลลัพธ์ที่ได้ + บวก a + b 8 - ลบ a – b 2 * คูณ a * b 15 / หำร a / b 1.67 % หำเศษจำกกำรหำร a % b 2
  • 4. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 4 จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์ ดังนี้ a + b แทนค่ำ 5 + 3 ผลลัพธ์คือ 8 a – b แทนค่ำ 5 - 3 ผลลัพธ์คือ 2 a * b แทนค่ำ 5 * 3 ผลลัพธ์คือ 15 a / b แทนค่ำ 5 / 3 ผลลัพธ์คือ 1.67 a % b แทนค่ำ 5 / 3 ผลลัพธ์ 2 (เศษที่ได้จำกกำรหำร) ถ้ำมีกำรใช้ตัวดำเนินกำรทำงคณิตศำสตร์มำกกว่ำหนึ่งตัว จะเรียงลำดับกำรดำเนินกำร ดังนี้ ลำดับแรก คือ ( ) ลำดับที่สอง คือ * / % และลำดับสุดท้ำย คือ + และ - 2. ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ (Comparison Operator) ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True หรือ False ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ เมื่อ a = 5, b = 3 ผลลัพธ์ที่ได้ = = เท่ำกับ a = = b False ! = ไม่เท่ำกับ a ! = b True < น้อยกว่ำ a < b False < = น้อยกว่ำ หรือเท่ำกับ a < = b False > มำกกว่ำ a > b True > = มำกกว่ำ หรือเท่ำกับ a > = b True จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ ดังนี้ a = = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a เท่ำกับ b a ! = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a ไม่เท่ำกับ b a < b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่ำ b a < = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ b a > b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a มำกกว่ำ b a > = b ทำกำรเปรียบเทียบผลลัพธ์จะเป็นจริงเมื่อ a มำกกว่ำหรือเท่ำกับ b 3. ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ (Logical Operator) ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True หรือ false เท่ำนั้น ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ เมื่อ a = True, b = False ผลลัพธ์ที่ได้ ! นิเสธ (Negation) !a False && และ (And) a && b False | | หรือ (Or) a | | b True ^ Exclusive Or a ^ b True จำกผลลัพธ์ที่ได้ สรุปหลักกำรทำงำนของตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ ดังนี้ !a ผลลัพธ์ คือ นิเสธของ a ซึ่งมีค่ำควำมจริงตรงข้ำมกับ a เมื่อ a เป็น True ผลลัพธ์จึงเป็น False a && b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a และ b ต่ำงเป็นจริง a | | b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a หรือ b เป็นจริง a ^ b ผลลัพธ์จะเป็นจริง เมื่อ a กับ b มีค่ำควำมจริงต่ำงกัน
  • 5. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 5 4. ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ และลดค่ำ ดังนี้ ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำขึ้น 1 ค่ำ คือ + + ตัวอย่ำง a + + หมำยถึง a = a + 1 ตัวดำเนินกำรลดค่ำลง 1 ค่ำ คือ - - ตัวอย่ำง a - - หมำยถึง a = a - 1 ทั้งนี้กำรวำงตำแหน่งของตัวดำเนินกำรมีควำมหมำยต่ำงกัน ถ้ำนำตัวดำเนินกำรไว้ด้ำนหน้ำ เรียกว่ำ Prefix แต่ถ้ำนำตัวดำเนินกำรไว้ด้ำนหลัง เรียกว่ำ Postfix ตัวอย่ำงเมื่อ b = 10 a = b + + เป็นกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a ก่อนเพิ่มค่ำให้ตัวแปร b จะได้ a = b แล้วจึง b = b + 1 ผลลัพธ์ของ a คือ 10 ผลลัพธ์ของ b คือ 11 a = + + b เป็นกำรเพิ่มค่ำให้ตัวแปร b ก่อนกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a จะได้ b = b + 1 แล้วจึง a = b ผลลัพธ์ของ a คือ 11 ผลลัพธ์ของ b คือ 11 a = b - - เป็นกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a ก่อนลดค่ำให้ตัวแปร b จะได้ a = b แล้วจึง b = b – 1 ผลลัพธ์ของ a คือ 10 ผลลัพธ์ของ b คือ 9 a = - - b เป็นกำรลดค่ำให้ตัวแปร b ก่อนกำรกำหนดค่ำให้ตัวแปร a จะได้ b = b - 1 แล้วจึง a = b ผลลัพธ์ของ a คือ 9 ผลลัพธ์ของ b คือ 9 5. ตัวดำเนินกำรกำหนดค่ำ เมื่อ a = 5 และ b = 3 ดังนี้ ตัวดำเนินกำร คำอธิบำย ตัวอย่ำงกำรนำไปใช้ ผลลัพธ์ที่ได้ = กำหนดค่ำ a = b เป็นกำรนำค่ำ b ให้ a 3 + = เพิ่มค่ำ แล้วกำหนดค่ำ a + = b มีค่ำเท่ำกับ a = a + b 8 - = ลดค่ำ แล้วกำหนดค่ำ a - = b มีค่ำเท่ำกับ a = a - b 2 * = คูณ แล้วกำหนดค่ำ a * = b มีค่ำเท่ำกับ a = a * b 15 / = หำร แล้วกำหนดค่ำ a / = b มีค่ำเท่ำกับ a = a / b 1.67 % = หำเศษจำกกำรหำร แล้วกำหนดค่ำ a % = b มีค่ำเท่ำกับ a = a % b 2 ถ้ำเป็น String เครื่องหมำย + คือกำรนำ String 2 ค่ำมำต่อกัน (Concatenate) เช่น a + b ผลลัพธ์คือ ab กำรเขียนคำอธิบำยโปรแกรม เมื่อต้องกำรเขียนคำอธิบำยโปรแกรม สำมำรถทำได้ 2 วิธี คือ 1. คำอธิบำยหนึ่งบรรทัด ใช้เครื่องหมำย // นำหน้ำข้อควำมที่ต้องกำรอธิบำย 2. คำอธิบำยมำกกว่ำหนึ่งบรรทัด ใช้เครื่องหมำย /* นำหน้ำข้อควำม และปิดด้วยเครื่อง */
  • 6. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 6 กำรแปลงชนิดข้อมูล ในกำรทำงำน เรำไม่สำมำรถนำข้อมูลต่ำงชนิดมำทำงำนร่วมกันได้ จึงต้องทำกำรแปลงให้เป็นข้อมูล ชนิดเดียวกัน จึงสำมำรถทำได้ดังนี้ Method หมำยถึง ตัวอย่ำงกำรใช้ int.Parse(ข้อควำม); แปลงข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) ให้เป็นข้อมูลชนิด ตัวเลขจำนวนเต็ม (int) a = int.Parse(textBox1.Text) หมำยถึง แปลงข้อมูลชนิด String ที่รับจำก textBox1 เป็นข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็ม และเก็บค่ำในตัว แปร a b = int.Parse(“999”); หมำยถึง แปลงข้อมูล ชนิด String “999” ให้เป็นตัวเลข 999 แล้วเก็บ ค่ำในตัวแปร b double.Parse(ข้อควำม); แปลงข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) ให้เป็นข้อมูล ตัวเลขทศนิยม (double) c = double.Parse(textBox1.Text); หมำยถึง แปลงข้อมูล String ที่รับจำก textBox1 เป็น ข้อมูลตัวเลขทศนิยม และเก็บค่ำในตัวแปร c d = double.Parse(“99.99”); หมำยถึง แปลง ข้อมูล String “99.99” เป็นตัวเลขทศนิยม 99.99 แล้วเก็บค่ำในตัวแปร d ToString(); แปลงชนิดข้อมูลให้เป็น ชนิดตัวอักษร (String) int e = 50; textBox1.Text = e.ToString(); หมำยถึง แปลงชนิดข้อมูล int ซึ่งคือตัวเลข 50 ให้เป็น ข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) แล้วแสดงผลใน textBox1 เนื่องจำก textbox สำมำรถแสดงผล เฉพำะข้อมูลชนิดตัวอักษร (String) เท่ำนั้น DateTime.Now.Tostring(); แปลงข้อมูลชนิดวันเวลำ (DateTime) ให้เป็นชนิด ตัวอักษร (String) f = DateTime.Now.ToString(); หมำยถึง แปลงข้อมูลวันเวลำปัจจุบันให้เป็นข้อมูลชนิด ตัวอักษร แล้วเก็บค่ำในตัวแปร f
  • 7. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 7 ออนไลน์ 1  นักเรียนพิจำรณำชื่อตัวแปรที่กำหนดให้ว่ำถูกต้องตำมกฎกำรตั้งชื่อตัวแปรหรือไม่ พร้อมเหตุผล ชื่อตัวแปร ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง เหตุผลที่ไม่ถูกต้อง aaa string a_b 007james Compu9 ออนไลน์ 2  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกกำรใช้ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ เมื่อ a = 5 b = 10 ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ที่ได้ a = = b a ! = b a < b a < = b a > b a > = b ออนไลน์3  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกกำรใช้ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ เมื่อ a = False b = True ตัวดำเนินกำรทำงตรรกศำสตร์ ผลลัพธ์ที่ได้ !a a && b a | | b a ^ b ท้ ำ ท ำ ย
  • 8. โปรแกรม Microsoft Visual Studio (C#) เรื่อง ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินกำร โดยครูนฤมล สุนทอง | 8 ออนไลน์ 4  นักเรียนหำผลลัพธ์จำกตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ ลดค่ำและ String เมื่อ a = 25 และ b = 35 ตัวดำเนินกำรเพิ่มค่ำ ลดค่ำ และ String ผลลัพธ์ที่ได้ a = b + + a = + + b a = b - - a = - - b a + b ออนไลน์ 5  นักเรียนพิจำรณำและอธิบำยกำรแปลงข้อมูลตำมตัวอย่ำงที่ให้ ตัวอย่ำงกำรแปลงข้อมูล คำอธิบำย g = int.Parse(textBox1.Text); h = int.Parse(“111”); i = double.Parse(textBox1.Text); j = double.Parse(“99.99”); int k = 10; textBox1.Text = k.ToString(); l = DateTime.Now.ToString();