SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก ร
ไทย กั บ การสาธารณสุ ข
( P u b lic H e a lt h a n d
      t h e C o n s t it u t io n )




                       ณั ฐ กร วิ ท ิ ต า
                            นนท์
ประวั ต ิ ศ าสตร์ ‘
รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย ’
บทสรุ ป : รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย
รวมทั ้ ง หมด : 18 ฉบั บ ภายในระยะ
       เวลา 80 ปี
จำ า นวนมาตรา : มากที ่ ส ุ ด – 336
       มาตรา / น้ อ ยที ่ ส ุ ด - 20 มาตรา
ระยะเวลา : เฉลี ่ ย ฉบั บ ละ 4 ปี เ ศษๆ
       นานที ่ ส ุ ด - 13 ปี 4 เดื อ น 29 วั น /
       สั ้ น ที ่ ส ุ ด - 5 เดื อ น 13 วั น
รู ป แบบ : ชั ่ ว คราว - 7 ฉบั บ / ถาวร - 11
       ฉบั บ
อื ่ น ๆ : มี น ายกรั ฐ มนตรี 28 คน / มี ก าร
ภาพรวม ‘
รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย ’
      ปั จ จุ บ ั น
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       คำ า ปรารภ
       หมวด 1 บททั ่ ว ไป
       หมวด 2 พระมหากษั ต ริ ย ์
       หมวด 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของชนชาว
          ไทย
                 ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป
                 ส่ ว นที ่ 2 ความเสมอภาค
                 ส่ ว นที ่ 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพส่ ว น
          บุ ค คล
                 ส่ ว นที ่ 4 สิ ท ธิ ใ นกระบวนการ
          ยุ ต ิ ธ รรม
                 ส่ ว นที ่ 5 สิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ ส ิ น
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของชนชาว
        ไทย ( ต่ อ )
               ส่ ว นที ่ 7 เสรี ภ าพในการแสดง
        ความคิ ด เห็ น ของบุ ค คลและ
        สื ่ อ มวลชน
               ส่ ว นที ่ 8 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพในการ
        ศึ ก ษา
               ส่ ว นที ่ 9 สิ ท ธิ ใ นการได้ ร ั บ
        บริ ก ารสาธารณสุ ข และสวั ส ดิ ก าร
        จากรั ฐ
               ส่ ว นที ่ 10 สิ ท ธิ ใ นข้ อ มู ล ข่ า วสาร
        และการร้ อ งเรี ย น
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 4 หน้ า ที ่ ข องชนชาวไทย
       หมวด 5 แนวนโยบายพื ้ น ฐานแห่ ง รั ฐ
               ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป
               ส่ ว นที ่ 2 แนวนโยบายด้ า นความ
        มั ่ น คงของรั ฐ
               ส่ ว นที ่ 3 แนวนโยบายด้ า นการ
        บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ส่ ว นที ่ 4
        แนวนโยบายด้ า นศาสนา สั ง คม การ
        สาธารณสุ ข การศึ ก ษา และ
        วั ฒ นธรรม
               ส่ ว นที ่ 5 แนวนโยบายด้ า น
        กฎหมายและการยุ ต ิ ธ รรม
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 5 แนวนโยบายพื ้ น ฐานแห่ ง รั ฐ
        ( ต่ อ )
              ส่ ว นที ่ 6 แนวนโยบายด้ า นการ
        ต่ า งประเทศ
              ส่ ว นที ่ 7 แนวนโยบายด้ า น
        เศรษฐกิ จ
              ส่ ว นที ่ 8 แนวนโยบายด้ า นที ่ ด ิ น
        ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล้ อ ม
              ส่ ว นที ่ 9 แนวนโยบายด้ า น
        วิ ท ยาศาสตร์ ทรั พ ย์ ส ิ น ทางปั ญ ญา
        และพลั ง งาน
              ส่ ว นที ่ 10 แนวนโยบายด้ า นการมี
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 6 รั ฐ สภา
             ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป
             ส่ ว นที ่ 2 สภาผู ้ แ ทนราษฎร
             ส่ ว นที ่ 3 วุ ฒ ิ ส ภา
             ส่ ว นที ่ 4 บทที ่ ใ ช้ แ ก่ ส ภาทั ้ ง สอง
             ส่ ว นที ่ 5 การประชุ ม ร่ ว มกั น ของ
        รั ฐ สภา
             ส่ ว นที ่ 6 การตราพระราชบั ญ ญั ต ิ
        ประกอบรั ฐ ธรรมนู ญ
             ส่ ว นที ่ 7 การตราพระราชบั ญ ญั ต ิ
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 6 รั ฐ สภา ( ต่ อ )
              ส่ ว นที ่ 8 การควบคุ ม การตรา
        กฎหมายที ่ ข ั ด หรื อ แย้ ง ต่ อ
        รั ฐ ธรรมนู ญ
              ส่ ว นที ่ 9 การควบคุ ม การบริ ห าร
        ราชการแผ่ น ดิ น
       หมวด 7 การมี ส ่ ว นร่ ว มทางการเมื อ ง
        โดยตรงของประชาชน
       หมวด 8 การเงิ น การคลั ง และงบ
        ประมาณ
       หมวด 9 คณะรั ฐ มนตรี
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 10 ศาล
           ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป
           ส่ ว นที ่ 2 ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ
           ส่ ว นที ่ 3 ศาลยุ ต ิ ธ รรม
           ส่ ว นที ่ 4 ศาลปกครอง
           ส่ ว นที ่ 5 ศาลทหาร
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 11 องค์ ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ
               ส่ ว นที ่ 1 องค์ ก รอิ ส ระตาม
         รั ฐ ธรรมนู ญ  
         1. คณะกรรมการการเลื อ กตั ้ ง 2. ผู ้
         ตรวจการแผ่ น ดิ น                  3. คณะ
         กรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการ
         ทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ และ 4. คณะ
         กรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น  
               ส่ ว นที ่ 2 องค์ ก รอื ่ น ตาม
         รั ฐ ธรรมนู ญ  
         1. องค์ ก รอั ย การ  2. คณะกรรมการ
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 12 การตรวจสอบการใช้ อ ำ า นาจ
        รั ฐ
             ส่ ว นที ่ 1 การตรวจสอบทรั พ ย์ ส ิ น
             ส่ ว นที ่ 2 การกระทำ า ที ่ เ ป็ น การ
        ขั ด กั น แห่ ง ผลประโยชน์ ส่ ว นที ่ 3
        การถอดถอนจากตำ า แหน่ ง
             ส่ ว นที ่ 4 การดำ า เนิ น คดี อ าญาผู ้
        ดำ า รงตำ า แหน่ ง ทางการเมื อ ง
       หมวด 13 จริ ย ธรรมของผู ้ ด ำ า รง
        ตำ า แหน่ ง ทางการเมื อ ง                และ
        เจ้ า หน้ า ที ่ ร ั ฐ
โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 ไทย พุทธศักราช 2550
       หมวด 14 การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น
       หมวด 15 การแก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม
        รั ฐ ธรรมนู ญ
       บทเฉพาะกาล
¦ ¦ 
                                       ´›¦ ¤œ¼



                             ­™ ´¡¦ ¤®„ ˜¦ r
                               µ œ ³ µ ¬´ ·¥




     ¦´­£µ           ‡–³´ ¤œ˜¦
                       ¦¦     ¸                       ´µ¨          ¡µ
(
¡´           )      ( ‡r¦ i ¥ · ¦
                    ¡– „   µ ¦ µ )
                               ®                 ( ‡r¦ i ¥ ¨„¦
                                                 ¡µ „  µ ˜»µ µ )



                     à ¦ ­oŠ ™µ œÂ ³Š r ¦ Š µ Á¤ºŠ ° ´
                        Š ¦ ­ ´ ¨° „šµ „ ¦ °… Š “
                           µ         ø              ¦
                 ˜µ ´›¦ ¤œ¼  n µ µ ‹´¦š¥ ¡»›«´¦  ÓÖ Ñ
                   ¤¦ ¦  ®¦ °–µ „Å š „ µ Ö
                     “        Š
¦´­£µ

­£µ­                              ª ­£µ
                                  •
                                  »·
 ‹ œª 5 0
  µ
  Î œ 0  ‡œ                    ‹ œª 1 0
                                Î
                                µ œ 5  ‡œ

   ¤µ µ „ ¦¨„ Ê 
     ‹ „ µ Á ¼ ˜´
             ¡                  ¤µ µ „ ¦¨„ Ê
                                   ‹ „ µ Á¼ ˜´
                                          ¡
 ´‹¦ ¥ ɵ œ 1 5‡œ
   ¸ ¥¼¡Î
      µ ¡ œª 2                    ‹ ®´¨ 1
                                   ´ ª ³  ‡œ
                                      —

¤µ µ „ ¦¨„ Ê Â n…
  ‹ „ µ Á¼ ˜´
         ¡  n ˜ Á
                              ‹ œª É ¼¤µ µ „ ¦ ¦ µ
                               µ
                               Î œš¸¨ ‹ „ µ ­¦ ®
                                   Á ¡
                                   ®
 Á˜¨  ‡œ ‹ œª 3 5‡œ
 … ³1      µ œ 7
           Î
‡–³´¤œ˜¦
  ¦     ¸

 ϵ 㠫
   ¥¦ ¤
    1 ‡œ


   ¦¥
    ´
 Å Á· 5
 ¤n œ 3  ‡œ
   „


  „³ ª
    ¦ š¦ œ
 2  „ ³ ª
  0 ¦ š¦ œ
­œ´œµ ¦ ¤œ˜¦
                                         µ
                                         Î „ ¥„ ´ ¸
                                                “


         „ ¦ · µ ¦ „ ¦ nœ„ µ
          µ ¦ ¦ µ µ ­ ¨
              ®         » Š                „ ³ »Š
                                            ¦ š¦

                                             „¤
                                              ¦



                                            ‹´ »´
                                             Š®®


                                            °Á£°
                                             µ
                                             Î

         „ ¦ · µ¦ µ µ »œ£¼· µ
          µ ¦ ¦ „ ¦­ ¤£
              ®       n

                                            ˜Î¨
                                             µ


                                            ®noœ
                                             ¤¼µ
                                              



         „ ¦ · µ ¦ „ ¦­œšoŠ™·
          µ ¦ ¦ µ µ » ° É
              ®        n     œ



          ¦ Â Éž
           ž
           ¼ š´Å
                »                              ¦  Á«¬
                                                ž
                                                ¼ ¡·



   ° „ ¦ · µ ­œ‹´ »´
   Šžr µ ¦ ¦ n Š®™
           ® »                       „¦ Áš¡¤®œµ¦
                                       Š
                                       »     µ           Á¤ºŠ¡´¥µ
                                                           °š



Áš«µ¨            ° „ ¦ · µ ­œ˜Î¨
                  ŠŠr µ ¦ ¦ n µ
                          ® »


             Ã
             ¤                                      œœ
                                                    n·
´µ¨

   ´µ ¦ ¦ 
     ¨´›¦ ¤œ¼                      ´µ ¥ · ¦
                                     ¨»› ¤
                                       ˜¦           ´µ ¥ „ ¡¦
                                                      ¨ ‡¦          ´µ š®¦
                                                                      ¨ µ


«µ¨¸µ  „ ¸µ µ °Š¼Î¦˜ÎÂœn „ Á¤ºŠ
  ¨  œ„ „  … Š oµ Š µ ®Š µ¦ °
   „      °               šµŠ        «µ š¸µ
                                       ¨„           «µ¨
                                                      ž„



                                                    «µ ž„
                                                      ¨
                                    «µ¨»›¦
                                      ° –r
                                       š
                                                    «µ ž„ ¦ Š ʘo
                                                      ¨ „ °´ œ
                                                              œ



                                    «µ ´˜o
                                      ¨Ê œ
                                        œ
องค์กรตามรัฐธรรมนูญปี 
                  พ.ศ.2550
 อิ ส ระ ตามรั ฐ ธรรมนู ญ
กรรมการการเลื อ กตั ้ ง ( มี 5 คน วาระ 7 ปี )
 จการแผ่ น ดิ น ( มี 3 คน วาระ 6 ปี )
กรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห
น วาระ 9 ปี )
กรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ( มี 7 คน วาระ 6 ป
ด ดำ า รงตำ า แหน่ ง ได้ เ พี ย งวาระเดี ย ว เท่ า นั ้ น
องค์กรตามรัฐธรรมนูญปี 
                พ.ศ.2550
รอื ่ น ตามรั ฐ ธรรมนู ญ
กรอั ย การ
 กรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ( มี 7 คน วา
ที ่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ
‘ รั ฐ ธรรมนู ญ ’ กั บ การ
       สาธารณสุ ข
มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข 
           ่
    ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน
(1) หมวดสิทธิและเสรีภาพของชน
ชาวไทย มาตรา 52 “บุคคลย่อมมีสทธิ  ิ
เสมอกันในการรับบริการทาง
สาธารณสุขทีได้มาตรฐาน และผู้
             ่
ยากไร้มสทธิได้รับการรักษาพยาบาล
       ี ิ
จากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทังนี้ตามที่
                       ้
กฎหมายบัญญัติ
การบริการทางสาธารณสุขของรัฐต้อง
มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข 
            ่
     ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน
(2) หมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข 
การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา 
80(1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและ
เยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและ
ให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอ
ภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและ
พัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบัน
ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์
และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผูยากไร้ ผู้
                                  ้
มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข 
            ่
     ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน
(2) หมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข 
การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา 
80(2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบ
สุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำา
ไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้ง
จัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการ
สาธารณสุขทีมีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมี
             ่
ประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและ
ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและ
มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่ 
        ่
          (อาจ) เกี่ยวข้อง
มาตรา 3 “การปฏิบติหน้าที่ของ
                   ั
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้ง
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงาน
ของรัฐ ต้องเป็นไปตาม หลักนิตธรรม”
                            ิ
มาตรา 4 “ศักดิศรีความเป็นมนุษย์ 
                 ์
สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของ
บุคคลย่อมได้รบความคุมครอง”
               ั      ้
มาตรา 5 “ประชาชนชาวไทยไม่ว่า
เหล่ากำาเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อม
มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่ 
        ่
          (อาจ) เกี่ยวข้อง
มาตรา 26 “การใช้อำานาจโดยองค์กร
ของรัฐทุกองค์กร ต้องคำานึงถึงศักดิศรี
                                    ์
ความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพตาม
บทบัญญัตแห่งรัฐธรรมนูญนี”
              ิ             ้
มาตรา 28 “...บุคคลซึงถูกละเมิดสิทธิ
                        ่
หรือเสรีภาพที่รฐธรรมนูญนี้รับรองไว้ 
                  ั
สามารถยกบทบัญญัตแห่งรัฐธรรมนูญ
                      ิ
นี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็น
ข้อต่อสู้คดีในศาลได้É”
มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่ 
        ่
          (อาจ) เกี่ยวข้อง
มาตรา 29 “การจำากัดสิทธิและ
เสรีภาพของบุคคลทีรัฐธรรมนูญ
                    ่
รับรองไว้ จะกระทำามิได้ เว้นแต่โดย
อาศัยอำานาจตามบทบัญญัตแห่ง    ิ
กฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รฐธรรมนูญ
                            ั
นี้กำาหนดไว้และเท่าที่จำาเป็น และจะ
กระทบกระเทือนสาระสำาคัญแห่งสิทธิ
และเสรีภาพนั้นมิได้É”
มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่ 
        ่
          (อาจ) เกี่ยวข้อง
มาตรา 30 “บุคคลย่อมเสมอกันใน
กฎหมายและได้รบความคุมครองตาม
              ั         ้
กฎหมายเท่าเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล
เพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่น
กำาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความ
พิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะ
ของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม 
ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ
มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่ 
        ่
          (อาจ) เกี่ยวข้อง
มาตรา 32 “บุคคลย่อมมีสทธิและ
                         ิ
เสรีภาพในชีวตและร่างกายÉ ในกรณี
               ิ
ที่มการกระทำาซึงกระทบต่อสิทธิและ
    ี            ่
เสรีภาพดังกล่าว ผูเสียหาย พนักงาน
                     ้
อัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์
ของผูเสียหาย มีสทธิรองต่อศาลเพื่อ
       ้           ิ   ้
ให้สั่งระงับหรือเพิกถอนการกระทำา
เช่นว่านัน รวมทั้งจะกำาหนดวิธีการตาม
         ้
สมควรหรือการเยียวยาความเสียหาย
E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
¥ “สิทธิการตาย” (Right to 
  Die) มาจากแนวคิด “ชีวิต
  เป็นของเรา” เชื่อว่าการตาย
  อย่างมีศกดิศรี (Death 
          ั ์
  Dignity) ควรเป็นสิ่งที่มนุษย์
  สามารถจะตัดสินใจ ‘เลือก’ 
  ได้เอง
E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
¥ แบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภท
¥ (1) การทำาให้ผู้ป่วยตายโดยสงบ 
  หรือ “การุณยฆาต” (Mercy 
  Killing หรือ Euthanasia เป็น
  ภาษากรีก แปลว่า “การตาย
  อย่างเป็นสุข” หรือเรียกว่าเป็น 
  Assisted Suicide)
¥ (2) สิทธิในการปฏิเสธการรักษา 
  (Right to refuse medical 
  treatment) บุคคลมีสิทธิแสดง
E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
¥ การแสดงเจตนาเพื่อขอใช้สทธิ ิ
  ตามข้อ (1) และ (2) ย่อมจะ
  ทำาได้ด้วยการเขียนหนังสือแสดง
  เจตจำานงเอาไว้ล่วงหน้า หรือที่
  เรียกว่า “พินัยกรรมชีวิต” 
  (Living Will)
E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
¥ ในปัจจุบันยังคงไม่มรฐธรรมนูญของ
                         ี ั
  ประเทศใดที่บญญัตเกี่ยวกับสิทธิใน
                   ั   ิ
  การตายเอาไว้ และมีเพียง      4 
  ประเทศ เท่านันที่ได้ออกกฎหมาย
                 ้
  รับรองสิทธิการตายประเภท (1) 
  แล้ว โดยอนุญาตให้มการทำาการุณย
                             ี
  ฆาตได้ แต่ทั้งนี้ จะต้องเป็นไปภาย
  ใต้เงื่อนไขต่างๆ ตามที่กฎหมายได้
  กำาหนดไว้ ได้แก่ เนเธอร์แลนด์  
  เบลเยี่ยม (ตังแต่ปี 2002) ลักเซม
               ้
  เบิรก และสหรัฐอเมริกา แต่เฉพาะใน 
      ์
  2 มลรัฐ คือ โอเรกอน กับ วอชิงตัน 
http://www.euthanasia.com 
http://www.youtube.com/watch?v=dVRnG1MddAM
E X: Ramon Sampedro
 (1943-1998)
¥ ในสเปน นายราโมน แซมเปโดร 
 ประสบอุบัตเหตุระหว่างการดำานำ้า 
             ิ
 ส่งผลให้เขากลายเป็นอัมพาต
 ตังแต่คอลงมา ตั้งแต่อายุได้ 25 
   ้
 ปี หลังจากนัน เขาก็ไม่อยากจะมี
               ้
 ชีวิตอยูอีกต่อไป แม้มีหลายคน
         ่
 คอยให้กำาลังใจ และยังได้รับเงิน
 ช่วยเหลือจากรัฐบาล เขา
 พยายามวินวอนให้คนรอบข้าง
 ฆ่าเขาเสีย ซึ่งถือเป็นสิ่งผิด
E X: Ramon Sampedro
 (1943-1998)นศาล เรียกร้องให้
¥ เขาต่อสูในชั้
          ้
 อนุญาติให้เขาตายโดยสงบ ใน
 ทีสุด ศาลก็พิจารณาอนุญาติให้
   ่
 เขาตายได้ใน ค.ศ. 1998 เมื่อ
 มีอายุ 50 ปีเศษ ซึ่งเท่ากับว่าเขา
 เรียกร้องในเรื่องนีมายาวนานก
                    ้
 ว่า 30 ปีเต็ม
http://www.youtube.com/watch?v=cki55BM42kw
E X: Terri Schiavo
 (1963-2005) กา นางเทอร์รี เชีย
¥ ในสหรัฐอเมริ
 โว หญิงผู้ป่วยสมองพิการวัย 41 
 ปี ผูซึ่ง 15 ปีก่อนหน้าเกิดการ
      ้
 แพ้อาหาร จนเป็นเหตุให้เป็นลม
 และล้มวูบลงที่บ้านพัก เธอได้รับ
 การช่วยจนรอดชีวิต แต่ทว่า
 สมองที่ขาดเลือดและออกซิเจน
 เลียงเป็นเวลานาน ทำาให้เกิด
    ้
 ความพิการทางสมอง และ
 ร่างกายส่วนอื่นๆ อย่างถาวร จน
E X: Terri Schiavo
 (1963-2005)
¥ เธอต้องเจาะคอ เพื่อช่วยหายใจและ
  ดูดเสมหะ ต้องให้อาหารผ่านทางท่อ
  ทีเจาะบริเวณหน้าท้อง ต้องคาท่อ
    ่
  สวนปัสสาวะไว้ในกระเพาะปัสสาวะ
  ให้ถ่ายปัสสาวะได้ 
¥ เธอตกอยู่ในสภาพดังกล่าวนานร่วม 
  15 ปี 
¥ ในที่สุดสามีของเธอ คือ นายไมเคิล 
  เชียโว ได้ยื่นคำาร้องขอสิทธิในการ
  ตายต่อศาลให้แก่ภรรยา โดยอ้างถึง
  ถ้อยคำาทีเธอเคยสั่งเสียไว้ก่อนหน้า
           ่
E X: Terri Schiavo
 (1963-2005) เกิดขึน ฝ่ายหนึ่ง
¥ ความขัดแย้ง      ้
  ต้องการทีจะ ‘หยุด’ ชีวิต กับอีก
            ่
  ฝ่ายหนึงทีต้องการจะ ‘ต่อ’ ชีวิต
          ่ ่
  ของเธอนำาไปสู่การต่อสู้ทางศาล
  ระหว่างสามีกับบุพการี 
¥ ศาลชันต้นของรัฐฟลอริดามีคำา
        ้
  พิพากษาให้คณะแพทย์ถอดสาย
  ยางส่งอาหาร และคาดว่าเธอจะ
  ค่อยๆ หมดลมหายใจภายใน 2 
  สัปดาห์
E X: Terri Schiavo
 (1963-2005)ประเด็นระดับชาติขึ้น
¥ เมื่อกลายเป็น
 มา ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู 
 บุช ตัดสินใจลงนามในร่างกฎหมาย
 ฉบับพิเศษ เพื่อต่อชีวิตของเธอ ด้วย
 เหตุผลว่า ศาลควรเห็นชอบให้ความ
 สำาคัญในชีวิตคนไว้ก่อน แต่ก็ไม่เป็น
 ผล เพราะสุดท้ายแล้ว ผู้พิพากษา
 ศาลอุทธรณ์ได้มคำาพิพากษายืนคำา
                   ี
 ตัดสินของศาลชันต้นไม่ให้ตอสาย
                 ้          ่
 ยางท่อส่งอาหารให้เธอ เพื่อผู้ป่วยจะ
 ได้สิ้นลมอย่างสงบ จวบจนกระทัง   ่
 เวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ หลังจากการ
พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ุ ข ภาพแห่ ง
       ชาติ พ . ศ .2550
หมวด 1 สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที ่ ด ้ า น
    สุ ข ภาพ มาตรา 12
“บุ ค คลมี ส ิ ท ธิ ท ำ า หนั ง สื อ แสดง
เจตนาไม่ ป ระสงค์ จ ะรั บ บริ ก าร
สาธารณสุ ข ที ่ เ ป็ น ไปเพี ย งเพื ่ อ ยื ด
การตายในวาระสุ ด ท้ า ยของชี ว ิ ต
ตน หรื อ เพื ่ อ ยุ ต ิ ก ารทรมานจาก
การเจ็ บ ป่ ว ยได้
การดำ า เนิ น การตามหนั ง สื อ แสดง
เจตนาตามวรรคหนึ ่ ง ให้ เ ป็ น ไป
ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธ ี ก ารที ่
œ
Ê ¡ª
´…                                ¨—´ 
                                   µ
                                   Î
                                    Ä ³ š¥
                                    œµ¦ Á
                                        š´Å

                                        ¦ ›¦ ¤œ¼
                                         ³
                                         ´ ¦ 




       ¡¦ ¦ ¨  ´· ³¡¦ ›¦ ¤œ¼
         ³µ ´ ˜ ¦ „ ´ ¦              ¡¦ ¦ ´ ´·
                                         ³µ  ˜          ¡ ¦ ¤ª„ ¤µ
                                                            ³ ¨‘® ¥   ¡¦ ¦ ¦„®
                                                                        ³µ Î µ œ—



                                      ¡¦ ¦ ¦ ¤¬‘¸
                                        ³µ „ „   µ



                                        „ ¦ š¦ ¬
                                         ‘„³ ª


                                  ¦ Á ¥ o´  … ³µ ‡Î
                                   ³¸ ¡ ¥ ¦ „´ µ É
                                       … ‡´        ­´
                                                     ‡
                                        ®ªÉ ¡¸
                                         œn µ
                                           ¥ œ…

                                  … ´ ´·  ´·o´ 
                                   ¡
                                   o  ˜Á š´´ ˜ … 
                                                  ¡ ‡´
                                    ¡¡‡r¦ ‡¦ ª ¡¡™
                                       „ ¦„ ¡¡­nœšo ·
                                                    œ
                                                    É
กฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การ
    สาธารณสุ ข อื ่ น ๆ
¥ พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510
¥ พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522
¥ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2523
¥ พ.ร.บ.เครื่องสำาอาง พ.ศ.2535
¥ พ.ร.บ.คุมครองสุขภาพของผู้ไม่สูบ
           ้
  บุหรี่ พ.ศ.2535
¥ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่
  แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
¥ พ.ร.บ.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 
  พ.ศ.2535
กฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การ
    สาธารณสุ ข อื ่ น ๆ
¥ พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541
¥ พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้าง
  เสริม 2544
¥ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 
  พ.ศ.2545
¥ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551
¥ พ.ร.บ.เครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551
¥ ฯลฯ
“กลไกของรัฐ” ถือเป็นเครืองมือที่สำาคัญ
                        ่
ในการบังคับใช้กฎหมายและมีบทบาท
อย่างมากต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
หลายองค์กรมีอำานาจหน้าทีดูแลเรืองนี้
                          ่     ่
โดยตรง ได้แก่ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมันคงของมนุษย์, คณะ
          ่
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ผู้ตรวจ
การแผ่นดิน
หลายองค์กรมีอำานาจหน้าทีวินิจฉัยชีขาด
                            ่      ้
คดีความในส่วนทกี่ยวข้อง ได้แก่ ศาล
รัฐธรรมนูญ, ศาลปกครอง
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ นายศิริมตร ทนายความร่างกายผิด
            ิ
  ปกติ เนืองจากเป็นโปลิโอ สมัครสอบ
          ่
  ผู้ชวยผู้พิพากษา คณะอนุกรรมการ
      ่
  ตรวจสอบคุณสมบัตฯ พิจารณาเห็น
                      ิ
  ว่าเป็นกรณี มีร่างกายไม่เหมาะสม 
  ตาม มาตรา 26 (10) พ.ร.บ.ระเบียบ
  ข้าราชการฝ่ายตุลาการ พ.ศ.2543
  เห็นควร ไม่รบสมัคร ต่อมา ก.ต. ก็มี
               ั
  มติเห็นชอบด้วย
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ เขาเห็นว่ากฎหมายดังกล่าวน่าจะไม่
  ชอบด้วย       หลักความเสมอภาค
  ตามรัฐธรรมนูญ จึงร้องต่อ ผูตรวจ
                             ้
  การแผ่นดินของรัฐสภา เพื่อเสนอ
  เรื่องพร้อมความเห็นต่อ ศาล
  รัฐธรรมนูญ ให้พิจารณาวินิจฉัยต่อ
  ไป
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ศาลรัฐธรรมนูญ โดย คำาวินิจฉัยที่ 
  16/2545 พิจารณาตัวกฎหมายที่
  เขียนลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครฯ 
  ไว้ว่า “มีกาย... ไม่เหมาะสมที่จะเป็น
  ข้าราชการตุลาการ”  ไม่ขัดกับหลัก
  ความเสมอภาค เพราะกรณีการรับ
  สมัครสอบผูพิพากษามีความจำาเป็น
               ้
  ต้องพิจารณาร่างกายของผู้สมัคร
  ประกอบด้วย
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ จากนั้นนายศิรมตรได้สมัครสอบเข้า
                    ิ ิ
  เป็นอัยการผู้ชวยทาง ก.อ. ก็มมติ 
                  ่            ี
  ไม่รับสมัคร เนื่องจากเหตุผล
  เดียวกัน คือ มีรางกายไม่เหมาะสม 
                       ่
¥ เขาจึงไปฟ้องต่อ ศาลปกครอง เพื่อ
  ขอเพิกถอนมตินี้ ระหว่างพิจารณา
  คดี ศิรมตรได้รองขอให้ ศาล
         ิ ิ         ้
  ปกครอง ส่งเรืองให้ ศาลรัฐธรรมนูญ 
                ่
  พิจารณา (อีกครั้ง) ว่า มาตรา 33 
  (11) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการฝ่าย
  อัยการ พ.ศ.2521 ขัดหรือแย้งต่อ
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ต่อมา ศาลรัฐธรรมนูญ ใน คำา
  วินจฉัยที 44/2545 ก็ยืนยันว่า “
     ิ     ่
  บทบัญญัตดงกล่าวไม่ถือเป็นการ
             ิ ั
  เลือกปฏิบัตโดยไม่เป็นธรรม... แต่
               ิ
  อย่างใด”
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ในส่วนของมติ ก.อ. นั้น ศาล
  ปกครองชั้นต้น ยกฟ้อง เขาอุทธรณ์
  ต่อ ศาลปกครองสูงสุด กลับคำา
  พิพากษาโดยพิพากษาให้ เพิกถอน
  มติ ก.อ. ดังกล่าว ด้วยเหตุผล “ถึง
  แม้สภาพกายของผู้ฟ้องคดีจะพิการ 
  แต่ความแตกต่างดังกล่าวไม่ถงขั้น
                               ึ
  จะเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัตหน้าที่
                             ิ
  ในลักษณะงานของอัยการ... จึง
  เป็นการใช้ดลพินิจที่ไม่ชอบ และ
                ุ
  เป็นการเลือกปฏิบติทไม่เป็นธรรมต่อ
                    ั ี่
  ผู้ฟ้องคดี...”
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ระหว่างปี 2550­2552 นายศิรมตร  ิ ิ
  ได้สมัครสอบในตำาแหน่งผูช่วยผู้
                              ้
  พิพากษาอีกหลายครัง แต่  ้
  สำานักงานศาลยุตธรรมก็แจ้งว่าเขา
                    ิ
  ไม่มสิทธิสอบทุกครังไป       ศิริมตร
       ี              ้                ิ
  จึงนำาคดีมาฟ้อง ‘ตรง’ ต่อศาล
  รัฐธรรมนูญ (ตามมาตรา 212) ศาล
  รัฐธรรมนูญมีคำาสั่งที 4/2552 ไม่
                        ่
  รับคำาร้องไว้พิจารณาวินจฉัย 
                            ิ
  เนื่องจาก “คดียังอยู่ระหว่างการ
  พิจารณาของศาลอุทธรณ์ และผูร้อง     ้
  ยังมีชองทางทีจะใช้สิทธิโดยวิธีการ
         ่        ่
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ล่าสุด คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
  ที 15/2555 ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติ
    ่
  เสียงข้างมากวินจฉัยว่า พ.ร.บ.
                    ิ
  ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาล
  ยุตธรรม พ.ศ.2543 มาตรา 26(10) 
      ิ
  เฉพาะข้อความที่ว่า “...กาย หรือ
  จิตใจไม่เหมาะสม...” มีปัญหาความ
  ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ มาตรา 30
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ทังนี้คำาวินจฉัยดังกล่าวสืบเนืองมา
    ้         ิ                  ่
  จากประธานผูตรวจการแผ่นดินได้
                  ้
  รับคำาร้องจากนายศิริมตร ซึงขอให้ 
                          ิ    ่
  ผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นเรื่องพร้อม
  ความเห็นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย 
  (ตามมาตรา 245(1))
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ เหตุทศาลรัฐธรรมนูญให้ เนืองจาก
        ี่                    ่
  เห็นว่า “การกำาหนดถ้อยคำาดังกล่าว
  ถือว่าเป็นการกำาหนดเกินความ
  จำาเป็น เป็นการจำากัดสิทธิในการ
  บรรจุเข้ารับราชการตุลาการของผู้
  พิการโดยคำานึงถึงสภาพร่างกาย 
  หรือจิต ของผู้พิการเพียงอย่างเดียว 
  และเป็นการเปิดโอกาสให้คณะ
  กรรมการทีมหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจ
              ่ ี
  สอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้าสอบใช้
  ดุลยพินจอย่างกว้างขวาง โดยมิได้
           ิ
  กำาหนดว่ากายหรือจิตใจลักษณะใด
E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ”
¥ ...อีกทั้งมิได้คำานึงความรู้ความ
  สามารถอันเป็นภารกิจหลักของ
  ตุลาการ หรือผู้พิพากษาในการ
  พิจารณาพิพากษาอรรถคดี 
  บทบัญญัตดงกล่าว จึงขัดต่อหลัก
               ิ ั
  การไม่เลือกปฏิบัตตอบุคคล เพราะ
                       ิ ่
  เหตุแห่งความแตกต่างในเรืองความ่
  พิการตามรัฐธรรมนูญ”
E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้
 ใช้ ช ื ่ อ สกุ ล ของสามี ... ”
¥ พ.ร.บ.ชือบุคคล พ.ศ.2505 มาตรา 
             ่
 12 กำาหนดไว้ว่า “...หญิงมีสามี ให้
 ใช้ชื่อสกุลของสามี...” อันมีความ
 หมายในเชิงบังคับแก่ฝ่ายหญิง
 เท่านั้น เท่ากับเป็นการลิดรอนสิทธิ
 ในการเลือกใช้ชอสกุลของหญิงมี
                   ื่
 สามี
E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้
 ใช้ต่อื ่ มา ศาลรัของสามี ... ” า
¥ ซึง
    ่
      ช อ สกุ ล ฐธรรมนูญ ตาม คำ
 วินจฉัยที 21/2546 ได้วนิจฉัยว่า 
    ิ       ่           ิ
 กฎหมายดังกล่าว ไม่ชอบด้วย
 รัฐธรรมนูญ เพราะขัดหรือแย้งต่อ
 รัฐธรรมนูญที่บัญญัตว่า “Éชายและ
                    ิ
 หญิงมีสทธิเท่าเทียมกันÉ” เป็นอัน
          ิ
 ใช้บังคับมิได้
E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้
 ใช้ ช ื้น พ.ร.บ.ชือบุคคล พ.ศ. 2505 
¥ จากนั
         ่ อ สกุ ล ของสามี ... ”
                    ่
 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
 2548 มาตรา 12 วรรคแรก จึงได้
 บัญญัติวา “คูสมรสมีสิทธิใช้ชอสกุล
          ่    ่               ื่
 ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตามทีตกลงกัน 
                            ่
 หรือต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของ
 ตน” 
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื นคนหนึ่งา รุบุต20 บาท  13 
¥ แม่
      ค่ า บำ นำา ง รชาย อายุ
 เดือนเศษ ไปเข้ารับการรักษาที่ โรง
 พยาบาลมาบอำามฤต จ.ชุมพร เมื่อ
 วันที่ 16 กรกฎาคม 2544 หลังจากที่
 รับการรักษาเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่
 ฝ่ายการเงินของโรงพยาบาลได้
 เรียกเก็บค่ายาเป็นจำานวนเงิน 60 
 บาท พร้อมทั้งออกใบเสร็จรับเงินให้
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น ค่้เา บำสามีทราบเรื่องจึงได้ตดต่อ
¥ เมื่อผู ป็น
               า รุ ง 20 บาท       ิ
 กับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลในวัน
 เดียวกัน โดยแจ้งว่าบุตรของตนอายุ
 ตำ่ากว่า 12 ปี รวมทั้งมี บัตรประกัน
 สุขภาพ (สปร.)  จึงควรได้รับการ
 ยกเว้นไม่ต้องเสียค่ารักษาพยาบาล 
 เจ้าหน้าที่ฯ ชี้แจงว่าเนืองจากไม่ได้
                          ่
 แสดงบัตรประกันสุขภาพให้เจ้า
 หน้าทีทราบ จึงต้องถูกเรียกเก็บค่า
        ่
 ยาดังกล่าว
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น ค่อโต้แย้งงา20 บาท
¥ คุณพ่
        า บำ า รุ ว่ ตนได้แสดงความ
 จำานงเพื่อขอมีบัตรสวัสดิการให้แก่
 บุตรแล้ว เมือวันที่ 3 พฤษภาคม 
             ่
 2544 พร้อมทังยังระบุให้โรง
                ้
 พยาบาลมาบอำามฤตเป็นหน่วย
 บริการประจำาครอบครัว แต่ทผ่านมา
                            ี่
 โรงพยาบาลยังไม่ได้ออกบัตร สปร
 .ถาวรให้ แต่ให้เป็นใบแทนมาก่อน 
 ซึงก็ได้หมดอายุลงแล้วด้วย
   ่
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น ค่ าหน้าที่ฯ ได้รบบาท ชีแจง จึง
¥ เมื่อเจ้
           า บำ า รุ ง 20ั ฟังคำา ้
 คืนเงิน 40 บาทให้ และได้แก้ไขใบ
 เสร็จรับเงิน โดยเปลี่ยนข้อความจาก
 คำาว่า “ค่ายา” จำานวน “60 บาท” 
 เป็น “ค่าบำารุง” จำานวน “20 บาท” 
 ไว้ในใบเสร็จรับเงิน และได้มอบบัตร 
 สปร.ของบุตรให้แก่คุณพ่อ
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
คื น ค่ าจึงา รุ ง เรื่องมาฟ้องต่อศาล
¥ คุณพ่อ
         บำ ได้นำา 20 บาท
 ปกครอง ศาลพิเคราะห์ว่า “ตาม
 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงิน
 อุดหนุนโครงการรักษาพยาบาลผูมี     ้
 รายได้น้อย และ   ผู้ทสังคมควรช่วย
                         ี่
 เหลือเกื้อกูล พ.ศ.2541 ได้กำาหนด
 ให้บุคคลซึงได้รบบัตรสวัสดิการ       
             ่      ั
 ประชาชนด้านการรักษาพยาบาล
 ตาม              ระเบียบสำานักนายก
 รัฐมนตรีว่าด้วยสวัสดิการประชาชน
 ด้านการรักษาพยาบาล 
 พ.ศ.2537É
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น ค่ า บำ อายุง ม่เกิน 12 ปีบริบูรณ์ 
¥ ...และเด็ก
              า รุ ไ 20 บาท
 เป็นผู้มรายได้น้อย หรือผู้ที่สงคม
          ี                          ั
 ควรช่วยเหลือเกื้อกูลโดยไม่คด          ิ
 มูลค่า การที่โรงพยาบาลกล่าวอ้างว่า 
 ผู้ฟ้องคดีสมัครใจจ่าย หรือไม่แสดง
 ความประสงค์ว่าจะไม่ขอจ่ายค่า
 บำารุงนั้น ย่อมไม่อาจรับฟังได้ อีกทัง     ้
 เมื่อข้อเท็จจริง                ฟังได้วา่
 บุตรของผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มบัตร           
                                 ี
        สปร. และได้เข้ารับการรักษา
 พยาบาลตามโรงพยาบาลทีกำาหนด        ่
 ไว้ในบัตร...
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น ค่รของผูรุ ง งคดีจึงย่อมได้รับ
¥ ...บุต
         า บำ า ้ฟ้อ 20 บาท
 การรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาล
 ดังกล่าว โดยไม่จำาเป็นต้องเสียค่า
 รักษาพยาบาลแต่อย่างใด...”
E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล
 คื น คุ่ด เมืา วันที 20 บาท
¥ ในที่ส
         า บำ อรุ ง ่ 19 พฤษภาคม 
              ่
 2547 ศาลปกครองกลางได้ม คำา     ี
 พิพากษาคดีหมายเลขแดงที่ 
 666/2547 ตัดสินให้โรงพยาบาล
 มาบอำามฤต ซึงเป็นโรงพยาบาลของ
               ่
 รัฐ ใน จ.ชุมพร คืนเงินจำานวน 20 
 บาททีเรียก  เก็บเป็นค่าบำารุงในการ
        ่
 รักษาพยาบาลบุตรให้แก่ผฟ้องคดี 
                             ู้
 เนื่องจากการเรียกเก็บเงินค่าบำารุง 
 ซึงถือเป็นส่วนหนึ่งของค่ารักษา
   ่
 พยาบาล เป็นการกระทำาทีไม่ชอบ
                           ่
 ด้วยกฎหมาย
ข้ อ ควรรู ้ เ พิ ่ ม เติ ม
¥ ปัญหาจากการบริการทางการแพทย์
  มิใช่เป็นการละเมิดทีเกิดจากการใช้
                       ่
  อำานาจตามกฎหมายหรือในทาง
  ปกครองของหน่วยงานทางปกครอง
  หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ กรณีเช่นนีไม่
                                  ้
  อยู่ในอำานาจของ    ศาลปกครอง ผู้
  เสียหายสามารถนำาเรื่องไปฟ้องเรียก
  ค่าเสียหายทางแพ่งได้ที่ ศาล
  ยุตธรรม
      ิ
ขอบคุ ณ ครั บ




                v it it a n o n @h
                o t m a il. c o m

More Related Content

Similar to Public health and the constitution (2)

เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพJunya Yimprasert
 
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554cddkorat
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558ประพันธ์ เวารัมย์
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตWasan Yodsanit
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 

Similar to Public health and the constitution (2) (11)

เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
 
Poster bio:
Poster bio:Poster bio:
Poster bio:
 
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
 
เกาะระในทรรศนะของอาตมา
เกาะระในทรรศนะของอาตมาเกาะระในทรรศนะของอาตมา
เกาะระในทรรศนะของอาตมา
 
4311701 5
4311701 54311701 5
4311701 5
 
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558
แนวทางการปฏิบัติราชการจากคำวินิจฉัยของศาลปกครองสูงสุด ปี 2558
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
Mockup
MockupMockup
Mockup
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 

Public health and the constitution (2)

  • 1. รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก ร ไทย กั บ การสาธารณสุ ข ( P u b lic H e a lt h a n d t h e C o n s t it u t io n ) ณั ฐ กร วิ ท ิ ต า นนท์
  • 2. ประวั ต ิ ศ าสตร์ ‘ รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย ’
  • 3.
  • 4. บทสรุ ป : รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย รวมทั ้ ง หมด : 18 ฉบั บ ภายในระยะ เวลา 80 ปี จำ า นวนมาตรา : มากที ่ ส ุ ด – 336 มาตรา / น้ อ ยที ่ ส ุ ด - 20 มาตรา ระยะเวลา : เฉลี ่ ย ฉบั บ ละ 4 ปี เ ศษๆ นานที ่ ส ุ ด - 13 ปี 4 เดื อ น 29 วั น / สั ้ น ที ่ ส ุ ด - 5 เดื อ น 13 วั น รู ป แบบ : ชั ่ ว คราว - 7 ฉบั บ / ถาวร - 11 ฉบั บ อื ่ น ๆ : มี น ายกรั ฐ มนตรี 28 คน / มี ก าร
  • 5. ภาพรวม ‘ รั ฐ ธรรมนู ญ ไทย ’ ปั จ จุ บ ั น
  • 6. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 คำ า ปรารภ หมวด 1 บททั ่ ว ไป หมวด 2 พระมหากษั ต ริ ย ์ หมวด 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของชนชาว ไทย ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป ส่ ว นที ่ 2 ความเสมอภาค ส่ ว นที ่ 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพส่ ว น บุ ค คล ส่ ว นที ่ 4 สิ ท ธิ ใ นกระบวนการ ยุ ต ิ ธ รรม ส่ ว นที ่ 5 สิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ ส ิ น
  • 7. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 3 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของชนชาว ไทย ( ต่ อ ) ส่ ว นที ่ 7 เสรี ภ าพในการแสดง ความคิ ด เห็ น ของบุ ค คลและ สื ่ อ มวลชน ส่ ว นที ่ 8 สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพในการ ศึ ก ษา ส่ ว นที ่ 9 สิ ท ธิ ใ นการได้ ร ั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข และสวั ส ดิ ก าร จากรั ฐ ส่ ว นที ่ 10 สิ ท ธิ ใ นข้ อ มู ล ข่ า วสาร และการร้ อ งเรี ย น
  • 8. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 4 หน้ า ที ่ ข องชนชาวไทย หมวด 5 แนวนโยบายพื ้ น ฐานแห่ ง รั ฐ ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป ส่ ว นที ่ 2 แนวนโยบายด้ า นความ มั ่ น คงของรั ฐ ส่ ว นที ่ 3 แนวนโยบายด้ า นการ บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ส่ ว นที ่ 4 แนวนโยบายด้ า นศาสนา สั ง คม การ สาธารณสุ ข การศึ ก ษา และ วั ฒ นธรรม ส่ ว นที ่ 5 แนวนโยบายด้ า น กฎหมายและการยุ ต ิ ธ รรม
  • 9. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื ้ น ฐานแห่ ง รั ฐ ( ต่ อ ) ส่ ว นที ่ 6 แนวนโยบายด้ า นการ ต่ า งประเทศ ส่ ว นที ่ 7 แนวนโยบายด้ า น เศรษฐกิ จ ส่ ว นที ่ 8 แนวนโยบายด้ า นที ่ ด ิ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล้ อ ม ส่ ว นที ่ 9 แนวนโยบายด้ า น วิ ท ยาศาสตร์ ทรั พ ย์ ส ิ น ทางปั ญ ญา และพลั ง งาน ส่ ว นที ่ 10 แนวนโยบายด้ า นการมี
  • 10. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 6 รั ฐ สภา ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป ส่ ว นที ่ 2 สภาผู ้ แ ทนราษฎร ส่ ว นที ่ 3 วุ ฒ ิ ส ภา ส่ ว นที ่ 4 บทที ่ ใ ช้ แ ก่ ส ภาทั ้ ง สอง ส่ ว นที ่ 5 การประชุ ม ร่ ว มกั น ของ รั ฐ สภา ส่ ว นที ่ 6 การตราพระราชบั ญ ญั ต ิ ประกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ส่ ว นที ่ 7 การตราพระราชบั ญ ญั ต ิ
  • 11. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 6 รั ฐ สภา ( ต่ อ ) ส่ ว นที ่ 8 การควบคุ ม การตรา กฎหมายที ่ ข ั ด หรื อ แย้ ง ต่ อ รั ฐ ธรรมนู ญ ส่ ว นที ่ 9 การควบคุ ม การบริ ห าร ราชการแผ่ น ดิ น หมวด 7 การมี ส ่ ว นร่ ว มทางการเมื อ ง โดยตรงของประชาชน หมวด 8 การเงิ น การคลั ง และงบ ประมาณ หมวด 9 คณะรั ฐ มนตรี
  • 12. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 10 ศาล ส่ ว นที ่ 1 บททั ่ ว ไป ส่ ว นที ่ 2 ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ ส่ ว นที ่ 3 ศาลยุ ต ิ ธ รรม ส่ ว นที ่ 4 ศาลปกครอง ส่ ว นที ่ 5 ศาลทหาร
  • 13. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 11 องค์ ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ   ส่ ว นที ่ 1 องค์ ก รอิ ส ระตาม รั ฐ ธรรมนู ญ     1. คณะกรรมการการเลื อ กตั ้ ง 2. ผู ้ ตรวจการแผ่ น ดิ น 3. คณะ กรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการ ทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ และ 4. คณะ กรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น   ส่ ว นที ่ 2 องค์ ก รอื ่ น ตาม รั ฐ ธรรมนู ญ     1. องค์ ก รอั ย การ  2. คณะกรรมการ
  • 14. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 12 การตรวจสอบการใช้ อ ำ า นาจ รั ฐ ส่ ว นที ่ 1 การตรวจสอบทรั พ ย์ ส ิ น ส่ ว นที ่ 2 การกระทำ า ที ่ เ ป็ น การ ขั ด กั น แห่ ง ผลประโยชน์ ส่ ว นที ่ 3 การถอดถอนจากตำ า แหน่ ง ส่ ว นที ่ 4 การดำ า เนิ น คดี อ าญาผู ้ ดำ า รงตำ า แหน่ ง ทางการเมื อ ง หมวด 13 จริ ย ธรรมของผู ้ ด ำ า รง ตำ า แหน่ ง ทางการเมื อ ง และ เจ้ า หน้ า ที ่ ร ั ฐ
  • 15. โครงสร้าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 14 การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น หมวด 15 การแก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม รั ฐ ธรรมนู ญ บทเฉพาะกาล
  • 16. ¦ ¦  ´›¦ ¤œ¼ ­™ ´¡¦ ¤®„ ˜¦ r µ œ ³ µ ¬´ ·¥ ¦´­£µ ‡–³´ ¤œ˜¦ ¦¦ ¸ ´µ¨ ¡µ ( ¡´ ) ( ‡r¦ i ¥ · ¦ ¡– „   µ ¦ µ ) ® ( ‡r¦ i ¥ ¨„¦ ¡µ „  µ ˜»µ µ ) à ¦ ­oŠ ™µ œÂ ³Š r ¦ Š µ Á¤ºŠ ° ´ Š ¦ ­ ´ ¨° „šµ „ ¦ °… Š “ µ ø ¦ ˜µ ´›¦ ¤œ¼  n µ µ ‹´¦š¥ ¡»›«´¦  ÓÖ Ñ ¤¦ ¦  ®¦ °–µ „Å š „ µ Ö “ Š
  • 17. ¦´­£µ ­£µ­ ª ­£µ • »· ‹ œª 5 0 µ Î œ 0  ‡œ ‹ œª 1 0 Î µ œ 5  ‡œ ¤µ µ „ ¦¨„ Ê  ‹ „ µ Á ¼ ˜´ ¡  ¤µ µ „ ¦¨„ Ê ‹ „ µ Á¼ ˜´ ¡ ´‹¦ ¥ ɵ œ 1 5‡œ  ¸ ¥¼¡Î µ ¡ œª 2 ‹ ®´¨ 1 ´ ª ³  ‡œ — ¤µ µ „ ¦¨„ Ê Â n… ‹ „ µ Á¼ ˜´ ¡  n ˜ Á ‹ œª É ¼¤µ µ „ ¦ ¦ µ µ Î œš¸¨ ‹ „ µ ­¦ ® Á ¡ ® Á˜¨  ‡œ ‹ œª 3 5‡œ … ³1 µ œ 7 Î
  • 18. ‡–³´¤œ˜¦ ¦ ¸ œµ „ ´ ¥¦ ¤ 1 ‡œ ¦¥ ´ Å Á· 5 ¤n œ 3  ‡œ „ „³ ª ¦ š¦ œ 2  „ ³ ª 0 ¦ š¦ œ
  • 19. ­œ´œµ ¦ ¤œ˜¦ µ Î „ ¥„ ´ ¸ “ „ ¦ · µ ¦ „ ¦ nœ„ µ µ ¦ ¦ µ µ ­ ¨ ® » Š „ ³ »Š ¦ š¦ „¤ ¦ ‹´ »´ Š®® °Á£° µ Î „ ¦ · µ¦ µ µ »œ£¼· µ µ ¦ ¦ „ ¦­ ¤£ ® n ˜Î¨ µ ®noœ ¤¼µ  „ ¦ · µ ¦ „ ¦­œšoŠ™· µ ¦ ¦ µ µ » ° É ® n œ ¦  ɞ ž ¼ š´Å » ¦  Á«¬ ž ¼ ¡· ° „ ¦ · µ ­œ‹´ »´ Šžr µ ¦ ¦ n Š®™ ® » „¦ Áš¡¤®œµ¦ Š » µ Á¤ºŠ¡´¥µ °š Áš«µ¨ ° „ ¦ · µ ­œ˜Î¨ ŠŠr µ ¦ ¦ n µ ® » à ¤ œœ n·
  • 20. ´µ¨ ´µ ¦ ¦  ¨´›¦ ¤œ¼ ´µ ¥ · ¦ ¨»› ¤ ˜¦ ´µ ¥ „ ¡¦ ¨ ‡¦ ´µ š®¦ ¨ µ «µ¨¸µ  „ ¸µ µ °Š¼Î¦˜ÎÂœn „ Á¤ºŠ ¨  œ„ „  … Š oµ Š µ ®Š µ¦ ° „ ° šµŠ «µ š¸µ ¨„ «µ¨ ž„ «µ ž„ ¨ «µ¨»›¦ ° –r š «µ ž„ ¦ Š ʘo ¨ „ °´ œ œ «µ ´˜o ¨Ê œ œ
  • 21. องค์กรตามรัฐธรรมนูญปี  พ.ศ.2550 อิ ส ระ ตามรั ฐ ธรรมนู ญ กรรมการการเลื อ กตั ้ ง ( มี 5 คน วาระ 7 ปี ) จการแผ่ น ดิ น ( มี 3 คน วาระ 6 ปี ) กรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห น วาระ 9 ปี ) กรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ( มี 7 คน วาระ 6 ป ด ดำ า รงตำ า แหน่ ง ได้ เ พี ย งวาระเดี ย ว เท่ า นั ้ น
  • 22. องค์กรตามรัฐธรรมนูญปี  พ.ศ.2550 รอื ่ น ตามรั ฐ ธรรมนู ญ กรอั ย การ กรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ( มี 7 คน วา ที ่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ
  • 23. ‘ รั ฐ ธรรมนู ญ ’ กั บ การ สาธารณสุ ข
  • 24. มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข  ่ ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน (1) หมวดสิทธิและเสรีภาพของชน ชาวไทย มาตรา 52 “บุคคลย่อมมีสทธิ ิ เสมอกันในการรับบริการทาง สาธารณสุขทีได้มาตรฐาน และผู้ ่ ยากไร้มสทธิได้รับการรักษาพยาบาล ี ิ จากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทังนี้ตามที่ ้ กฎหมายบัญญัติ การบริการทางสาธารณสุขของรัฐต้อง
  • 25. มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข  ่ ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน (2) หมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ  ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข  การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา  80(1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและ เยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและ ให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอ ภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและ พัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบัน ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์ และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผูยากไร้ ผู้ ้
  • 26. มาตราที่เกียวข้องกับการสาธารณสุข  ่ ‘โดยตรง’  แบ่งเป็น 2 ส่วน (2) หมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ  ด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข  การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา  80(2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบ สุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำา ไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้ง จัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการ สาธารณสุขทีมีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมี ่ ประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้เอกชนและ ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและ
  • 27. มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่  ่ (อาจ) เกี่ยวข้อง มาตรา 3 “การปฏิบติหน้าที่ของ ั รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้ง องค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงาน ของรัฐ ต้องเป็นไปตาม หลักนิตธรรม” ิ มาตรา 4 “ศักดิศรีความเป็นมนุษย์  ์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของ บุคคลย่อมได้รบความคุมครอง” ั ้ มาตรา 5 “ประชาชนชาวไทยไม่ว่า เหล่ากำาเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อม
  • 28. มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่  ่ (อาจ) เกี่ยวข้อง มาตรา 26 “การใช้อำานาจโดยองค์กร ของรัฐทุกองค์กร ต้องคำานึงถึงศักดิศรี ์ ความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพตาม บทบัญญัตแห่งรัฐธรรมนูญนี” ิ ้ มาตรา 28 “...บุคคลซึงถูกละเมิดสิทธิ ่ หรือเสรีภาพที่รฐธรรมนูญนี้รับรองไว้  ั สามารถยกบทบัญญัตแห่งรัฐธรรมนูญ ิ นี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็น ข้อต่อสู้คดีในศาลได้É”
  • 29. มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่  ่ (อาจ) เกี่ยวข้อง มาตรา 29 “การจำากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคลทีรัฐธรรมนูญ ่ รับรองไว้ จะกระทำามิได้ เว้นแต่โดย อาศัยอำานาจตามบทบัญญัตแห่ง ิ กฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รฐธรรมนูญ ั นี้กำาหนดไว้และเท่าที่จำาเป็น และจะ กระทบกระเทือนสาระสำาคัญแห่งสิทธิ และเสรีภาพนั้นมิได้É”
  • 30. มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่  ่ (อาจ) เกี่ยวข้อง มาตรา 30 “บุคคลย่อมเสมอกันใน กฎหมายและได้รบความคุมครองตาม ั ้ กฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล เพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่น กำาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความ พิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะ ของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม  ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ
  • 31. มาตราอืนๆ ด้าน “สิทธิมนุษยชน” ที่  ่ (อาจ) เกี่ยวข้อง มาตรา 32 “บุคคลย่อมมีสทธิและ ิ เสรีภาพในชีวตและร่างกายÉ ในกรณี ิ ที่มการกระทำาซึงกระทบต่อสิทธิและ ี ่ เสรีภาพดังกล่าว ผูเสียหาย พนักงาน ้ อัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ ของผูเสียหาย มีสทธิรองต่อศาลเพื่อ ้ ิ ้ ให้สั่งระงับหรือเพิกถอนการกระทำา เช่นว่านัน รวมทั้งจะกำาหนดวิธีการตาม ้ สมควรหรือการเยียวยาความเสียหาย
  • 32. E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ”
  • 33. E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ” ¥ “สิทธิการตาย” (Right to  Die) มาจากแนวคิด “ชีวิต เป็นของเรา” เชื่อว่าการตาย อย่างมีศกดิศรี (Death  ั ์ Dignity) ควรเป็นสิ่งที่มนุษย์ สามารถจะตัดสินใจ ‘เลือก’  ได้เอง
  • 34. E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ” ¥ แบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภท ¥ (1) การทำาให้ผู้ป่วยตายโดยสงบ  หรือ “การุณยฆาต” (Mercy  Killing หรือ Euthanasia เป็น ภาษากรีก แปลว่า “การตาย อย่างเป็นสุข” หรือเรียกว่าเป็น  Assisted Suicide) ¥ (2) สิทธิในการปฏิเสธการรักษา  (Right to refuse medical  treatment) บุคคลมีสิทธิแสดง
  • 35. E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ” ¥ การแสดงเจตนาเพื่อขอใช้สทธิ ิ ตามข้อ (1) และ (2) ย่อมจะ ทำาได้ด้วยการเขียนหนังสือแสดง เจตจำานงเอาไว้ล่วงหน้า หรือที่ เรียกว่า “พินัยกรรมชีวิต”  (Living Will)
  • 36. E X: “ สิ ท ธิ ใ นการตาย ” ¥ ในปัจจุบันยังคงไม่มรฐธรรมนูญของ ี ั ประเทศใดที่บญญัตเกี่ยวกับสิทธิใน ั ิ การตายเอาไว้ และมีเพียง      4  ประเทศ เท่านันที่ได้ออกกฎหมาย ้ รับรองสิทธิการตายประเภท (1)  แล้ว โดยอนุญาตให้มการทำาการุณย ี ฆาตได้ แต่ทั้งนี้ จะต้องเป็นไปภาย ใต้เงื่อนไขต่างๆ ตามที่กฎหมายได้ กำาหนดไว้ ได้แก่ เนเธอร์แลนด์   เบลเยี่ยม (ตังแต่ปี 2002) ลักเซม ้ เบิรก และสหรัฐอเมริกา แต่เฉพาะใน  ์ 2 มลรัฐ คือ โอเรกอน กับ วอชิงตัน 
  • 39. E X: Ramon Sampedro (1943-1998) ¥ ในสเปน นายราโมน แซมเปโดร  ประสบอุบัตเหตุระหว่างการดำานำ้า  ิ ส่งผลให้เขากลายเป็นอัมพาต ตังแต่คอลงมา ตั้งแต่อายุได้ 25  ้ ปี หลังจากนัน เขาก็ไม่อยากจะมี ้ ชีวิตอยูอีกต่อไป แม้มีหลายคน ่ คอยให้กำาลังใจ และยังได้รับเงิน ช่วยเหลือจากรัฐบาล เขา พยายามวินวอนให้คนรอบข้าง ฆ่าเขาเสีย ซึ่งถือเป็นสิ่งผิด
  • 40. E X: Ramon Sampedro (1943-1998)นศาล เรียกร้องให้ ¥ เขาต่อสูในชั้ ้ อนุญาติให้เขาตายโดยสงบ ใน ทีสุด ศาลก็พิจารณาอนุญาติให้ ่ เขาตายได้ใน ค.ศ. 1998 เมื่อ มีอายุ 50 ปีเศษ ซึ่งเท่ากับว่าเขา เรียกร้องในเรื่องนีมายาวนานก ้ ว่า 30 ปีเต็ม
  • 42. E X: Terri Schiavo (1963-2005) กา นางเทอร์รี เชีย ¥ ในสหรัฐอเมริ โว หญิงผู้ป่วยสมองพิการวัย 41  ปี ผูซึ่ง 15 ปีก่อนหน้าเกิดการ ้ แพ้อาหาร จนเป็นเหตุให้เป็นลม และล้มวูบลงที่บ้านพัก เธอได้รับ การช่วยจนรอดชีวิต แต่ทว่า สมองที่ขาดเลือดและออกซิเจน เลียงเป็นเวลานาน ทำาให้เกิด ้ ความพิการทางสมอง และ ร่างกายส่วนอื่นๆ อย่างถาวร จน
  • 43. E X: Terri Schiavo (1963-2005) ¥ เธอต้องเจาะคอ เพื่อช่วยหายใจและ ดูดเสมหะ ต้องให้อาหารผ่านทางท่อ ทีเจาะบริเวณหน้าท้อง ต้องคาท่อ ่ สวนปัสสาวะไว้ในกระเพาะปัสสาวะ ให้ถ่ายปัสสาวะได้  ¥ เธอตกอยู่ในสภาพดังกล่าวนานร่วม  15 ปี  ¥ ในที่สุดสามีของเธอ คือ นายไมเคิล  เชียโว ได้ยื่นคำาร้องขอสิทธิในการ ตายต่อศาลให้แก่ภรรยา โดยอ้างถึง ถ้อยคำาทีเธอเคยสั่งเสียไว้ก่อนหน้า ่
  • 44. E X: Terri Schiavo (1963-2005) เกิดขึน ฝ่ายหนึ่ง ¥ ความขัดแย้ง ้ ต้องการทีจะ ‘หยุด’ ชีวิต กับอีก ่ ฝ่ายหนึงทีต้องการจะ ‘ต่อ’ ชีวิต ่ ่ ของเธอนำาไปสู่การต่อสู้ทางศาล ระหว่างสามีกับบุพการี  ¥ ศาลชันต้นของรัฐฟลอริดามีคำา ้ พิพากษาให้คณะแพทย์ถอดสาย ยางส่งอาหาร และคาดว่าเธอจะ ค่อยๆ หมดลมหายใจภายใน 2  สัปดาห์
  • 45. E X: Terri Schiavo (1963-2005)ประเด็นระดับชาติขึ้น ¥ เมื่อกลายเป็น มา ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู  บุช ตัดสินใจลงนามในร่างกฎหมาย ฉบับพิเศษ เพื่อต่อชีวิตของเธอ ด้วย เหตุผลว่า ศาลควรเห็นชอบให้ความ สำาคัญในชีวิตคนไว้ก่อน แต่ก็ไม่เป็น ผล เพราะสุดท้ายแล้ว ผู้พิพากษา ศาลอุทธรณ์ได้มคำาพิพากษายืนคำา ี ตัดสินของศาลชันต้นไม่ให้ตอสาย ้ ่ ยางท่อส่งอาหารให้เธอ เพื่อผู้ป่วยจะ ได้สิ้นลมอย่างสงบ จวบจนกระทัง ่ เวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ หลังจากการ
  • 46. พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ . ศ .2550 หมวด 1 สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที ่ ด ้ า น สุ ข ภาพ มาตรา 12 “บุ ค คลมี ส ิ ท ธิ ท ำ า หนั ง สื อ แสดง เจตนาไม่ ป ระสงค์ จ ะรั บ บริ ก าร สาธารณสุ ข ที ่ เ ป็ น ไปเพี ย งเพื ่ อ ยื ด การตายในวาระสุ ด ท้ า ยของชี ว ิ ต ตน หรื อ เพื ่ อ ยุ ต ิ ก ารทรมานจาก การเจ็ บ ป่ ว ยได้ การดำ า เนิ น การตามหนั ง สื อ แสดง เจตนาตามวรรคหนึ ่ ง ให้ เ ป็ น ไป ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธ ี ก ารที ่
  • 47. œ Ê ¡ª ´… ¨—´  µ Î Ä ³ š¥ œµ¦ Á š´Å ¦ ›¦ ¤œ¼ ³ ´ ¦  ¡¦ ¦ ¨  ´· ³¡¦ ›¦ ¤œ¼ ³µ ´ ˜ ¦ „ ´ ¦  ¡¦ ¦ ´ ´· ³µ  ˜ ¡ ¦ ¤ª„ ¤µ ³ ¨‘® ¥ ¡¦ ¦ ¦„® ³µ Î µ œ— ¡¦ ¦ ¦ ¤¬‘¸ ³µ „ „ µ „ ¦ š¦ ¬ ‘„³ ª ¦ Á ¥ o´  … ³µ ‡Î ³¸ ¡ ¥ ¦ „´ µ É … ‡´ ­´ ‡ ®ªÉ ¡¸ œn µ ¥ œ… … ´ ´·  ´·o´  ¡ o  ˜Á š´´ ˜ …  ¡ ‡´ ¡¡‡r¦ ‡¦ ª ¡¡™ „ ¦„ ¡¡­nœšo · œ É
  • 48. กฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การ สาธารณสุ ข อื ่ น ๆ ¥ พ.ร.บ.ยา พ.ศ.2510 ¥ พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 ¥ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2523 ¥ พ.ร.บ.เครื่องสำาอาง พ.ศ.2535 ¥ พ.ร.บ.คุมครองสุขภาพของผู้ไม่สูบ ้ บุหรี่ พ.ศ.2535 ¥ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ¥ พ.ร.บ.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข  พ.ศ.2535
  • 49. กฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การ สาธารณสุ ข อื ่ น ๆ ¥ พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541 ¥ พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริม 2544 ¥ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  พ.ศ.2545 ¥ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 ¥ พ.ร.บ.เครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551 ¥ ฯลฯ
  • 50. “กลไกของรัฐ” ถือเป็นเครืองมือที่สำาคัญ ่ ในการบังคับใช้กฎหมายและมีบทบาท อย่างมากต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หลายองค์กรมีอำานาจหน้าทีดูแลเรืองนี้ ่ ่ โดยตรง ได้แก่ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมันคงของมนุษย์, คณะ ่ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ผู้ตรวจ การแผ่นดิน หลายองค์กรมีอำานาจหน้าทีวินิจฉัยชีขาด ่ ้ คดีความในส่วนทกี่ยวข้อง ได้แก่ ศาล รัฐธรรมนูญ, ศาลปกครอง
  • 51.
  • 52. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ นายศิริมตร ทนายความร่างกายผิด ิ ปกติ เนืองจากเป็นโปลิโอ สมัครสอบ ่ ผู้ชวยผู้พิพากษา คณะอนุกรรมการ ่ ตรวจสอบคุณสมบัตฯ พิจารณาเห็น ิ ว่าเป็นกรณี มีร่างกายไม่เหมาะสม  ตาม มาตรา 26 (10) พ.ร.บ.ระเบียบ ข้าราชการฝ่ายตุลาการ พ.ศ.2543 เห็นควร ไม่รบสมัคร ต่อมา ก.ต. ก็มี ั มติเห็นชอบด้วย
  • 53. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ เขาเห็นว่ากฎหมายดังกล่าวน่าจะไม่ ชอบด้วย       หลักความเสมอภาค ตามรัฐธรรมนูญ จึงร้องต่อ ผูตรวจ ้ การแผ่นดินของรัฐสภา เพื่อเสนอ เรื่องพร้อมความเห็นต่อ ศาล รัฐธรรมนูญ ให้พิจารณาวินิจฉัยต่อ ไป
  • 54. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ศาลรัฐธรรมนูญ โดย คำาวินิจฉัยที่  16/2545 พิจารณาตัวกฎหมายที่ เขียนลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครฯ  ไว้ว่า “มีกาย... ไม่เหมาะสมที่จะเป็น ข้าราชการตุลาการ”  ไม่ขัดกับหลัก ความเสมอภาค เพราะกรณีการรับ สมัครสอบผูพิพากษามีความจำาเป็น ้ ต้องพิจารณาร่างกายของผู้สมัคร ประกอบด้วย
  • 55. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ จากนั้นนายศิรมตรได้สมัครสอบเข้า ิ ิ เป็นอัยการผู้ชวยทาง ก.อ. ก็มมติ  ่ ี ไม่รับสมัคร เนื่องจากเหตุผล เดียวกัน คือ มีรางกายไม่เหมาะสม  ่ ¥ เขาจึงไปฟ้องต่อ ศาลปกครอง เพื่อ ขอเพิกถอนมตินี้ ระหว่างพิจารณา คดี ศิรมตรได้รองขอให้ ศาล ิ ิ ้ ปกครอง ส่งเรืองให้ ศาลรัฐธรรมนูญ  ่ พิจารณา (อีกครั้ง) ว่า มาตรา 33  (11) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการฝ่าย อัยการ พ.ศ.2521 ขัดหรือแย้งต่อ
  • 56. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ต่อมา ศาลรัฐธรรมนูญ ใน คำา วินจฉัยที 44/2545 ก็ยืนยันว่า “ ิ ่ บทบัญญัตดงกล่าวไม่ถือเป็นการ ิ ั เลือกปฏิบัตโดยไม่เป็นธรรม... แต่ ิ อย่างใด”
  • 57. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ในส่วนของมติ ก.อ. นั้น ศาล ปกครองชั้นต้น ยกฟ้อง เขาอุทธรณ์ ต่อ ศาลปกครองสูงสุด กลับคำา พิพากษาโดยพิพากษาให้ เพิกถอน มติ ก.อ. ดังกล่าว ด้วยเหตุผล “ถึง แม้สภาพกายของผู้ฟ้องคดีจะพิการ  แต่ความแตกต่างดังกล่าวไม่ถงขั้น ึ จะเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัตหน้าที่ ิ ในลักษณะงานของอัยการ... จึง เป็นการใช้ดลพินิจที่ไม่ชอบ และ ุ เป็นการเลือกปฏิบติทไม่เป็นธรรมต่อ ั ี่ ผู้ฟ้องคดี...”
  • 58. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ระหว่างปี 2550­2552 นายศิรมตร ิ ิ ได้สมัครสอบในตำาแหน่งผูช่วยผู้ ้ พิพากษาอีกหลายครัง แต่  ้ สำานักงานศาลยุตธรรมก็แจ้งว่าเขา ิ ไม่มสิทธิสอบทุกครังไป       ศิริมตร ี ้ ิ จึงนำาคดีมาฟ้อง ‘ตรง’ ต่อศาล รัฐธรรมนูญ (ตามมาตรา 212) ศาล รัฐธรรมนูญมีคำาสั่งที 4/2552 ไม่ ่ รับคำาร้องไว้พิจารณาวินจฉัย  ิ เนื่องจาก “คดียังอยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลอุทธรณ์ และผูร้อง ้ ยังมีชองทางทีจะใช้สิทธิโดยวิธีการ ่ ่
  • 59. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ล่าสุด คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที 15/2555 ศาลรัฐธรรมนูญ มีมติ ่ เสียงข้างมากวินจฉัยว่า พ.ร.บ. ิ ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาล ยุตธรรม พ.ศ.2543 มาตรา 26(10)  ิ เฉพาะข้อความที่ว่า “...กาย หรือ จิตใจไม่เหมาะสม...” มีปัญหาความ ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ มาตรา 30
  • 60. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ทังนี้คำาวินจฉัยดังกล่าวสืบเนืองมา ้ ิ ่ จากประธานผูตรวจการแผ่นดินได้ ้ รับคำาร้องจากนายศิริมตร ซึงขอให้  ิ ่ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ยื่นเรื่องพร้อม ความเห็นให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย  (ตามมาตรา 245(1))
  • 61. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ เหตุทศาลรัฐธรรมนูญให้ เนืองจาก ี่ ่ เห็นว่า “การกำาหนดถ้อยคำาดังกล่าว ถือว่าเป็นการกำาหนดเกินความ จำาเป็น เป็นการจำากัดสิทธิในการ บรรจุเข้ารับราชการตุลาการของผู้ พิการโดยคำานึงถึงสภาพร่างกาย  หรือจิต ของผู้พิการเพียงอย่างเดียว  และเป็นการเปิดโอกาสให้คณะ กรรมการทีมหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจ ่ ี สอบคุณสมบัติผู้สมัครเข้าสอบใช้ ดุลยพินจอย่างกว้างขวาง โดยมิได้ ิ กำาหนดว่ากายหรือจิตใจลักษณะใด
  • 62. E X: คดี “ ศิ ร ิ ม ิ ต ร บุ ญ มู ล ” ¥ ...อีกทั้งมิได้คำานึงความรู้ความ สามารถอันเป็นภารกิจหลักของ ตุลาการ หรือผู้พิพากษาในการ พิจารณาพิพากษาอรรถคดี  บทบัญญัตดงกล่าว จึงขัดต่อหลัก ิ ั การไม่เลือกปฏิบัตตอบุคคล เพราะ ิ ่ เหตุแห่งความแตกต่างในเรืองความ่ พิการตามรัฐธรรมนูญ”
  • 63. E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้ ใช้ ช ื ่ อ สกุ ล ของสามี ... ” ¥ พ.ร.บ.ชือบุคคล พ.ศ.2505 มาตรา  ่ 12 กำาหนดไว้ว่า “...หญิงมีสามี ให้ ใช้ชื่อสกุลของสามี...” อันมีความ หมายในเชิงบังคับแก่ฝ่ายหญิง เท่านั้น เท่ากับเป็นการลิดรอนสิทธิ ในการเลือกใช้ชอสกุลของหญิงมี ื่ สามี
  • 64. E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้ ใช้ต่อื ่ มา ศาลรัของสามี ... ” า ¥ ซึง ่ ช อ สกุ ล ฐธรรมนูญ ตาม คำ วินจฉัยที 21/2546 ได้วนิจฉัยว่า  ิ ่ ิ กฎหมายดังกล่าว ไม่ชอบด้วย รัฐธรรมนูญ เพราะขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญที่บัญญัตว่า “Éชายและ ิ หญิงมีสทธิเท่าเทียมกันÉ” เป็นอัน ิ ใช้บังคับมิได้
  • 65. E X: คดี “ ...หญิ ง มี ส ามี ให้ ใช้ ช ื้น พ.ร.บ.ชือบุคคล พ.ศ. 2505  ¥ จากนั ่ อ สกุ ล ของสามี ... ” ่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 มาตรา 12 วรรคแรก จึงได้ บัญญัติวา “คูสมรสมีสิทธิใช้ชอสกุล ่ ่ ื่ ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตามทีตกลงกัน  ่ หรือต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของ ตน” 
  • 66. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื นคนหนึ่งา รุบุต20 บาท  13  ¥ แม่ ค่ า บำ นำา ง รชาย อายุ เดือนเศษ ไปเข้ารับการรักษาที่ โรง พยาบาลมาบอำามฤต จ.ชุมพร เมื่อ วันที่ 16 กรกฎาคม 2544 หลังจากที่ รับการรักษาเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงินของโรงพยาบาลได้ เรียกเก็บค่ายาเป็นจำานวนเงิน 60  บาท พร้อมทั้งออกใบเสร็จรับเงินให้
  • 67. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่้เา บำสามีทราบเรื่องจึงได้ตดต่อ ¥ เมื่อผู ป็น า รุ ง 20 บาท ิ กับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลในวัน เดียวกัน โดยแจ้งว่าบุตรของตนอายุ ตำ่ากว่า 12 ปี รวมทั้งมี บัตรประกัน สุขภาพ (สปร.)  จึงควรได้รับการ ยกเว้นไม่ต้องเสียค่ารักษาพยาบาล  เจ้าหน้าที่ฯ ชี้แจงว่าเนืองจากไม่ได้ ่ แสดงบัตรประกันสุขภาพให้เจ้า หน้าทีทราบ จึงต้องถูกเรียกเก็บค่า ่ ยาดังกล่าว
  • 68. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่อโต้แย้งงา20 บาท ¥ คุณพ่ า บำ า รุ ว่ ตนได้แสดงความ จำานงเพื่อขอมีบัตรสวัสดิการให้แก่ บุตรแล้ว เมือวันที่ 3 พฤษภาคม  ่ 2544 พร้อมทังยังระบุให้โรง ้ พยาบาลมาบอำามฤตเป็นหน่วย บริการประจำาครอบครัว แต่ทผ่านมา ี่ โรงพยาบาลยังไม่ได้ออกบัตร สปร .ถาวรให้ แต่ให้เป็นใบแทนมาก่อน  ซึงก็ได้หมดอายุลงแล้วด้วย ่
  • 69. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่ าหน้าที่ฯ ได้รบบาท ชีแจง จึง ¥ เมื่อเจ้ า บำ า รุ ง 20ั ฟังคำา ้ คืนเงิน 40 บาทให้ และได้แก้ไขใบ เสร็จรับเงิน โดยเปลี่ยนข้อความจาก คำาว่า “ค่ายา” จำานวน “60 บาท”  เป็น “ค่าบำารุง” จำานวน “20 บาท”  ไว้ในใบเสร็จรับเงิน และได้มอบบัตร  สปร.ของบุตรให้แก่คุณพ่อ
  • 70. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่ าจึงา รุ ง เรื่องมาฟ้องต่อศาล ¥ คุณพ่อ บำ ได้นำา 20 บาท ปกครอง ศาลพิเคราะห์ว่า “ตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงิน อุดหนุนโครงการรักษาพยาบาลผูมี ้ รายได้น้อย และ   ผู้ทสังคมควรช่วย ี่ เหลือเกื้อกูล พ.ศ.2541 ได้กำาหนด ให้บุคคลซึงได้รบบัตรสวัสดิการ        ่ ั ประชาชนด้านการรักษาพยาบาล ตาม              ระเบียบสำานักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยสวัสดิการประชาชน ด้านการรักษาพยาบาล  พ.ศ.2537É
  • 71. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่ า บำ อายุง ม่เกิน 12 ปีบริบูรณ์  ¥ ...และเด็ก า รุ ไ 20 บาท เป็นผู้มรายได้น้อย หรือผู้ที่สงคม ี ั ควรช่วยเหลือเกื้อกูลโดยไม่คด ิ มูลค่า การที่โรงพยาบาลกล่าวอ้างว่า  ผู้ฟ้องคดีสมัครใจจ่าย หรือไม่แสดง ความประสงค์ว่าจะไม่ขอจ่ายค่า บำารุงนั้น ย่อมไม่อาจรับฟังได้ อีกทัง ้ เมื่อข้อเท็จจริง                ฟังได้วา่ บุตรของผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มบัตร            ี        สปร. และได้เข้ารับการรักษา พยาบาลตามโรงพยาบาลทีกำาหนด ่ ไว้ในบัตร...
  • 72. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น ค่รของผูรุ ง งคดีจึงย่อมได้รับ ¥ ...บุต า บำ า ้ฟ้อ 20 บาท การรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาล ดังกล่าว โดยไม่จำาเป็นต้องเสียค่า รักษาพยาบาลแต่อย่างใด...”
  • 73. E X: คดี ฟ ้ อ งโรงพยาบาล คื น คุ่ด เมืา วันที 20 บาท ¥ ในที่ส า บำ อรุ ง ่ 19 พฤษภาคม  ่ 2547 ศาลปกครองกลางได้ม คำา ี พิพากษาคดีหมายเลขแดงที่  666/2547 ตัดสินให้โรงพยาบาล มาบอำามฤต ซึงเป็นโรงพยาบาลของ ่ รัฐ ใน จ.ชุมพร คืนเงินจำานวน 20  บาททีเรียก  เก็บเป็นค่าบำารุงในการ ่ รักษาพยาบาลบุตรให้แก่ผฟ้องคดี  ู้ เนื่องจากการเรียกเก็บเงินค่าบำารุง  ซึงถือเป็นส่วนหนึ่งของค่ารักษา ่ พยาบาล เป็นการกระทำาทีไม่ชอบ ่ ด้วยกฎหมาย
  • 74. ข้ อ ควรรู ้ เ พิ ่ ม เติ ม ¥ ปัญหาจากการบริการทางการแพทย์ มิใช่เป็นการละเมิดทีเกิดจากการใช้ ่ อำานาจตามกฎหมายหรือในทาง ปกครองของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ กรณีเช่นนีไม่ ้ อยู่ในอำานาจของ    ศาลปกครอง ผู้ เสียหายสามารถนำาเรื่องไปฟ้องเรียก ค่าเสียหายทางแพ่งได้ที่ ศาล ยุตธรรม ิ
  • 75. ขอบคุ ณ ครั บ v it it a n o n @h o t m a il. c o m