SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
๑๘

ผนวก ฉ สถานการณ์ในการฝึก การฝึกวางแผนป้องกันประเทศ ระดับ กองทัพไทย

๑. สถานการณ์
       ๑.๑ สานักข่าวกรองแห่งชาติ : ได้รายงานว่าประเทศ เหลือง ส้ม และเขียว ได้รวมตัวกัน
                                                     จั ด ตั้ ง เป็ น “กลุ่ ม สหพั น ธ์ อิ น โดจี น ”
                                                     เพื่ อ ให้ มี พ ลั ง ส าหรั บ การต่ อ ต้ า นต่ อ
                                                     ประเทศเรามากขึ้ น ปั จ จุ บั น ได้ เ ริ่ ม
                                                     เพิ่มเติมศักยภาพทางทหารอย่างเต็มที่
                                                     พร้อมทั้งจัดตั้งกองกาลังร่วมผสมอินโด
                                                     จี น ขึ้ น โ ด ย มี ป ร ะ เ ท ศ ส้ ม เ ป็ น ผู้
                                                     บัญชาการกองกาลังร่วมผสมนี้
                                               ในสถานการณ์นี้
                                                พม่าและมาเลเซีย ประกาศความเป็นกลาง



          มีปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศเรากับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน เกี่ยวกับผลประโยชน์ด้าน
การค้า ปัญหาแนวชายแดน ปัญหาทรัพยากรในทะเล ยังคงมีอยู่ต่อไป และมีความเข้มข้นมากขึ้น
ประเทศมหาอานาจโดยเฉพาะประเทศขาวได้แสดงท่าทีสนับสนุนต่อกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน ปัจจุบัน
นี้ความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยของเรากับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีนยังคงมีอยู่และเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
กลุ่มสหพันธ์อินโดจีนจึงพิจารณาใช้ปฏิบัติการทางทหารเพื่อการแก้ปัญหาและดารงไว้ซึ่ง
ผลประโยชน์ของกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน โดยมีประเทศมหาอานาจที่ได้รับผลประโยชน์จากการลงทุน
ในประเทศของกลุ่มสหพันธ์อินโดจีนให้การสนับสนุน
          ๑.๒ กองทัพไทยได้รายงานข่าวกรองระดับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวกับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน มีการ
ปฏิบัติที่สาคัญดังนี้
                   ๑.๒.๑ ๑๐ ม.ค. ๕๕ กลุ่มสหพันธ์อินโดจีนได้ประกาศจัดตั้งหน่วยใหม่เพิ่มเติมจาก
หน่วยที่มีอยู่แล้วดังนี้
                         หน่วยทีจัดตั้งขึ้นใหม่
                                ่                                             ที่ตั้ง
     ๑. กองบัญชาการกองกาลังร่วมผสมอินโดจีน                         เมืองฮานอย
     ๒. กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน                                        เมืองฮานอย
     ๓. กกล.ทร. ผสมอินโดจีน                                        เมืองฮานอย
     ๔. กกล.ทอ. ผสมอินโดจีน                                        เมืองฮานอย
     ๕. กกล.ปฏิบัติการพิเศษร่วมผสมอินโดจีน                         เมืองฮานอย
     ๖. กองพลป้องกันภัยทางอากาศ                                    เมืองฮานอย
     ๗. กองทัพสนามผสมที่ ๑ อินโดจีน                                เมืองฮานอย
     ๘. กองทัพสนามผสมที่ ๒ อินโดจีน                                เมืองฮานอย
     ๙. กองทัพสนามผสมที่ ๓ อินโดจีน                                เมืองฮานอย
๑๙


                       หน่วยที่จัดตั้งขึ้นใหม่                                   ที่ตั้ง
    ๑๐. ทน.๑๑                                                          เมืองฮานอย
    ๑๑. ทน.๑๒                                                          เมืองฮานอย
    ๑๒. ทน.๑๓                                                          เมืองฮานอย
    ๑๓. ทน.๒๑                                                          เมืองฮานอย
    ๑๔. ทน.๒๒                                                          เมืองฮานอย
    ๑๕. ทน. ๒๓                                                         เมืองฮานอย
    ๑๖. ทน. ๓๑                                                         เมืองฮานอย
    ๑๗. ทน. ๓๒                                                         เมืองฮานอย
    ๑๘. ทน. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖ อินโดจีน                        เมืองฮานอย
    ๑๙. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๑                                         เมืองฮานอย
    ๒๐. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๒                                         เมืองฮานอย
    ๒๑. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๓                                         เมืองฮานอย
    ๒๒. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน                                       เมืองฮานอย
    ๒๓. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน                                          เมืองฮานอย
    ๒๔. กองพลบินผสมที่ ๑ อินโดจีน                                      เมืองฮานอย
    ๒๕. กองพลบินผสมที่ ๒ อินโดจีน                                      เมืองฮานอย
    ๒๖. กรมจู่โจม ( ๓ กองพันจูโจม )                                    เมืองฮานอย
    ๒๗. พล.ถ. ที่ ๘๑                                                   เมืองฮานอย
    ๒๘. พล.ถ. ที่ ๘๒                                                   เมืองฮานอย
    ๒๙. พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๑                                              เมืองฮานอย
    ๓๐. พล.ปล.ยน.ที่ ๓๑๒                                               เมืองฮานอย
    ๓๑. พล.ปล.ยน.ที่ ๓๒๑                                               เมืองฮานอย
    ๓๒. พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๒                                              เมืองฮานอย
หมายเหตุ : การจัดตั้งดังกล่าวเป็นอัตราโครงทั้งสิ้น

                 ๑.๒.๒ ๒๐ ม.ค. ๕๕ : ผู้บัญชาการกองกาลังร่วมผสมอินโดจีน ได้เรียกประชุม
หน่วยขึ้นตรงซึ่งประกอบด้วย กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน กกล.ทร. ผสมอินโดจีน กกล.ทอ. ผสมอินโด
จีน และ กกล.ปพ.ร่วมผสมอินโดจีน โดยมีสาระสาคัญในการประชุมที่ได้รับการยืนยันคือ ให้ทุก
หน่วยเคลื่อนย้ายเข้าที่ตั้งเพื่อเตรียมปฏิบัติการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ เดือน เพื่อพร้อมที่จะปฏิบัติการ
ตามภารกิจที่รับมอบภายใน ๑ ปีข้างหน้า และให้มีความพร้อมรบภายใน ๘ เดือน นับจากนี้
                 ๑.๒.๓ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน ได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง
บก.กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน และ หน่วยขึ้นตรง กกล.ทบ. ปรากฎว่ามีผู้เข้าประชุม ดังนี้
ผบ. หน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทบ.
    ผบ.กรม ร. ส่งทางอากาศ
    ผบ.พล.ช.
๒๐

     ผบ.กรม บ.
     ผบ.กรมจรวด SCUD ( B )
     ผบ.กรม สห.
     ผบ.กรม ปจว.
     ผบ.พล. กาลังทดแทน
     ผบ.กรมข่าวกรองทางทหาร
     ผบ.พล. ป้องกันภัยทางอากาศ
     ผบ.กรมทหารสื่อสาร
     ผบ. กรมกิจการพลเรือน
     ผบ.กรม ประชาสัมพันธ์
     ผบ.กรม บริการกาลังพล
     ผบ. กลุ่มส่งกาลัง และบริการที่ ๑ ถึง ๔
     ผบ. กองบัญชาการสิ่งอุปกรณ์
     ผบ. กองบัญชาการซ่อมบารุง
     ผบ. กองบัญชาการเสนารักษ์
     ผบ. กองบัญชาการขนส่ง
ผบ. หน่วยขึ้นตรง กกล.ทบ.
     ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๑
     ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๒
     ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๓
     ผบ. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖
                    ๑.๒.๔ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทร. ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมดังนี้
     ผบ. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน
     ผบ. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน
     ผู้บังคับบัญชาของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทร. ผสมอินโดจีน
                    ๑.๒.๕ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทร.ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งมี
ผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ.กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน
                          ผบ. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน
                          ผบ.กรมนาวิกโยธิน ( ๒ กองพันนาวิกโยธิน )
                          ผู้บังคับบัญชาของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทร. ผสมอินโดจีน
                    ๑.๒.๖ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทอ.ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่ง
มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ.กองพลบินผสมที่ ๑ อินโดจีน
๒๑

                          ผบ. กองพลบินผสมที่ ๒ อินโดจีน
                          ผบ. กรมนาวิกโยธิน ( ๒ กองพันนาวิกโยธิน )
                          ผบ. ของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทอ.ผสมอินโดจีน
                     ๑.๒.๗ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.พล.รพศ. ซึ่งได้รับการแต่ตั้งเป็น ผบ.กกล.ปพ.ร่วมผสม
อินโดจีนได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ. กรม รพศ. ที่ ๑ พร้อม ผบ.พัน รพศ. ที่ ๑๑ และ ๑๒
                          ผบ. กรม รพศ. ที่ ๒ พร้อม ผบ.พัน รพศ.ที่ ๒๑ และ ๒๒
                          ผบ. กรม รพศ. ที่ ๓ พร้อม ผบ.พัน รพศ.ที่ ๓๑ และ ๓๒
                          ผบ. กรม รพศ. ที่ ๔ พร้อม ผบ. พัน รพศ. ที่ ๔๑ และ ๔๒
                          ผบ. กรมจู่โจมที่ ๕ พร้อม ผบ.พันจู่โจม ที่ ๕๑, ๕๒ และ ๕๓
                          ผบ. พัน รพศ. ทางเรือที่ ๖
                     ๑.๒.๘ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กรมจรวด SCUD ( B ) ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๑
                          ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๒
                          ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๓
                     ๑.๒.๙ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กรม บ. ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วม
ประชุม ดังนี้
                          ผบ. พัน ฮ. ขนส่ง ( MI – ๘ ) ที่ ๑
                          ผบ. พัน ฮ. ขนส่ง ( MI – ๘ ) ที่ ๒
                          ผบ. พัน ฮ. โจมตี ( MI – ๒๘ ) ที่ ๓
                     ๑.๒.๑๐ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.พล.ปตอ. ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มี
ผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๑ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๑๑, ๑๒ และ
๑๓
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๒ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๒๑, ๒๒ และ
๒๓
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๓ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๓๑, ๓๒ และ
๓๓
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๔ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๔๑, ๔๒ และ
๔๓
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๕ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๕๑, ๔๒ และ
๕๓
                          ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๖ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๖๑, ๖๒ และ
๖๓
๒๒

                     ๑.๒.๑๑ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการสิ่งอุปกรณ์ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑
                          ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ – ๔
                          ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓
                          ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕
                     ๑.๒.๑๒ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการซ่อมบารุง ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๑
                          ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๒
                          ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๓
                          ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๔
                     ๑.๒.๑๓ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการเสนารักษ์ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๑
                          ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๒
                          ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๓
                          ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๔
                     ๑.๒.๑๔ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการขนส่ง ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่ง
ได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๑
                          ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๒
                          ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๓
                          ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๔
                     ๑.๒.๑๕ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๑ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้
มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ. ทน. ๑๑ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๑๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๑๒, ผบ.
พล.ปล.ที่ ๑๑๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๑๑, ผบ. หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๑
                          ผบ. ทน. ๑๒ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๒๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๒๒, ผบ.
พล.ปล.ที่ ๑๒๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๑๒, ผบ. หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๒
                          ผบ.ทน. ๑๓ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๓๑ , ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๓๒ , ผบ.
พล.ปล. ที่ ๑๓๓ , ผบ. กรม ม.ลว. ที่ ๑๓ , ผบ.หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๓
                          ผบ.พล.ถ. ที่ ๘๑
                          ผบ. หน่วย สสก. และ สสช.
                     ๑.๒.๑๖ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๒ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้
มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
๒๓

                           ผบ. ทน. ๒๑ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๑๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๑๒, ผบ.
พล.ปล.ที่ ๒๑๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๑ ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๑
                           ผบ. ทน. ๒๒ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๒๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๒๒, ผบ.
พล.ปล.ที่ ๒๒๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๒, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๒
                           ผบ. ทน. ๒๓ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๓๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๓๒, ผบ.
พล.ปล.ที่ ๒๓๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๓, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๒
                           ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.
                     ๑.๒.๑๗ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๓ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้
มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                           ผบ. ทน. ๓๑ พร้อม ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๑, ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๒,
ผบ. กรม ม.ลว.ที่ ๓๑, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๓๑
                           ผบ. ทน. ๓๒ พร้อม ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๑, ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๒,
ผบ. กรม ม.ลว.ที่ ๓๒, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๓๑
                           ผบ.พล.ถ. ที่ ๘๒
                           ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.
                     ๑.๒.๑๘ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖ ได้ประชุมหน่วย
ขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                           ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๑ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๑๑, ผบ.พล.
ประชาชน ที่ ๙๑๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๑๓
                           ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๒ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๒๑, ผบ.พล.
                             ประชาชน ที่ ๙๒๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๒๓
                           ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๓ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๓๑, ผบ.พล.
ประชาชน ที่ ๙๓๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๓๓
                     ๑.๒.๑๙ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองเรือผสม ที่ ๑ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วย
ขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                           ผอ.ฐานทัพเรือกาปงโสม ( ๑๐๐ ๓๕! น., ๑๐๓๐ ๔๐! อ. )
                           ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๔ นาย
                           ผู้บังคับการเรือฟริเกต จานวน ๓ นาย
                           ผู้บังคับการเรือระบายพล จานวน ๒ นาย
                           ผู้บังคับการเรือดาน้า จานวน ๑ นาย
                           ผู้บังคับการเรือพิฆาต จานวน ๒ นาย
                           ผู้บังคับการเรือต่อต้านทุ่นระเบิด จานวน ๒ นาย
                           ผู้บังคับการเรือวางทุ่นระเบิด จานวน ๒ นาย
                           ผบ.นขต.บก. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานทัพเรือกัมปง
โสม
๒๔

                     ๑.๒.๒๐ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองเรือ ที่ ๒ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง
ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผอ.ฐานทัพเรือคัมรานห์ ( ๑๑๐ ๕๕! น., ๑๐๙๐ ๑๕! อ. )
                          ผู้บังคับการเรือฟริเกต จานวน ๕ นาย
                          ผู้บังคับการเรือพิฆาต จานวน ๔ นาย
                          ผู้บังคับการเรือระบายพล จานวน ๔ นาย
                          ผู้บังคับการเรือดาน้า จานวน ๓ นาย
                          ผู้บังคับการเรือต่อต้านทุ่นระเบิด จานวน ๔ นาย
                          ผู้บังคับการเรือวางทุ่นระเบิด จานวน ๔ นาย
                          ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๔ นาย
                          ผบ.นขต.บก. กองเรือ ที่ ๒ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานทัพเรือคัม
รานห์
                          ผอ.ฐานทัพเรือดานัง
                          ผอ.ฐานทัพเรือไฮฟอง
                          ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๒ นาย และผู้บังคับการกองเรือ
ประชาชนป้องกันตัวเอง จานวน ๑ นาย ( เดินทางมาจากฐานทัพเรือดานัง )
                          ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๒ นาย และผู้บังคับการกองเรือ
ประชาชนป้องกันตัวเอง จานวน ๑ นาย ( เดินทางมาจากฐานทัพเรือไฮฟอง )
                     ๑.๒.๒๑ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองพลบินผสม ที่ ๑ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้น
ตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ.กองบินที่ ๑๙๑ ( ผบ.ฐานบินคัมรานห์ ๑๑๐ ๕๙! น., ๑๐๙๐ ๑๓! อ. )
                          ผบ.กองบินที่ ๑๙๒ ( ผบ.ฐานบินตันซอนนุท ๑๐๐ ๔๙! น., ๑๐๖๐ ๓๙! อ.)
                          ผบ.กองบินที่ ๑๙๓ ( ผบ.ฐานบินฟูแคท ๑๓๐ ๕๗! น., ๑๐๙๐ ๐๒! อ.)
                          ผบ.นขต.บก. กองพลบินผสม ที่ ๑ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานบินคัม
รานห์
                     ๑.๒.๒๒ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองพลบินผสม ที่ ๒ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้น
ตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
                          ผบ.กองบินที่ ๒๙๑ ( ผบ.ฐานบินไบเทือง ๑๙๐ ๕๔! น., ๑๐๕๐ ๒๘! อ. )
                          ผบ.กองบินที่ ๒๙๒ ( ผบ.ฐานบินนอยบาย ๒๑๐ ๑๓! น., ๑๐๕๐ ๔๘! อ. )
                          ผบ.กองบินที่ ๒๙๓ ( ผบ.ฐานบินดานัง ๑๖๐ ๐๒! น., ๑๐๘๐ ๑๑! อ. )
                          ผบ.นขต.บก. กองพลบินผสม ที่ ๒ ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานบินไบเทือง
                     ๑.๒.๒๓ ๒๖ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองกาลังร่วมผสมอินโดจีน ได้ออกคาสั่งให้
หน่วยขึ้นตรง            และหน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการดาเนินการลาดตระเวนพื้นที่ที่จะใช้เป็นที่ตั้งของ
หน่วยได้ตั้งแต่ ๒๗ – ๓๑ ม.ค. ๕๕
                     ๑.๒.๒๔ ๒๗ ม.ค. ๕๕

More Related Content

More from Sarid Tojaroon

การถูกปฎิเสธ
การถูกปฎิเสธการถูกปฎิเสธ
การถูกปฎิเสธSarid Tojaroon
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอ
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอการจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอ
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอSarid Tojaroon
 
การแข่งขัน กับ การพักผ่อน
การแข่งขัน กับ การพักผ่อนการแข่งขัน กับ การพักผ่อน
การแข่งขัน กับ การพักผ่อนSarid Tojaroon
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจกลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจSarid Tojaroon
 
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสีSarid Tojaroon
 
วทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Awardวทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ AwardSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆSarid Tojaroon
 
วัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกวัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกSarid Tojaroon
 
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานSarid Tojaroon
 
กำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานกำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานSarid Tojaroon
 
เกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพเกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพSarid Tojaroon
 

More from Sarid Tojaroon (20)

การถูกปฎิเสธ
การถูกปฎิเสธการถูกปฎิเสธ
การถูกปฎิเสธ
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอ
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอการจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอ
การจะมีคู่แท้สักคน... จึงต้องใช้เวลาในการแสวงหาเสมอ
 
การแข่งขัน กับ การพักผ่อน
การแข่งขัน กับ การพักผ่อนการแข่งขัน กับ การพักผ่อน
การแข่งขัน กับ การพักผ่อน
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจกลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
 
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
 
วทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Awardวทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Award
 
Like
LikeLike
Like
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
 
Who1
Who1Who1
Who1
 
Bangpratun
BangpratunBangpratun
Bangpratun
 
วัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกวัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอก
 
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
 
กำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานกำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสาน
 
เกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพเกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพ
 

ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)

  • 1. ๑๘ ผนวก ฉ สถานการณ์ในการฝึก การฝึกวางแผนป้องกันประเทศ ระดับ กองทัพไทย ๑. สถานการณ์ ๑.๑ สานักข่าวกรองแห่งชาติ : ได้รายงานว่าประเทศ เหลือง ส้ม และเขียว ได้รวมตัวกัน จั ด ตั้ ง เป็ น “กลุ่ ม สหพั น ธ์ อิ น โดจี น ” เพื่ อ ให้ มี พ ลั ง ส าหรั บ การต่ อ ต้ า นต่ อ ประเทศเรามากขึ้ น ปั จ จุ บั น ได้ เ ริ่ ม เพิ่มเติมศักยภาพทางทหารอย่างเต็มที่ พร้อมทั้งจัดตั้งกองกาลังร่วมผสมอินโด จี น ขึ้ น โ ด ย มี ป ร ะ เ ท ศ ส้ ม เ ป็ น ผู้ บัญชาการกองกาลังร่วมผสมนี้  ในสถานการณ์นี้ พม่าและมาเลเซีย ประกาศความเป็นกลาง มีปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศเรากับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน เกี่ยวกับผลประโยชน์ด้าน การค้า ปัญหาแนวชายแดน ปัญหาทรัพยากรในทะเล ยังคงมีอยู่ต่อไป และมีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศมหาอานาจโดยเฉพาะประเทศขาวได้แสดงท่าทีสนับสนุนต่อกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน ปัจจุบัน นี้ความขัดแย้งระหว่างประเทศไทยของเรากับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีนยังคงมีอยู่และเพิ่มขึ้นตลอดเวลา กลุ่มสหพันธ์อินโดจีนจึงพิจารณาใช้ปฏิบัติการทางทหารเพื่อการแก้ปัญหาและดารงไว้ซึ่ง ผลประโยชน์ของกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน โดยมีประเทศมหาอานาจที่ได้รับผลประโยชน์จากการลงทุน ในประเทศของกลุ่มสหพันธ์อินโดจีนให้การสนับสนุน ๑.๒ กองทัพไทยได้รายงานข่าวกรองระดับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวกับกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน มีการ ปฏิบัติที่สาคัญดังนี้ ๑.๒.๑ ๑๐ ม.ค. ๕๕ กลุ่มสหพันธ์อินโดจีนได้ประกาศจัดตั้งหน่วยใหม่เพิ่มเติมจาก หน่วยที่มีอยู่แล้วดังนี้ หน่วยทีจัดตั้งขึ้นใหม่ ่ ที่ตั้ง ๑. กองบัญชาการกองกาลังร่วมผสมอินโดจีน เมืองฮานอย ๒. กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน เมืองฮานอย ๓. กกล.ทร. ผสมอินโดจีน เมืองฮานอย ๔. กกล.ทอ. ผสมอินโดจีน เมืองฮานอย ๕. กกล.ปฏิบัติการพิเศษร่วมผสมอินโดจีน เมืองฮานอย ๖. กองพลป้องกันภัยทางอากาศ เมืองฮานอย ๗. กองทัพสนามผสมที่ ๑ อินโดจีน เมืองฮานอย ๘. กองทัพสนามผสมที่ ๒ อินโดจีน เมืองฮานอย ๙. กองทัพสนามผสมที่ ๓ อินโดจีน เมืองฮานอย
  • 2. ๑๙ หน่วยที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ที่ตั้ง ๑๐. ทน.๑๑ เมืองฮานอย ๑๑. ทน.๑๒ เมืองฮานอย ๑๒. ทน.๑๓ เมืองฮานอย ๑๓. ทน.๒๑ เมืองฮานอย ๑๔. ทน.๒๒ เมืองฮานอย ๑๕. ทน. ๒๓ เมืองฮานอย ๑๖. ทน. ๓๑ เมืองฮานอย ๑๗. ทน. ๓๒ เมืองฮานอย ๑๘. ทน. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖ อินโดจีน เมืองฮานอย ๑๙. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๑ เมืองฮานอย ๒๐. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๒ เมืองฮานอย ๒๑. ทน. ( ประชาชน ) ที่ ๙๓ เมืองฮานอย ๒๒. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน เมืองฮานอย ๒๓. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน เมืองฮานอย ๒๔. กองพลบินผสมที่ ๑ อินโดจีน เมืองฮานอย ๒๕. กองพลบินผสมที่ ๒ อินโดจีน เมืองฮานอย ๒๖. กรมจู่โจม ( ๓ กองพันจูโจม ) เมืองฮานอย ๒๗. พล.ถ. ที่ ๘๑ เมืองฮานอย ๒๘. พล.ถ. ที่ ๘๒ เมืองฮานอย ๒๙. พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๑ เมืองฮานอย ๓๐. พล.ปล.ยน.ที่ ๓๑๒ เมืองฮานอย ๓๑. พล.ปล.ยน.ที่ ๓๒๑ เมืองฮานอย ๓๒. พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๒ เมืองฮานอย หมายเหตุ : การจัดตั้งดังกล่าวเป็นอัตราโครงทั้งสิ้น ๑.๒.๒ ๒๐ ม.ค. ๕๕ : ผู้บัญชาการกองกาลังร่วมผสมอินโดจีน ได้เรียกประชุม หน่วยขึ้นตรงซึ่งประกอบด้วย กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน กกล.ทร. ผสมอินโดจีน กกล.ทอ. ผสมอินโด จีน และ กกล.ปพ.ร่วมผสมอินโดจีน โดยมีสาระสาคัญในการประชุมที่ได้รับการยืนยันคือ ให้ทุก หน่วยเคลื่อนย้ายเข้าที่ตั้งเพื่อเตรียมปฏิบัติการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ เดือน เพื่อพร้อมที่จะปฏิบัติการ ตามภารกิจที่รับมอบภายใน ๑ ปีข้างหน้า และให้มีความพร้อมรบภายใน ๘ เดือน นับจากนี้ ๑.๒.๓ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน ได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทบ. ผสมอินโดจีน และ หน่วยขึ้นตรง กกล.ทบ. ปรากฎว่ามีผู้เข้าประชุม ดังนี้ ผบ. หน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทบ.  ผบ.กรม ร. ส่งทางอากาศ  ผบ.พล.ช.
  • 3. ๒๐  ผบ.กรม บ.  ผบ.กรมจรวด SCUD ( B )  ผบ.กรม สห.  ผบ.กรม ปจว.  ผบ.พล. กาลังทดแทน  ผบ.กรมข่าวกรองทางทหาร  ผบ.พล. ป้องกันภัยทางอากาศ  ผบ.กรมทหารสื่อสาร  ผบ. กรมกิจการพลเรือน  ผบ.กรม ประชาสัมพันธ์  ผบ.กรม บริการกาลังพล  ผบ. กลุ่มส่งกาลัง และบริการที่ ๑ ถึง ๔  ผบ. กองบัญชาการสิ่งอุปกรณ์  ผบ. กองบัญชาการซ่อมบารุง  ผบ. กองบัญชาการเสนารักษ์  ผบ. กองบัญชาการขนส่ง ผบ. หน่วยขึ้นตรง กกล.ทบ.  ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๑  ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๒  ผบ. กองทัพสนามผสมที่ ๓  ผบ. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖ ๑.๒.๔ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทร. ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมดังนี้  ผบ. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน  ผบ. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน  ผู้บังคับบัญชาของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทร. ผสมอินโดจีน ๑.๒.๕ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทร.ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งมี ผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ.กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน  ผบ. กองเรือที่ ๒ อินโดจีน  ผบ.กรมนาวิกโยธิน ( ๒ กองพันนาวิกโยธิน )  ผู้บังคับบัญชาของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทร. ผสมอินโดจีน ๑.๒.๖ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กกล.ทอ.ผสมอินโดจีนได้เรียกประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่ง มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ.กองพลบินผสมที่ ๑ อินโดจีน
  • 4. ๒๑  ผบ. กองพลบินผสมที่ ๒ อินโดจีน  ผบ. กรมนาวิกโยธิน ( ๒ กองพันนาวิกโยธิน )  ผบ. ของหน่วยขึ้นตรง บก.กกล.ทอ.ผสมอินโดจีน ๑.๒.๗ ๒๓ ม.ค. ๕๕ : ผบ.พล.รพศ. ซึ่งได้รับการแต่ตั้งเป็น ผบ.กกล.ปพ.ร่วมผสม อินโดจีนได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. กรม รพศ. ที่ ๑ พร้อม ผบ.พัน รพศ. ที่ ๑๑ และ ๑๒  ผบ. กรม รพศ. ที่ ๒ พร้อม ผบ.พัน รพศ.ที่ ๒๑ และ ๒๒  ผบ. กรม รพศ. ที่ ๓ พร้อม ผบ.พัน รพศ.ที่ ๓๑ และ ๓๒  ผบ. กรม รพศ. ที่ ๔ พร้อม ผบ. พัน รพศ. ที่ ๔๑ และ ๔๒  ผบ. กรมจู่โจมที่ ๕ พร้อม ผบ.พันจู่โจม ที่ ๕๑, ๕๒ และ ๕๓  ผบ. พัน รพศ. ทางเรือที่ ๖ ๑.๒.๘ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กรมจรวด SCUD ( B ) ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๑  ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๒  ผบ. พัน จรวด SCUD ที่ ๓ ๑.๒.๙ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กรม บ. ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วม ประชุม ดังนี้  ผบ. พัน ฮ. ขนส่ง ( MI – ๘ ) ที่ ๑  ผบ. พัน ฮ. ขนส่ง ( MI – ๘ ) ที่ ๒  ผบ. พัน ฮ. โจมตี ( MI – ๒๘ ) ที่ ๓ ๑.๒.๑๐ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.พล.ปตอ. ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มี ผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๑ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๑๑, ๑๒ และ ๑๓  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๒ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๒๑, ๒๒ และ ๒๓  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๓ ( SA – ๓ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๓๑, ๓๒ และ ๓๓  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๔ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๔๑, ๔๒ และ ๔๓  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๕ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๕๑, ๔๒ และ ๕๓  ผบ. กรม ปตอ. ที่ ๖ ( SA – ๔ ) พร้อม ผบ.พัน ปตอ. ที่ ๖๑, ๖๒ และ ๖๓
  • 5. ๒๒ ๑.๒.๑๑ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการสิ่งอุปกรณ์ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๑  ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๒ – ๔  ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๓  ผอ. กองสิ่งอุปกรณ์ประเภท ๕ ๑.๒.๑๒ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการซ่อมบารุง ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๑  ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๒  ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๓  ผอ. กองซ่อมบารุง ที่ ๔ ๑.๒.๑๓ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการเสนารักษ์ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๑  ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๒  ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๓  ผอ. กรมเสนารักษ์ ที่ ๔ ๑.๒.๑๔ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ.กองบัญชาการขนส่ง ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่ง ได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๑  ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๒  ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๓  ผอ. กรมขนส่ง ที่ ๔ ๑.๒.๑๕ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๑ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้ มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. ทน. ๑๑ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๑๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๑๒, ผบ. พล.ปล.ที่ ๑๑๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๑๑, ผบ. หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๑  ผบ. ทน. ๑๒ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๒๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๒๒, ผบ. พล.ปล.ที่ ๑๒๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๑๒, ผบ. หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๒  ผบ.ทน. ๑๓ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๑๓๑ , ผบ.พล.ปล.ที่ ๑๓๒ , ผบ. พล.ปล. ที่ ๑๓๓ , ผบ. กรม ม.ลว. ที่ ๑๓ , ผบ.หน่วย สสก. และ สสช. ของ ทน. ๑๓  ผบ.พล.ถ. ที่ ๘๑  ผบ. หน่วย สสก. และ สสช. ๑.๒.๑๖ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๒ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้ มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้
  • 6. ๒๓  ผบ. ทน. ๒๑ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๑๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๑๒, ผบ. พล.ปล.ที่ ๒๑๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๑ ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๑  ผบ. ทน. ๒๒ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๒๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๒๒, ผบ. พล.ปล.ที่ ๒๒๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๒, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๒  ผบ. ทน. ๒๓ พร้อม ผบ.พล.ปล. ที่ ๒๓๑, ผบ.พล.ปล.ที่ ๒๓๒, ผบ. พล.ปล.ที่ ๒๓๓, ผบ.กรม ม.ลว.ที่ ๒๓, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๒๒  ผบ.หน่วย สสก. และ สสช. ๑.๒.๑๗ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนามที่ ๓ ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้ มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. ทน. ๓๑ พร้อม ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๑, ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๑๒, ผบ. กรม ม.ลว.ที่ ๓๑, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๓๑  ผบ. ทน. ๓๒ พร้อม ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๑, ผบ.พล.ปล.ยน. ที่ ๓๒๒, ผบ. กรม ม.ลว.ที่ ๓๒, ผบ.หน่วย สสก. และ สสช.ของ ทน. ๓๑  ผบ.พล.ถ. ที่ ๘๒  ผบ.หน่วย สสก. และ สสช. ๑.๒.๑๘ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองทัพสนาม ( เบา ) ที่ ๙๗๖ ได้ประชุมหน่วย ขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๑ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๑๑, ผบ.พล. ประชาชน ที่ ๙๑๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๑๓  ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๒ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๒๑, ผบ.พล. ประชาชน ที่ ๙๒๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๒๓  ผบ. ทน. (ประชาชน) ที่ ๙๓ พร้อม ผบ.พล.ประชาชน ที่ ๙๓๑, ผบ.พล. ประชาชน ที่ ๙๓๒ และ ผบ.พล. ประชาชนที่ ๙๓๓ ๑.๒.๑๙ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองเรือผสม ที่ ๑ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วย ขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ.ฐานทัพเรือกาปงโสม ( ๑๐๐ ๓๕! น., ๑๐๓๐ ๔๐! อ. )  ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๔ นาย  ผู้บังคับการเรือฟริเกต จานวน ๓ นาย  ผู้บังคับการเรือระบายพล จานวน ๒ นาย  ผู้บังคับการเรือดาน้า จานวน ๑ นาย  ผู้บังคับการเรือพิฆาต จานวน ๒ นาย  ผู้บังคับการเรือต่อต้านทุ่นระเบิด จานวน ๒ นาย  ผู้บังคับการเรือวางทุ่นระเบิด จานวน ๒ นาย  ผบ.นขต.บก. กองเรือผสมที่ ๑ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานทัพเรือกัมปง โสม
  • 7. ๒๔ ๑.๒.๒๐ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองเรือ ที่ ๒ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้นตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผอ.ฐานทัพเรือคัมรานห์ ( ๑๑๐ ๕๕! น., ๑๐๙๐ ๑๕! อ. )  ผู้บังคับการเรือฟริเกต จานวน ๕ นาย  ผู้บังคับการเรือพิฆาต จานวน ๔ นาย  ผู้บังคับการเรือระบายพล จานวน ๔ นาย  ผู้บังคับการเรือดาน้า จานวน ๓ นาย  ผู้บังคับการเรือต่อต้านทุ่นระเบิด จานวน ๔ นาย  ผู้บังคับการเรือวางทุ่นระเบิด จานวน ๔ นาย  ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๔ นาย  ผบ.นขต.บก. กองเรือ ที่ ๒ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานทัพเรือคัม รานห์  ผอ.ฐานทัพเรือดานัง  ผอ.ฐานทัพเรือไฮฟอง  ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๒ นาย และผู้บังคับการกองเรือ ประชาชนป้องกันตัวเอง จานวน ๑ นาย ( เดินทางมาจากฐานทัพเรือดานัง )  ผู้บังคับการเรือยนต์เร็วโจมตี จานวน ๒ นาย และผู้บังคับการกองเรือ ประชาชนป้องกันตัวเอง จานวน ๑ นาย ( เดินทางมาจากฐานทัพเรือไฮฟอง ) ๑.๒.๒๑ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองพลบินผสม ที่ ๑ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้น ตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ.กองบินที่ ๑๙๑ ( ผบ.ฐานบินคัมรานห์ ๑๑๐ ๕๙! น., ๑๐๙๐ ๑๓! อ. )  ผบ.กองบินที่ ๑๙๒ ( ผบ.ฐานบินตันซอนนุท ๑๐๐ ๔๙! น., ๑๐๖๐ ๓๙! อ.)  ผบ.กองบินที่ ๑๙๓ ( ผบ.ฐานบินฟูแคท ๑๓๐ ๕๗! น., ๑๐๙๐ ๐๒! อ.)  ผบ.นขต.บก. กองพลบินผสม ที่ ๑ อินโดจีน ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานบินคัม รานห์ ๑.๒.๒๒ ๒๕ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองพลบินผสม ที่ ๒ อินโดจีน ได้ประชุมหน่วยขึ้น ตรง ซึ่งได้มีผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้  ผบ.กองบินที่ ๒๙๑ ( ผบ.ฐานบินไบเทือง ๑๙๐ ๕๔! น., ๑๐๕๐ ๒๘! อ. )  ผบ.กองบินที่ ๒๙๒ ( ผบ.ฐานบินนอยบาย ๒๑๐ ๑๓! น., ๑๐๕๐ ๔๘! อ. )  ผบ.กองบินที่ ๒๙๓ ( ผบ.ฐานบินดานัง ๑๖๐ ๐๒! น., ๑๐๘๐ ๑๑! อ. )  ผบ.นขต.บก. กองพลบินผสม ที่ ๒ ซึ่งประจาอยู่ที่ฐานบินไบเทือง ๑.๒.๒๓ ๒๖ ม.ค. ๕๕ : ผบ. กองกาลังร่วมผสมอินโดจีน ได้ออกคาสั่งให้ หน่วยขึ้นตรง และหน่วยขึ้นตรงกองบัญชาการดาเนินการลาดตระเวนพื้นที่ที่จะใช้เป็นที่ตั้งของ หน่วยได้ตั้งแต่ ๒๗ – ๓๑ ม.ค. ๕๕ ๑.๒.๒๔ ๒๗ ม.ค. ๕๕