SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
งบการเงิน
งบการเงิน จัดทาขึ้นตามระบบบัญชีและสรุปออกมาให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบถึงกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบริษัท
ซึ่งแบ่ง
กิจกรรมได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. กิจกรรมการดาเนินงาน บริษัทจะต้องดาเนินงานทางธุรกิจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท
ก็คือการเพิ่มมูลค่าของ
กิจการ หรือเพิ่มความมั่งคั่งให้กับผู้ถือหุ้นนั่นเอง
2. กิจกรรมการลงทุน การที่บริษัทจะลงทุนในสินทรัพย์ระยะสั้นและสินทรัพย์ระยะยาวเป็นสัดส่วนเท่าใดนั้นลักษณะ
ของธุรกิจจะเป็นตัวกาหนดสัดส่วนนั้น
3. กิจกรรมการจัดหาเงิน โดยปกติแล้วบริษัทจะจัดหาเงินทุนได้จากเจ้าหนี้ และเจ้าของ ซึ่งโครงสร้างสินทรัพย์จะเป็น
ตัวกาหนดสัดส่วนของแหล่งเงินทุนระยะสั้นและแหล่งเงินทุนระยะยาว
กรณีบริษัทค้าปลีกซึ่งลงทุนในสินทรัพย์ระยะสั้นอย่างเช่นลูกหนี้และสินค้าคงเหลือเป็นส่วนใหญ่
มักจะใช้แหล่งเงินทุน
ระยะสั้นเป็นหลัก ในขณะที่บริษัทผลิตกระแสไฟฟ้าจะใช้แหล่งเงินทุนระยะยาวเป็นหลักเพื่อลงทุนในโรงงานผลิต ทั้งนี้แต่ละ
บริษัทจะตัดสินใจเลือกสัดส่วนแหล่งเงินทุนระยะยาวระหว่างจากเจ้าหนี้ และเจ้าของโดยมีปัจจัยด้านต่างๆ เช่น
ทรรศนะของ
ผู้บริหารในเรื่องความเสี่ยงหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการกู้เงินระยะยาว มาเป็นส่วนหนึ่งประกอบการตัดสินใจ
วัตถุประสงค์ของงบการเงิน
วัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงินเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงผลการดาเนินงานภายใต้เหตุการณ์
และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมาซึ่งทาให้เกิดรายการทางธุรกิจต่างๆ
ว่าส่งผลกระทบต่อฐานะการเงินของบริษัทอย่างไรผู้ถือหุ้นผู้ลงทุนเจ้าหนี้ และผู้ที่สนใจในบริษัท
จะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับบริษัท
หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
ก่อนที่จะลงทุนในบริษัทเหล่านั้น จะต้องทาการเปรียบเทียบงบการเงินของบริษัทต่างๆ ที่สนใจ
สาหรับวิธีการจัดทางบการเงินนั้นจะไม่ต่างกัน เพราะได้มีการกาหนดมาตรฐานทางบัญชีขึ้นมา
เพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกันหลักการที่ว่านี้คือมาตรฐานการบัญชีหรือ Accounting standards หรือที่เรียกว่า GAAP
ซึ่งมีชื่อเต็มว่า GenerallyAccepted Accounting Principles โดย GAAP ในแต่ละประเทศก็จะแตกต่างกันออกไป
สาหรับในประเทศไทยแล้ว ตามพระราชบัญญัติบัญชี2543
บริษัทในประเทศไทยต้องจัดทางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย
ซึ่งส่วนใหญ่จะมีความสอดคล้องกับมาตรฐานบัญชีสากลหรือ International Accounting Standards: IAS
ซึ่งปกติแล้ว งบการเงินจะประกอบไปด้วย งบดุลงบกาไรขาดทุนงบกระแสเงินสด
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นหมายเหตุประกอบงบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชี
ซึ่งในที่นี้จะขออธิบายในส่วนของงบดุลงบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด
งบดุล(BalanceSheet)
งบดุลหรือ Balance Sheet เป็นงบที่แสดงฐานะทางการเงินของกิจการณ เวลาใด เวลาหนึ่ง
ซึ่งภายในงบดุลก็จะประกอบ ไปด้วย สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ
แนวคิดเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์ คือ
ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทและคาดว่าบริษัทจะได้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้น
หนี้สิน คือ ภาระผูกพันของบริษัท โดยคาดว่าจะทาให้กิจการเสียประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ
ส่วนของเจ้าของหมายถึงส่วนต่างของสินทรัพย์ หลังจากหักหนี้สินทั้งหมดแล้ว
ซึ่งจากแนวคิดทั้ง 3 ที่ได้กล่าวมา ทาให้ทราบความสัมพันธ์ในรูปของสมการคือ
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
งบดุล จึงแสดงถึงความเท่ากันของกิจกรรมลงทุนคือ ด้านสินทรัพย์
และกิจกรรมจัดหาแหล่งเงินทุนซึ่งก็คือด้านหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์ - การรับรู้ การวัดค่า และการจาแนกประเภท
การรับรู้สินทรัพย์
ตามหลักการบัญชีนั้นได้กาหนดให้บริษัทรับรู้รายการที่เกิดขึ้นแล้วจะทาให้บริษัทได้ประโยชน์เป็นสินทรัพย์ในงบดุลและสาม
ารถวัดมูลค่าของสินทรัพย์นั้นได้อย่างน่าเชื่อถือด้วย บริษัทไม่ควรรับรู้รายการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์เป็นสินทรัพย์ เช่น
ค่าการวิจัย ค่าโฆษณา เป็นต้น ซึ่งรายการพวกนี้เป็นรายจ่ายควรจะรับรู้ไว้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน
การวัดมูลค่าสินทรัพย์ สินทรัพย์ในงบดุลนั้นมีทั้งสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินซึ่งสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงิน
ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เป็นต้น ส่วนรายการสินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินได้แก่ สินค้าคงเหลือ
อาคาร อุปกรณ์ และสินทรัพย์อื่น เป็นต้น
การจาแนกสินทรัพย์ สามารถจาแนกประเภทของสินทรัพย์หลักๆ ได้ดังนี้ คือ สินทรัพย์หมุนเวียน
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเงินลงทุนระยะยาว และสินทรัพย์อื่น
1. สินทรัพย์หมุนเวียน หมายถึงเงินสด
และสินทรัพย์อื่นที่บริษัทคาดว่าจะขายหรือใช้ไปในรอบระยะเวลาดาเนินการปกติของบริษัท
ซึ่งโดยทั่วไปแล้วคือระยะเวลาหนึ่งปี สินทรัพย์หมุนเวียนโดยทั่วไป ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ
และค่าใช้จ่ายล่วงหน้า
เงินสดและเงินฝากธนาคาร หมายถึง ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เช็ค และยอดเงินในบัญชีธนาคาร
ลูกหนี้ หมายถึง จานวนเงินที่บริษัทยังไม่ได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ
ลูกหนี้นั้นจะแสดงไว้ในงบดุลด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะสามารถเก็บเงินได้หลังจากที่ได้หักค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ
หลักทรัพย์ที่อยู่ในความต้องการของตลาด หมายถึง
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงเนื่องจากเป็นหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายกันในตลาดเงินหรือตลาดทุน
อย่างกว้างขวางและสามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว
สินค้าคงเหลือ ซึ่งถ้ามองในแง่ของบริษัทซื้อขายสินค้าจะหมายถึง สินค้าที่มีไว้เพื่อรอการขาย
แต่ถ้ามองในแง่บริษัทที่ผลิตจะหมายถึงวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าที่ผลิตสาเร็จแล้ว
สินค้าคงเหลือจะแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ แล้วแต่ว่ามูลค่าใดจะต่ากว่า
โดยปกติบริษัทได้รับสินค้าในแต่ละครั้งด้วยราคาที่แตกต่างกัน
ทาให้มีการคานวณราคาทุนของต้นทุนขายและสินค้าคงเหลือหลายแบบด้วยกันได้แก่
วิธี FIFO First in - First out หรือ เข้าก่อนออกก่อน
ซึ่งเป็นวิธีการคานวณสินค้าคงเหลือที่มีสมมติฐานว่าสินค้าคงเหลือที่เกิดขึ้นก่อนจะถูกใช้หรือขายไปก่อน
วิธี LIFO Last in - First out หรือ เข้าหลังออกก่อน
ซึ่งมีสมมติฐานว่าสินค้าคงเหลือที่เกิดขึ้นหลังสุดจะถูกใช้หรือขายออกไปก่อน
วิธี Average Cost หรือ ต้นทุนถัวเฉลี่ย โดยคานวณต้นทุนสินค้าด้วยวิธีถัวเฉลี่ยต้นทุนของการได้มา
ถ่วงน้าหนักด้วยจานวนหน่วยที่ได้มาในแต่ละครั้ง
เนื่องจากต้นทุนขายในงบกาไรขาดทุน
และราคาทุนของสินค้าคงเหลือในงบดุลตามสมมติฐานแต่ละแบบมีจานวนไม่เท่ากันผู้ใช้ข้อมูลต้องระมัดระวังว่าการที่กาไรแ
ละสินทรัพย์ของ 2 บริษัทต่างกันอาจมีผลมาจากการใช้วิธีทางบัญชีที่ต่างกันไม่ใช่เพราะ
ความสามารถในการดาเนินงานต่างกัน
สาหรับประเทศไทยนั้นบริษัทส่วนใหญ่นิยมใช้วิธีFIFO และวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยในการคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ
2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวรหมายถึง สินทรัพย์ที่มีระยะเวลาการใช้งานนานกว่า 1 ปี และไม่ได้มีไว้เพื่อ
ขายต่อ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร รถยนต์ อุปกรณ์สานักงานเครื่องตกแต่ง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ
บริษัทนั้นสามารถเลือกแสดงสินทรัพย์ประเภทที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ด้วยราคาทุน
หรือราคาประเมินซึ่งใกล้เคียงกับราคาตลาดได้ ซึ่งผู้ใช้งบการเงิน
ต้องอ่านหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อจะได้ทราบว่ามูลค่าที่แสดงไว้เป็นมูลค่าใดนอกจากนี้การที่สินทรัพย์ประเภท
อาคาร และอุปกรณ์มีอายุการใช้งานจากัดทาให้สินทรัพย์เหล่านี้แสดงอยู่ในงบดุลด้วยมูลค่าที่หักจากค่าเสื่อมราคาสะสม
ค่าเสื่อมราคา เป็นการจัดสรรหรือกระจายมูลค่าของสินทรัพย์
ถือเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น
ส่วนค่าเสื่อมราคาสะสมนั้นเป็นจานวนรวมของค่าเสื่อมราคาตั้งแต่วันที่เริ่มมีการใช้งานจนถึงงวดปัจจุบัน
หลักการบัญชีกาหนดให้มีการแสดงค่าเสื่อมราคาสะสมหักจากมูลค่าของสินทรัพย์นั้น
เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลได้ทราบว่ามีการใช้งานสินทรัพย์นั้นมานานมากน้อยแค่ไหนแต่สาหรับรายการที่ดินนั้น
จะไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาเนื่องจากที่ดินมีอายุการใช้งานที่ไม่จากัด
วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
วิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน เป็นวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาในอัตราคงที่จานวนค่าเสื่อมราคาของแต่ละปีจะเท่ากัน
ซึ่งถ้าคิดตามวิธีนี้ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในแต่ละปี
จะเท่ากับราคาทุนหักด้วยมูลค่าซากที่คาดว่าจะได้รับหลังจากเลิกใช้งานหารด้วยอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น
ซึ่งอายุการใช้งานจะต้องมีหน่วยเป็นปี
วิธีอัตราลดลง เป็นวิธีคิดค่าเสื่อมราคาในจานวนที่ลดลงตลอดเวลาที่ใช้สินทรัพย์ กล่าวคือ ค่าเสื่อมราคาในปีแรกๆ
ของการใช้งานจะสูงกว่าปีหลังๆ ของการใช้งานซึ่งวิธีอัตราลดลงนั้นจะมีหลายแบบ แต่ที่จะกล่าวถึงในที่นี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2
แบบดังต่อไปนี้
- แบบผลรวมจานวนปี
จะคานวณค่าเสื่อมราคาโดยนาอัตราส่วนระหว่างอายุการใช้งานที่เหลืออยู่ของแต่ละปีต่อผลรวมของ
อายุการใช้งานที่เหลือของแต่ละปี คูณกับมูลค่าสินทรัพย์หลังจากหักมูลค่าซากที่คาดว่าจะได้รับ
- แบบยอดลดลงทวีคูณซึ่งคานวณค่าเสื่อมราคาโดยเอาอัตราที่เป็น 2
เท่าของอัตราร้อยละตามวิธีเส้นตรงคูณกับราคาตามบัญชี
ซึ่งราคาบัญชีในที่นี้หมายถึงราคาทุนหรือราคาประเมินหักค่าเสื่อมราคาสะสม
วิธีตามชั่วโมงการทางาน หรือตามจานวนผลผลิต ซึ่งคานวณค่าเสื่อมราคาโดยเอาอัตราที่เป็น2
เท่าของอัตราร้อยละตามวิธีเส้นตรงคูณกับราคาตามบัญชี
ซึ่งราคาบัญชีในที่นี้หมายถึงราคาทุนหรือราคาประเมินหักค่าเสื่อมราคาสะสม
สาหรับค่าเสื่อมราคาแต่ละปีที่คานวณโดยคูณจานวนชั่วโมงการทางานหรือจานวนผลผลิตที่ได้ในปีนั้นๆ
คูณด้วยอัตราค่าเสื่อมราคาต่อหน่วย
วิธีคิดค่าเสื่อมราคาแต่ละวิธีจะมีผลให้ค่าใช้จ่ายและค่าเสื่อมราคาสะสมที่ได้แตกต่างกัน
ผู้ใช้งบการเงินจึงต้องศึกษาวิธีที่บริษัทใช้จากหมายเหตุประกอบงบการเงิน
นอกจากนี้แล้วยังมีหลายๆ
คนเข้าใจว่าค่าเสื่อมราคาเป็นที่มาของเงินสดสาหรับการจัดหาสินทรัพย์มาแทนที่สินทรัพย์ที่หมดอายุการใช้งาน
ซึ่งความเข้าใจดังกล่าวไม่ถูกต้องเพราะว่าค่าเสื่อมราคานั้น เป็นเพียงค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องมีการจ่ายเงินสดในงวดนั้นๆ
ซึ่งไม่ได้เป็นที่มาของเงินสดแต่อย่างใด
3. เงินลงทุนระยะยาวได้แก่ เงินลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้และตราสารทุนของบริษัทอื่น
4. สินทรัพย์อื่นหมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนซึ่งอาจจะเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มี
ตัวตน เช่น สิทธิบัตรสัมปทานเครื่องหมายการค้าสิทธิการเช่า
หนี้สิน - การรับรู้ การวัดค่า และการจาแนกประเภท
การรับรู้หนี้สิน ตามหลักการบัญชีได้กาหนดไว้ว่าบริษัทควรรับรู้หนี้สินในงบดุล
เมื่อมีความเป็นไปได้ที่ค่อนข้างแน่นอนที่บริษัทจะต้องเสียทรัพย์สิน
หรือทรัพยากรเพื่อชาระภาระผูกพันในปัจจุบันโดยภาระผูกพันในปัจจุบันที่ต้องชาระนั้นสามารถวัดค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ
บริษัทไม่ต้องรับรู้ภาระผูกพันเป็นหนี้สินในงบดุลหากคู่สัญญายังมิได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่นการสั่งซื้อสินค้าแล้วยังไม่ได้รับ
เป็นต้น
การวัดค่าหนี้สิน เนื่องจากหนี้สินส่วนใหญ่จะเป็นรายการที่เป็นตัวเงิน
ที่ต้องมีการชาระด้วยจานวนเงินที่กาหนดไว้อย่างแน่นอนหนี้สินนั้นยังรวมไปถึงภาระผูกพันต่อสถาบันการเงิน
เจ้าหนี้การค้า พนักงาน และรัฐบาล อย่างไรก็ตาม
โดยหลักการทางบัญชีแล้วจะไม่รับรู้หนี้สินจากรายการที่ยังไม่มีการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นในงบดุลเช่น
ข้อตกลงกับสหภาพแรงงานสัญญาซื้อที่ยกเลิกไม่ได้ และสัญญาเช่าบางประเภทเพราะว่าบริษัทจะได้รับประโยชน์
จากรายการเหล่านี้ในอนาคตไม่ใช่ในอดีต
ซึ่งรายการหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นเหล่านี้จะถูกเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
การจาแนกประเภทหนี้สิน ในงบดุลมีการจาแนกหนี้สินเป็นประเภทต่างๆ
ที่ค่อนข้างหลากหลายแต่ส่วนใหญ่จะจาแนกเป็นหนี้สินหมุนเวียนซึ่งรวมหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายภายใน 1 ปี
และหนี้สินไม่หมุนเวียนหรือที่เราเรียกกันว่าหนี้สินระยะยาว
ส่วนของเจ้าของ - การกาหนดมูลค่า และการเปิดเผยข้อมูล
โดยตามหลักการบัญชีได้ให้คาจากัดความส่วนของเจ้าของส่วนของ หรือผู้ถือหุ้นไว้ว่าเป็นสิทธิเรียกร้องที่เหลืออยู่
หมายถึงการที่เจ้าของมีสิทธิในสินทรัพย์ทั้งหมดที่ไม่ต้องใช้ในการชาระหนี้สิน
งบดุลจะแยกส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นจานวนที่ได้รับจากเจ้าของ ซึ่งได้แก่ หุ้นบุริมสิทธิ และหุ้นสามัญ
และจานวนกาไรสุทธิของบริษัทที่เกิดขึ้นที่เกินกว่าเงินปันผลที่ได้ประกาศจ่าย หรือที่เรียกว่ากาไรสะสม
ซึ่งเป็นการสะสมของกาไรหรือขาดทุนสุทธิในแต่ละปีตั้งแต่บริษัทเริ่มดาเนินงานกาไรสะสมนั้นไม่ใช่เงินสด
แต่เป็นตัวเลขทางบัญชีซึ่งแสดงมูลค่าสะสมตั้งแต่อดีตของกาไรส่วนที่ไม่ได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นซึ่งถ้าบริษัทเกิดภาวะขาดทุน
ผลขาดทุนนั้นก็จะนาไปหักออกจากกาไรสะสมทาให้กาไรสะสมนั้นลดลง หากกาไรสะสมมีค่าติดลบ
ฝ่ายบริหารของบริษัทอาจใช้คาว่าขาดทุนสะสมแทนคาว่ากาไรสะสม
งบกาไรขาดทุน(Profit andLossStatement orIncomeStatement)
งบกาไรขาดทุนเป็นงบที่แสดงผลการดาเนินงานของกิจการภายในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งรายการหลักๆ
ในงบกาไรขาดทุนกาไรสุทธิจะเท่ากับรายได้หักด้วยค่าใช้จ่าย โดยรายได้แสดงถึงมูลค่าของสินค้า
หรือบริการที่บริษัทขายได้ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายจะแสดงถึงความพยายามที่ใช้ไปเพื่อทาให้เกิดรายได้
1. หลักการบัญชีเกี่ยวกับรายได้ และค่าใช้จ่าย
รายได้ สาหรับคนทั่วไปจะหมายถึงจานวนที่บริษัทได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ
แต่ถ้าความหมายในทางการบัญชีจะมีความหมายที่กว้างกว่านั้นโดยจะหมายถึง การได้รับหรือการเพิ่มค่าของสินทรัพย์
หรือการลดลงของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับจากผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ
ค่าใช้จ่าย หมายถึง การจ่าย หรือการลดค่าของสินทรัพย์
หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลงแต่ค่าใช้จ่ายนี้ยังไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กับผู้มีส่วนร่วม
ในส่วนของเจ้าของ
การรับรู้รายได้ และค่าใช้จ่าย โดยหลักการบัญชีกาหนดให้บริษัทรับรู้รายได้ในงบกาไรขาดทุนเมื่อบริษัทได้รับ
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตเพิ่มขึ้น เช่น มีการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์จากการขายสินค้าหรือบริการ
หรือการลดลงของหนี้สินจากการที่เจ้าหนี้ยกหนี้ให้ เป็นต้นเช่น การขายสินค้าหรือบริการโดยทั่วไปแล้ว
บริษัทจะรับรู้รายได้เมื่อบริษัทได้มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการนั้นให้ลูกค้าและมีการชาระเงินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
การรับรู้ค่าใช้จ่าย จะใช้เกณฑ์ความเกี่ยวพันโดยตรงระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นกับรายได้ที่ได้มาจากรายการเดียวกัน
2. รายการบัญชีที่มักปรากฏในงบกาไรขาดทุน
รายได้หรือขาย แสดงถึงรายได้ที่มาจากการดาเนินธุรกิจหลักของบริษัท
โดยทั่วไปแล้วก็คือการขายสินค้าและบริการทั้งหมดที่ขายให้กับลูกค้า
ซึ่งรายได้ประเภทนี้จะแสดงด้วยมูลค่าหรือราคาขายก่อนหักค่าใช้จ่ายใดๆ
รายได้อื่นจะเป็นรายได้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินธุรกิจหลักของบริษัท
ซึ่งรายได้ประเภทนี้มักจะแสดงด้วยจานวนที่ได้รับ หรือคาดว่าจะได้รับสุทธิจากต้นทุนที่เกี่ยวข้อง เช่น
กาไรจากการขายเงินลงทุน กาไรจากการขายสินทรัพย์ เป็นต้น
ค่าใช้จ่าย คือรายการที่หักออกจากรายได้ ตัวอย่างของค่าใช้จ่าย เช่นต้นทุนสินค้าที่ขาย
จะแสดงถึงต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาหรือต้นทุนการผลิตสินค้าสาเร็จ หรือต้นทุนค่าบริการ
ซึ่งต้นทุนเหล่านี้จะเกี่ยวพันโดยตรงกับรายได้
ค่าเสื่อมราคาในบางครั้งเราจะรวมค่าเสื่อมราคาไว้ในต้นทุนขาย เพราะว่าสินทรัพย์ถาวรโดยเฉพาะโรงงาน
และเครื่องจักร ส่วนมากจะใช้สาหรับการผลิตสินค้า ดังนั้นค่าเสื่อมราคาที่เกิดขึ้นจากโรงงาน
และเครื่องจักรจึงถือเป็นต้นทุนขายโดยตรงแต่สาหรับผู้ค้าปลีกและผู้ให้บริการจะรวมค่าเสื่อมราคาไว้ในค่าใช้จ่าย
ในการขายและบริหารมากกว่าต้นทุนขาย
ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร จะครอบคลุมรายการที่ไม่เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเช่นเงินเดือนพนักงานขาย
ค่าน้า ค่าไฟ และวัสดุสานักงาน เป็นต้น
กาไรขั้นต้น จะเป็นผลต่างระหว่างรายได้จากการขายกับต้นทุนขายของสินค้าหรือบริการ
กาไรก่อนภาษีซึ่งจะสะท้อนถึงกาไรของบริษัทหลังจากหักค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน บวกรายได้อื่น
และหักรายจ่ายที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินงานของบริษัทแล้ว
สาหรับบริษัทที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
กาไรสุทธิคือการที่เรามีรายได้มากกว่าค่าใช้จ่าย แต่ถ้าเกิดว่าค่าใช้จ่ายมีมากกว่ารายได้เราจะเรียกว่า
ขาดทุนสุทธิทั้งหมดก็เป็นรายการภายในงบกาไรขาดทุน
ความสัมพันธ์ระหว่างงบกาไรขาดทุนและงบดุล
งบกาไรขาดทุนจะเป็นตัวที่เชื่อมต่องบดุลณวันสิ้นงวด
เนื่องจากกาไรสะสมจะเป็นตัวที่แสดงถึงผลรวมของกาไรในงวดก่อนๆที่สูงกว่าเงินปันผล
งบกระแสเงินสด(Statementof CashFlows)
งบกระแสเงินสด คืองบที่แสดงการเคลื่อนไหวของเงินสด
โดยจะแสดงถึงรายการได้มาและใช้ไปของเงินสดหรือสิ่งที่เทียบเท่าเงินสดในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งจะมาจาก 3
กิจกรรมหลักๆ คือ เงินสดที่ได้มาจากกิจกรรมการดาเนินงาน กิจกรรมการลงทุน และกิจกรรมการจัดหาเงิน
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน โดยปกติ
บริษัทที่มีฐานะทางการเงินมั่นคงจะมีแหล่งที่มาของเงินสดจากการขายสินค้าและบริการ
ซึ่งการประเมินกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
จะทาให้ผู้อ่านงบการเงินสามารถทราบได้ว่ากิจกรรมดาเนินงานของบริษัทเป็นแหล่งที่มาของเงินสด
ที่จาเป็นต่อการรักษาระดับความสามารถในการดาเนินงานมากน้อยเพียงใด
และบริษัทจาเป็นจะต้องพึ่งพาแหล่งที่มาของเงินสดภายนอกมากน้อยเพียงใด
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เป็นการนาเงินสดที่มีไปจัดหาสินทรัพย์มาทดแทนส่วนที่หมดอายุการใช้งาน
เช่น การจัดหาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนโดยเฉพาะที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
รวมทั้งการจัดหาเงินสดเพิ่มเติมในกรณีที่บริษัทมีความต้องการขยายธุรกิจ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน
กิจกรรมนี้ทาให้บริษัทได้รับเงินสดเพิ่มเติมเพื่อที่จะมารองรับกิจกรรมดาเนินงานและกิจกรรมการลงทุน
โดยจะได้รับเงินสดมาจากการกู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว และจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ
และหุ้นบุริมสิทธิแต่ในทางตรงกันข้าม บริษัทก็จะต้องใช้เงินสดในการจ่ายชาระหนี้หุ้นกู้ระยะสั้นและระยะยาว
จ่ายเงินปันผลและซื้อหุ้นทุนกลับคืนมา
ในบางครั้ง บริษัทอาจมีกิจกรรมการลงทุนและการจัดหาเงินทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินสดโดยตรง เช่น
บริษัทอาจออกตั๋วเงินจ่าย หรือหุ้นกู้เพื่อซื้ออาคารหรือบริษัทอาจออกหุ้นสามัญเพื่อแลกกับหุ้นกู้ระยะยาว
ทั้งนี้บริษัทจะทาการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่ไม่เป็นเงินสดเหล่านี้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ความสัมพันธ์ระหว่างงบกระแสเงินสดกับงบดุลและงบกาไรขาดทุน
งบกระแสเงินสดมีความเกี่ยวข้องกับงบดุลและงบกาไรขาดทุนคือ
งบกระแสเงินสดนั้นจะอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงในเงินสดระหว่างต้นงวดและปลายงวดบัญชี
ซึ่งในขณะเดียวกันก็แสดงถึงกิจกรรมการลงทุนและจัดหาเงินที่สาคัญของบริษัท
โดยจะเป็นการอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการต่างๆในงบดุลเปรียบเทียบ
และงบกระแสเงินสดนั้นจะมีลักษณะที่คู่ขนานไปกับงบกาไรขาดทุนนั่นคือ
งบกระแสเงินสดจะแสดงให้เห็นว่าการดาเนินงานนั้นกระทบต่อเงินสดระหว่างงวดอย่างไรในขณะที่งบกาไรขาดทุน
นั้นแสดงให้เห็นว่าการดาเนินงานเดียวกันนั้นกระทบต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของงวดนั้นอย่างไร
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น(StatementofChangesinEquity)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้นแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการต่างๆที่จัดอยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นได้แก่
ทุนจดทะเบียนและ เรียกชาระส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ และกาไรสะสม เป็นต้น
โดยในแต่ละรายการในส่วนของผู้ถือหุ้นจะมีการแสดงจานวน ณ วันต้นงวดรายการ
เพิ่มขึ้นและลดลงในระหว่างงวดและจานวน ณ วันสิ้นงวด
ผู้เรียนสามารถกดปุ่มข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อดูตัวอย่างงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้นได้
งบกาไรสะสม(RetainedEarningStatement)
งบกาไรสะสมแสดงถึงจานวนและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในกาไรสะสมระหว่างงวดโดยเริ่มจากกาไรสะสมณ
วันต้นงวดบวกด้วยกาไรสุทธิหรืออาจหักด้วยขาดทุนสุทธิในกรณีที่ปีนั้นกิจการเกิดขาดทุน
แล้วจึงหักด้วยเงินปันผลเพื่อคานวณจานวนกาไรสะสมณ วันสิ้นงวด
ซึ่งการวิเคราะห์งบกาไรสะสมจะทาให้ทราบถึงนโยบายในการจ่ายเงินปันผลของบริษัท
แต่ในบางบริษัทอาจจะแสดงงบกาไรสะสมไว้เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินด้วยก็ได้
หมายเหตุประกอบงบการเงิน(NotestoFinancialStatement)
หมายเหตุประกอบงบการเงินแสดงถึงข้อมูลเพิ่มเติมต่างๆ ที่ไม่ได้รวมไว้ในงบการเงินหลักทั้ง 3 ประเภท ได้แก่
งบดุล งบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด
ซึ่งได้มีการกาหนดให้บริษัทต้องให้รายละเอียดสาหรับรายการที่แสดงไว้ในงบการเงินทั้งสามไว้ในหมายเหตุประกอบงบการ
เงิน ตัวอย่างข้อมูลที่มีปรากฏอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินได้แก่
นโยบายบัญชีที่บริษัทเลือกใช้รายละเอียดของรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ เป็นต้น การที่ผู้ลงทุนจะใช้ข้อมูลในงบดุล
งบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด และเข้าใจเป็นอย่างดีนั้น
ผู้ลงทุนจาเป็นต้องเข้าใจหมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นอย่างดีด้วย
รายงานผู้สอบบัญชี(Auditor'sReport)
งบการเงินที่สามารถเชื่อถือได้จะต้องมีรายงานของผู้สอบบัญชี
ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้งบการเงินเกิดความมั่นใจในความถูกต้องของข้อมูลที่แสดงไว้ในงบการเงินรูปแบบของรายงานผู้สอบบัญชี
รายงานของผู้สอบบัญชีมี4 แบบ ดังนี้
รายงานของผู้สอบบัญชีแบบไม่มีเงื่อนไข หมายความว่า
ผู้สอบบัญชีไม่พบสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในการจัดทารายงานงบการเงินโดยผู้บริหารบริษัท
รายงานของผู้สอบบัญชีแบบมีเงื่อนไขหมายความว่า
ผู้สอบบัญชีพบว่ามีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการรับรู้รายการที่เกิดขึ้นหรือการกาหนดมูลค่าของสินทรัพย์หรือหนี้สิน
ในกรณีที่เงื่อนไขที่เกิดขึ้นมีสาระสาคัญมากจนผู้สอบบัญชี
ไม่สามารถให้ความเห็นต่อความถูกต้องตามที่ควรของงบการเงินทั้งหมด รายงานความเห็นของผู้สอบบัญชีอาจเป็นแบบ
"ไม่แสดงความเห็น" ต่องบการเงิน หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินที่ตนตรวจสอบนั้น"ไม่ถูกต้อง"
สาหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องส่งงบการเงินแบบไม่มีเงื่อนไข
เพื่อให้สามารถดารงสภาพความเป็นบริษัทจดทะเบียนต่อไป
แต่ถ้าเป็นแบบมีเงื่อนไขก็จะต้องเป็นแบบเงื่อนไขที่ไม่มีสาระสาคัญต่อความน่าเชื่อถือของ งบการเงินให้แก่ผู้ถือหุ้น
นอกเหนือจากการดูตัวเลขตามงบการเงินที่บริษัทนาเสนอ ผู้ลงทุนควรทาการศึกษาข้อมูลอื่นๆ ของบริษัทเพิ่มเติม
ยิ่งถ้าผู้ลงทุนมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมที่บริษัทนั้นทาอยู่มากเท่าใด
ผู้ลงทุนก็จะวิเคราะห์ข้อมูลงบการเงินได้ดีขึ้นมากเท่านั้น
อัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญ(Key to FinancialRatio)
อัตราส่วนทางการเงิน จะใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน ซึ่งจะเป็นการวิเคราะห์ถึงแง่มุมใดมุมหนึ่งของบริษัท
อัตราส่วนทางการเงินนี้ แบ่งออกเป็น 3 เรื่อง คือ
1.ความสามารถในการทากาไร (Profitability Analysis)
อัตราส่วนทางการเงินที่นิยมใช้เพื่อวัดความสามารถในการทากาไรอยู่ 3 ประเภท ดังนี้
1.1. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ReturnonAssetsหรือ ROA
โดยจะมีสูตรที่ใช้ในการคานวณหาดังนี้ ROA จะเท่ากับ
กาไรสุทธิบวกด้วยดอกเบี้ยจ่ายคูณด้วยหนึ่งลบด้วยอัตราภาษีคูณด้วยหนึ่งร้อยหารด้วยสินทรัพย์รวมถัวเฉลี่ย
ซึ่งค่าที่คิดออกมาได้จะเป็นเปอร์เซ็นต์
กาไรที่ใช้ในการคานวณ ROA ควรเป็นกาไรก่อนหักการชาระ
หรือจ่ายคืนผลตอบแทนให้แก่ผู้ที่เป็นแหล่งที่มาของเงินทุนเนื่องจากบริษัทหักดอกเบี้ยจ่ายออกก่อนคานวณกาไรสุทธิ
ผู้วิเคราะห์จึงจาเป็นต้องบวกดอกเบี้ยจ่ายกลับเข้ามาเพื่อให้ได้จานวนกาไรก่อนการหักต้นทุนของการจัดหาเงินทุน
การที่บริษัทสามารถนาดอกเบี้ยไปหักเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อคานวณกาไรสาหรับเสียภาษีดอกเบี้ยจ่าย จึงไม่ได้ลดกาไรสุทธิลง
เท่ากับดอกเบี้ยจ่ายเต็มทั้งจานวนแต่ลดลงด้วยจานวนที่สุทธิจากอัตราภาษี
ดังนั้นในการบวกดอกเบี้ยกลับจึงบวกเพียงจานวนหลังจากหักภาษีแล้ว
สาหรับตัวหารการที่ตัวตั้งเป็นกาไรของทั้งงวด
การวัดจานวนสินทรัพย์ที่ใช้จึงควรเป็นค่าเฉลี่ยของสินทรัพย์ที่ใช้ในระหว่างงวด
ซึ่งปกติได้จากการถัวเฉลี่ยจานวนต้นงวดและปลายงวด
องค์ประกอบของ ROA
ในการวิเคราะห์ ROAเราสามารถทาการแยกองค์ประกอบของ ROAได้ดังนี้คือ ROAเท่ากับ
อัตรากาไรสุทธิที่ก่อนจ่ายดอกเบี้ยและภาษีคูณด้วยอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์
อัตรากาไรสุทธิบริษัทสามารถปรับปรุงอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ได้ โดยการเพิ่มอัตรากาไรสุทธิ
หรืออัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์หรือเพิ่มอัตราส่วนทั้งสองประเภทซึ่งบริษัทบางประเภท
อาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับความยืดหยุ่นที่จะปรับเปลี่ยนอัตราส่วนเหล่านี้ เช่นข้อจากัดของสภาพของการแข่งขัน
หรือลักษณะธุรกิจ เป็นต้น
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิ
ถ้าเกิดว่าอัตรากาไรสุทธิและอัตราหมุนเวียนของ
สินทรัพย์เกิดการเปลี่ยนแปลงเราจะทราบได้โดยทาการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิและอัตราหมุนเวียนของ
สินทรัพย์รวม
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิ
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Accounts receivable turnover) แสดงถึงความรวดเร็วในการที่บริษัทสามารถเก็บเงิน
ได้จากลูกหนี้ โดยคานวณได้จาก ขายสุทธิหารด้วยลูกหนี้ถัวเฉลี่ย
นอกจากนี้เรายังสามารถคานวณหาระยะเวลาถัวเฉลี่ยของลูกหนี้ ที่จะคงอยู่ในบริษัทก่อนที่บริษัทจะเก็บเงินได้
โดยระยะเวลาในการเก็บหนี้ จะเท่ากับ 365 วัน หารด้วย อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้
ผู้วิเคราะห์ควรเปรียบเทียบระยะเวลาในการเก็บหนี้ของบริษัทกับงวดก่อนๆ
หรือเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันและหาสาเหตุที่ทาให้ระยะเวลาในการเก็บหนี้แตกต่างกัน
ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากประสิทธิภาพในการจัดเก็บหนี้ หรือจากนโยบายการให้เครดิตของบริษัทก็ได้
อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventoryturnover) จะแสดงถึงจานวนครั้งที่บริษัทสามารถขายสินค้าคงเหลือ
ออกไปได้ซึ่งจะคานวณได้จาก ต้นทุนขายหารด้วยสินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย
ในการตีความหมายของอัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยสองประการคือ
1. การที่บริษัทต้องการขายสินค้าให้ได้มากที่สุด ในขณะที่มีเงินทุนที่ต้องลงทุนในสินค้าคงเหลือต่าที่สุด
2. การเพิ่มขึ้นของอัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือระหว่างงวด ซึ่งอาจหมายถึง
บริษัทสามารถทากาไรได้มากขึ้นจากการลงทุนในสินค้าคงเหลือ
อัตราส่วนของสินทรัพย์ระยะยาว (Fixed assetsturnover) จะเป็นการวัดความสัมพันธ์ระหว่างยอดขายกับการลงทุน
ในสินทรัพย์ระยะยาวประเภท ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งคานวณได้จาก อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาว เท่ากับ
ขายสุทธิหารด้วยสินทรัพย์ระยะยาวถัวเฉลี่ย
โดยผู้วิเคราะห์จะต้องตีความหมายการเปลี่ยนแปลงในอัตราส่วนนี้ด้วยความระมัดระวัง
บริษัทมักมีการลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาวเป็นเวลาหลายงวดบัญชีก่อนที่จะเริ่มมียอดขายจากสินทรัพย์ที่ผลิตด้วยสินทรัพย์
เหล่านี้
ดังนั้น
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาวที่ต่าหรือลดลงอาจเกิดจากการที่บริษัททาการขยายตัวเพื่อรองรับการเจริญเติบโ
ตในอนาคต หรือในทางตรงข้ามถ้าสินค้ามียอดขายที่ลดลง บริษัทอาจลดการลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาว
ซึ่งอาจทาให้อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาวสูงขึ้น
1.2. อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นสามัญ(ReturnonEquityหรือROE)
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ
จะแสดงถึงผลตอบแทนที่ผู้ถือหุ้นสามัญได้รับหลังจากหักผลตอบแทนที่ต้องจ่ายให้กับเจ้าหนี้
อัตราส่วนวัดความสามารถในการทากาไรนี้ จึงรวมถึงผลของการตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินงานการลงทุน
และการจัดหาเงิน
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นจัดเป็นอัตราส่วนการเงินที่ผู้ลงทุนในหุ้นสามัญให้ความสาคัญมากที่สุด ซึ่ง ROE
จะเท่ากับ กาไรสุทธิลบด้วยเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย จากนั้นคูณด้วยหนึ่งร้อย
ในการคานวณกาไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ
ผู้วิเคราะห์ต้องหักจานวนผลตอบแทนที่ต้องจัดสรรให้แก่ผู้ที่เป็นแหล่งเงินทุนอื่นเช่นผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ
เนื่องจากในการคานวณกาไรสุทธิได้มีการหักดอกเบี้ยจ่ายไปแล้ว
ผู้วิเคราะห์จึงไม่จาเป็นต้องมีการปรับปรุงรายการดอกเบี้ยจ่ายแต่อย่างใด
สาหรับเงินทุนที่ได้มาจากผู้ถือหุ้นสามัญประกอบด้วย หุ้นสามัญราคาตามมูลค่าส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ
และกาไรสะสมสาหรับงวดนั้น
การเปรียบเทียบกาไรต่อหุ้นระหว่างบริษัททาได้อย่างจากัด เนื่องจากถ้าบริษัทสองแห่งมีกาไรสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้น
และอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่เท่ากัน
บริษัทหนึ่งอาจมีกาไรต่อหุ้นที่ต่ากว่าเนื่องจากมีจานวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือผู้ถือหุ้นที่มากกว่า
หรืออาจเกิดจากการที่มีราคาตามมูลค่าหุ้นที่ต่ากว่าผู้วิเคราะห์จึงต้องใช้ความระมัดระวังในการนาตัวเลขกาไรต่อหุ้นไปใช้
2.การวิเคราะห์ความเสี่ยง(Risk Analysis)
การวิเคราะห์ความเสี่ยง มักจะใช้ข้อมูลจากงบการเงินโดยจะเป็นการดูถึง ความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น
(Short-termliquidityrisk) และความสามารถในการชาระหนี้ระยะยาว (Long-term liquidityrisk)
2.1. อัตราส่วนแสดงสภาพคล่องระยะสั้น(Short-termliquidity)
อัตราส่วนนี้จะแสดงถึงแหล่งเงินทุน สภาพคล่องที่จะทาให้บริษัทมีความยืดหยุ่นทางการเงิน
โดยจะประกอบด้วยอัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญดังนี้
อัตราทุนหมุนเวียน (Current ratio)
แสดงถึงความสามารถของบริษัทที่จะชาระหนี้ระยะสั้นด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีอยู่ซึ่งจะคานวณได้จาก
สินทรัพย์หมุนเวียนหารด้วยหนี้สินหมุนเวียน
อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quickratio) คือรูปแบบหนึ่งของอัตราทุนหมุนเวียน
แต่ตัวเศษจะรวมเฉพาะสินทรัพย์หมุนเวียนที่บริษัทสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้โดยรวดเร็ว เช่น เงินสด
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด และลูกหนี้
แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทบางแห่งอาจสามารถเปลี่ยนสินค้าคงเหลือเป็นเงินสดได้เร็วกว่า
หรือบริษัทบางแห่งเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ ดังนั้นผู้วิเคราะห์ต้องพิจารณาว่าควรจะมีการรวมลูกหนี้หรือไม่
ในการคานวณอัตราส่วนนี้ ซึ่งอัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว จะเท่ากับเงินสดบวกเงินลงทุนระยะสั้นบวกลูกหนี้
และหารด้วยหนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินหมุนเวียน (Cash Flow from Operationsto Current
Liabilities) คานวณได้จาก อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินหมุนเวียน จะเท่ากับ
กระแสเงินสดจากการดาเนินงานหารด้วยหนี้สินหมุนเวียนถัวเฉลี่ย แล้วคูณด้วยหนึ่งร้อย
2.2. อัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ระยะยาว(Long-termliquidityrisk)
อัตราส่วนนี้จะเป็นอัตราส่วนที่ว่ากันในเรื่องของอัตราหนี้สินหรือ DebtRatio ซึ่งจะมีดังนี้อัตราส่วนหนี้สินระยะยาว
(long-term debt ratio) แสดงถึงสัดส่วนของเงินทุนระยะยาวของบริษัทที่ได้มาจากการกู้ยืม
ซึ่งสามารถคานวณหาได้จากหนี้สิ้นระยะยาวหารด้วยหนี้สินระยะยาวบวกด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นและคูณด้วยหนึ่งร้อย
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(debtto equityratio) ซึ่งจะแสดงถึงสัดส่วนของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับส่วน
ของผู้ถือหุ้นของบริษัทที่สามารถรับได้ เมื่อเทียบกับหนี้สินที่มีอยู่ของบริษัท
อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินรวม (Cash Flow from Operationsto Total Liabilities
Ratios) อัตราส่วนนี้จะใช้ในการประเมินสภาพคล่องของบริษัท
โดยสามารถคานวณได้จากกระแสเงินสดจากการดาเนินงานหารด้วยหนี้สินรวม แล้วคูณด้วยหนึ่งร้อย
อัตราส่วนจานวนเท่าของกาไรต่อดอกเบี้ย (timesinterestearned) คานวณได้จากกาไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี
หารด้วยดอกเบี้ยจ่าย อัตราส่วนนี้แสดงถึงโอกาสที่เจ้าหนี้จะได้รับการชาระดอกเบี้ยจากกาไรจากการดาเนินงาน
ถึงแม้ว่าอัตราส่วนทางการเงินจะมีประโยชน์ต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับบริษัท
แต่ผู้วิเคราะห์งบการเงินต้องตระหนักถึงข้อจากัดต่างๆ ที่เกิดจากการคานวณอัตราส่วนการเงินที่ได้กล่าวไปแล้ว
ผู้วิเคราะห์ต้องประมวลผลของอัตราส่วนการเงินที่คานวณได้จากงบการเงินกับการตรวจสอบข้อเท็จจริงอื่นๆ
ประกอบก่อนที่จะทาการสรุปผลที่ได้
3.ข้อมูลต่อหุ้น
3.1. มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น(BookValue Per Share)
เป็นตัวที่ใช้วัด เพื่อดูว่าตลาดมีมุมมองต่อบริษัทอย่างไร
ซึ่งมูลค่าตามบัญชีก็จะแสดงจานวนเงินทุนแท้จริงที่ได้ลงทุนโดยผู้ถือหุ้น
ด้วยการซื้อหุ้นของบริษัทแล้วเก็บกาไรที่ได้นั้นให้อยู่ในรูปของกาไรสะสมสาหรับการคานวณนั้นจะเริ่มจาก
การนาส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญมาหารด้วย จานวนหุ้นที่ออกและเรียกชาระแล้ว
3.2. อัตราผลตอบแทนเงินปันผลต่อหุ้น(DividendPayoutPerShare)
จะเป็นการวัดอัตราส่วนร้อยละของกาไรของบริษัทที่ได้จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสาหรับการคานวณ
ก็ให้นาเงินปันผลต่อหุ้น มาคูณกับ 100 แล้วหารด้วย ราคาตลาด หรือราคาปิดของหุ้นสามัญ
3.3. กาไรต่อหุ้น(EarningPer Share- EPS)
ช่วยให้ผู้ลงทุนและผู้ถือหุ้นปัจจุบันสามารถติดตามผลการดาเนินงานได้ทันเหตุการณ์มากขึ้น
ซึ่งการคานวณกาไรสุทธิต่อหุ้นมักจะคานวณโดยใช้กาไรก่อนรายการพิเศษ หักด้วยเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ
และหารด้วยจานวนหุ้นที่ออกและเรียกชาระแล้ว
3.4. ราคาต่อกาไรต่อหุ้น(P/ERatio)
เป็นอัตราส่วนที่บอกให้รู้ว่าผู้ลงทุนเต็มใจที่จะจ่ายราคาเท่าใดสาหรับกาไรและเงินปันผลที่จะได้รับในอนาคต
และในการคานวณหาค่าราคาต่อกาไรต่อหุ้นนั้นก็ไม่ยากครับ โดยเราจะใช้ ราคาตลาดปัจจุบันต่อหุ้น
หารด้วยกาไรต่อหุ้นนั่นเอง
3.5. ราคาต่อมูลค่าหุ้นตามบัญชี(Price toBookValue)
เป็นหนึ่งในอัตราส่วนที่มักจะใช้ในการประเมินมูลค่าหุ้น โดยการคานวณ
ให้นาเอาราคาตลาดปัจจุบันต่อหุ้นมาหารด้วยมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น
งบการเงิน

More Related Content

Similar to งบการเงิน

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1tonmai
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของpeepai
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินtumetr1
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สินpeepai
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981CUPress
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 

Similar to งบการเงิน (20)

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
1แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 11แผนธุรกิจ 1
1แผนธุรกิจ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
1
11
1
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของ
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
accounting for sport management
accounting  for sport managementaccounting  for sport management
accounting for sport management
 
FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สิน
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 

งบการเงิน

  • 1. งบการเงิน งบการเงิน จัดทาขึ้นตามระบบบัญชีและสรุปออกมาให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบถึงกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับบริษัท ซึ่งแบ่ง กิจกรรมได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. กิจกรรมการดาเนินงาน บริษัทจะต้องดาเนินงานทางธุรกิจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของบริษัท ก็คือการเพิ่มมูลค่าของ กิจการ หรือเพิ่มความมั่งคั่งให้กับผู้ถือหุ้นนั่นเอง 2. กิจกรรมการลงทุน การที่บริษัทจะลงทุนในสินทรัพย์ระยะสั้นและสินทรัพย์ระยะยาวเป็นสัดส่วนเท่าใดนั้นลักษณะ ของธุรกิจจะเป็นตัวกาหนดสัดส่วนนั้น 3. กิจกรรมการจัดหาเงิน โดยปกติแล้วบริษัทจะจัดหาเงินทุนได้จากเจ้าหนี้ และเจ้าของ ซึ่งโครงสร้างสินทรัพย์จะเป็น ตัวกาหนดสัดส่วนของแหล่งเงินทุนระยะสั้นและแหล่งเงินทุนระยะยาว กรณีบริษัทค้าปลีกซึ่งลงทุนในสินทรัพย์ระยะสั้นอย่างเช่นลูกหนี้และสินค้าคงเหลือเป็นส่วนใหญ่ มักจะใช้แหล่งเงินทุน ระยะสั้นเป็นหลัก ในขณะที่บริษัทผลิตกระแสไฟฟ้าจะใช้แหล่งเงินทุนระยะยาวเป็นหลักเพื่อลงทุนในโรงงานผลิต ทั้งนี้แต่ละ บริษัทจะตัดสินใจเลือกสัดส่วนแหล่งเงินทุนระยะยาวระหว่างจากเจ้าหนี้ และเจ้าของโดยมีปัจจัยด้านต่างๆ เช่น ทรรศนะของ ผู้บริหารในเรื่องความเสี่ยงหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการกู้เงินระยะยาว มาเป็นส่วนหนึ่งประกอบการตัดสินใจ
  • 2. วัตถุประสงค์ของงบการเงิน วัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงินเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงผลการดาเนินงานภายใต้เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมาซึ่งทาให้เกิดรายการทางธุรกิจต่างๆ ว่าส่งผลกระทบต่อฐานะการเงินของบริษัทอย่างไรผู้ถือหุ้นผู้ลงทุนเจ้าหนี้ และผู้ที่สนใจในบริษัท จะได้ใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับบริษัท หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ก่อนที่จะลงทุนในบริษัทเหล่านั้น จะต้องทาการเปรียบเทียบงบการเงินของบริษัทต่างๆ ที่สนใจ สาหรับวิธีการจัดทางบการเงินนั้นจะไม่ต่างกัน เพราะได้มีการกาหนดมาตรฐานทางบัญชีขึ้นมา เพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกันหลักการที่ว่านี้คือมาตรฐานการบัญชีหรือ Accounting standards หรือที่เรียกว่า GAAP ซึ่งมีชื่อเต็มว่า GenerallyAccepted Accounting Principles โดย GAAP ในแต่ละประเทศก็จะแตกต่างกันออกไป สาหรับในประเทศไทยแล้ว ตามพระราชบัญญัติบัญชี2543 บริษัทในประเทศไทยต้องจัดทางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย ซึ่งส่วนใหญ่จะมีความสอดคล้องกับมาตรฐานบัญชีสากลหรือ International Accounting Standards: IAS ซึ่งปกติแล้ว งบการเงินจะประกอบไปด้วย งบดุลงบกาไรขาดทุนงบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นหมายเหตุประกอบงบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งในที่นี้จะขออธิบายในส่วนของงบดุลงบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด
  • 3. งบดุล(BalanceSheet) งบดุลหรือ Balance Sheet เป็นงบที่แสดงฐานะทางการเงินของกิจการณ เวลาใด เวลาหนึ่ง ซึ่งภายในงบดุลก็จะประกอบ ไปด้วย สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ แนวคิดเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ คือ ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทและคาดว่าบริษัทจะได้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้น หนี้สิน คือ ภาระผูกพันของบริษัท โดยคาดว่าจะทาให้กิจการเสียประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ ส่วนของเจ้าของหมายถึงส่วนต่างของสินทรัพย์ หลังจากหักหนี้สินทั้งหมดแล้ว ซึ่งจากแนวคิดทั้ง 3 ที่ได้กล่าวมา ทาให้ทราบความสัมพันธ์ในรูปของสมการคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ งบดุล จึงแสดงถึงความเท่ากันของกิจกรรมลงทุนคือ ด้านสินทรัพย์ และกิจกรรมจัดหาแหล่งเงินทุนซึ่งก็คือด้านหนี้สินและส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ - การรับรู้ การวัดค่า และการจาแนกประเภท การรับรู้สินทรัพย์ ตามหลักการบัญชีนั้นได้กาหนดให้บริษัทรับรู้รายการที่เกิดขึ้นแล้วจะทาให้บริษัทได้ประโยชน์เป็นสินทรัพย์ในงบดุลและสาม ารถวัดมูลค่าของสินทรัพย์นั้นได้อย่างน่าเชื่อถือด้วย บริษัทไม่ควรรับรู้รายการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์เป็นสินทรัพย์ เช่น ค่าการวิจัย ค่าโฆษณา เป็นต้น ซึ่งรายการพวกนี้เป็นรายจ่ายควรจะรับรู้ไว้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน การวัดมูลค่าสินทรัพย์ สินทรัพย์ในงบดุลนั้นมีทั้งสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินซึ่งสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงิน ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เป็นต้น ส่วนรายการสินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินได้แก่ สินค้าคงเหลือ อาคาร อุปกรณ์ และสินทรัพย์อื่น เป็นต้น การจาแนกสินทรัพย์ สามารถจาแนกประเภทของสินทรัพย์หลักๆ ได้ดังนี้ คือ สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเงินลงทุนระยะยาว และสินทรัพย์อื่น
  • 4. 1. สินทรัพย์หมุนเวียน หมายถึงเงินสด และสินทรัพย์อื่นที่บริษัทคาดว่าจะขายหรือใช้ไปในรอบระยะเวลาดาเนินการปกติของบริษัท ซึ่งโดยทั่วไปแล้วคือระยะเวลาหนึ่งปี สินทรัพย์หมุนเวียนโดยทั่วไป ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ และค่าใช้จ่ายล่วงหน้า เงินสดและเงินฝากธนาคาร หมายถึง ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ เช็ค และยอดเงินในบัญชีธนาคาร ลูกหนี้ หมายถึง จานวนเงินที่บริษัทยังไม่ได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ ลูกหนี้นั้นจะแสดงไว้ในงบดุลด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะสามารถเก็บเงินได้หลังจากที่ได้หักค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ หลักทรัพย์ที่อยู่ในความต้องการของตลาด หมายถึง เงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงเนื่องจากเป็นหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายกันในตลาดเงินหรือตลาดทุน อย่างกว้างขวางและสามารถเปลี่ยนกลับมาเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว สินค้าคงเหลือ ซึ่งถ้ามองในแง่ของบริษัทซื้อขายสินค้าจะหมายถึง สินค้าที่มีไว้เพื่อรอการขาย แต่ถ้ามองในแง่บริษัทที่ผลิตจะหมายถึงวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าที่ผลิตสาเร็จแล้ว สินค้าคงเหลือจะแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ แล้วแต่ว่ามูลค่าใดจะต่ากว่า โดยปกติบริษัทได้รับสินค้าในแต่ละครั้งด้วยราคาที่แตกต่างกัน ทาให้มีการคานวณราคาทุนของต้นทุนขายและสินค้าคงเหลือหลายแบบด้วยกันได้แก่ วิธี FIFO First in - First out หรือ เข้าก่อนออกก่อน ซึ่งเป็นวิธีการคานวณสินค้าคงเหลือที่มีสมมติฐานว่าสินค้าคงเหลือที่เกิดขึ้นก่อนจะถูกใช้หรือขายไปก่อน วิธี LIFO Last in - First out หรือ เข้าหลังออกก่อน ซึ่งมีสมมติฐานว่าสินค้าคงเหลือที่เกิดขึ้นหลังสุดจะถูกใช้หรือขายออกไปก่อน วิธี Average Cost หรือ ต้นทุนถัวเฉลี่ย โดยคานวณต้นทุนสินค้าด้วยวิธีถัวเฉลี่ยต้นทุนของการได้มา ถ่วงน้าหนักด้วยจานวนหน่วยที่ได้มาในแต่ละครั้ง เนื่องจากต้นทุนขายในงบกาไรขาดทุน และราคาทุนของสินค้าคงเหลือในงบดุลตามสมมติฐานแต่ละแบบมีจานวนไม่เท่ากันผู้ใช้ข้อมูลต้องระมัดระวังว่าการที่กาไรแ ละสินทรัพย์ของ 2 บริษัทต่างกันอาจมีผลมาจากการใช้วิธีทางบัญชีที่ต่างกันไม่ใช่เพราะ ความสามารถในการดาเนินงานต่างกัน สาหรับประเทศไทยนั้นบริษัทส่วนใหญ่นิยมใช้วิธีFIFO และวิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยในการคานวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ
  • 5. 2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวรหมายถึง สินทรัพย์ที่มีระยะเวลาการใช้งานนานกว่า 1 ปี และไม่ได้มีไว้เพื่อ ขายต่อ เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร รถยนต์ อุปกรณ์สานักงานเครื่องตกแต่ง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ บริษัทนั้นสามารถเลือกแสดงสินทรัพย์ประเภทที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ด้วยราคาทุน หรือราคาประเมินซึ่งใกล้เคียงกับราคาตลาดได้ ซึ่งผู้ใช้งบการเงิน ต้องอ่านหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อจะได้ทราบว่ามูลค่าที่แสดงไว้เป็นมูลค่าใดนอกจากนี้การที่สินทรัพย์ประเภท อาคาร และอุปกรณ์มีอายุการใช้งานจากัดทาให้สินทรัพย์เหล่านี้แสดงอยู่ในงบดุลด้วยมูลค่าที่หักจากค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคา เป็นการจัดสรรหรือกระจายมูลค่าของสินทรัพย์ ถือเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ส่วนค่าเสื่อมราคาสะสมนั้นเป็นจานวนรวมของค่าเสื่อมราคาตั้งแต่วันที่เริ่มมีการใช้งานจนถึงงวดปัจจุบัน หลักการบัญชีกาหนดให้มีการแสดงค่าเสื่อมราคาสะสมหักจากมูลค่าของสินทรัพย์นั้น เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลได้ทราบว่ามีการใช้งานสินทรัพย์นั้นมานานมากน้อยแค่ไหนแต่สาหรับรายการที่ดินนั้น จะไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาเนื่องจากที่ดินมีอายุการใช้งานที่ไม่จากัด วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา วิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน เป็นวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาในอัตราคงที่จานวนค่าเสื่อมราคาของแต่ละปีจะเท่ากัน ซึ่งถ้าคิดตามวิธีนี้ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ในแต่ละปี จะเท่ากับราคาทุนหักด้วยมูลค่าซากที่คาดว่าจะได้รับหลังจากเลิกใช้งานหารด้วยอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ซึ่งอายุการใช้งานจะต้องมีหน่วยเป็นปี วิธีอัตราลดลง เป็นวิธีคิดค่าเสื่อมราคาในจานวนที่ลดลงตลอดเวลาที่ใช้สินทรัพย์ กล่าวคือ ค่าเสื่อมราคาในปีแรกๆ ของการใช้งานจะสูงกว่าปีหลังๆ ของการใช้งานซึ่งวิธีอัตราลดลงนั้นจะมีหลายแบบ แต่ที่จะกล่าวถึงในที่นี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบดังต่อไปนี้ - แบบผลรวมจานวนปี จะคานวณค่าเสื่อมราคาโดยนาอัตราส่วนระหว่างอายุการใช้งานที่เหลืออยู่ของแต่ละปีต่อผลรวมของ อายุการใช้งานที่เหลือของแต่ละปี คูณกับมูลค่าสินทรัพย์หลังจากหักมูลค่าซากที่คาดว่าจะได้รับ - แบบยอดลดลงทวีคูณซึ่งคานวณค่าเสื่อมราคาโดยเอาอัตราที่เป็น 2 เท่าของอัตราร้อยละตามวิธีเส้นตรงคูณกับราคาตามบัญชี ซึ่งราคาบัญชีในที่นี้หมายถึงราคาทุนหรือราคาประเมินหักค่าเสื่อมราคาสะสม
  • 6. วิธีตามชั่วโมงการทางาน หรือตามจานวนผลผลิต ซึ่งคานวณค่าเสื่อมราคาโดยเอาอัตราที่เป็น2 เท่าของอัตราร้อยละตามวิธีเส้นตรงคูณกับราคาตามบัญชี ซึ่งราคาบัญชีในที่นี้หมายถึงราคาทุนหรือราคาประเมินหักค่าเสื่อมราคาสะสม สาหรับค่าเสื่อมราคาแต่ละปีที่คานวณโดยคูณจานวนชั่วโมงการทางานหรือจานวนผลผลิตที่ได้ในปีนั้นๆ คูณด้วยอัตราค่าเสื่อมราคาต่อหน่วย วิธีคิดค่าเสื่อมราคาแต่ละวิธีจะมีผลให้ค่าใช้จ่ายและค่าเสื่อมราคาสะสมที่ได้แตกต่างกัน ผู้ใช้งบการเงินจึงต้องศึกษาวิธีที่บริษัทใช้จากหมายเหตุประกอบงบการเงิน นอกจากนี้แล้วยังมีหลายๆ คนเข้าใจว่าค่าเสื่อมราคาเป็นที่มาของเงินสดสาหรับการจัดหาสินทรัพย์มาแทนที่สินทรัพย์ที่หมดอายุการใช้งาน ซึ่งความเข้าใจดังกล่าวไม่ถูกต้องเพราะว่าค่าเสื่อมราคานั้น เป็นเพียงค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องมีการจ่ายเงินสดในงวดนั้นๆ ซึ่งไม่ได้เป็นที่มาของเงินสดแต่อย่างใด 3. เงินลงทุนระยะยาวได้แก่ เงินลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้และตราสารทุนของบริษัทอื่น 4. สินทรัพย์อื่นหมายถึง สินทรัพย์ที่ไม่จัดเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนซึ่งอาจจะเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มี ตัวตน เช่น สิทธิบัตรสัมปทานเครื่องหมายการค้าสิทธิการเช่า
  • 7. หนี้สิน - การรับรู้ การวัดค่า และการจาแนกประเภท การรับรู้หนี้สิน ตามหลักการบัญชีได้กาหนดไว้ว่าบริษัทควรรับรู้หนี้สินในงบดุล เมื่อมีความเป็นไปได้ที่ค่อนข้างแน่นอนที่บริษัทจะต้องเสียทรัพย์สิน หรือทรัพยากรเพื่อชาระภาระผูกพันในปัจจุบันโดยภาระผูกพันในปัจจุบันที่ต้องชาระนั้นสามารถวัดค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ บริษัทไม่ต้องรับรู้ภาระผูกพันเป็นหนี้สินในงบดุลหากคู่สัญญายังมิได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่นการสั่งซื้อสินค้าแล้วยังไม่ได้รับ เป็นต้น การวัดค่าหนี้สิน เนื่องจากหนี้สินส่วนใหญ่จะเป็นรายการที่เป็นตัวเงิน ที่ต้องมีการชาระด้วยจานวนเงินที่กาหนดไว้อย่างแน่นอนหนี้สินนั้นยังรวมไปถึงภาระผูกพันต่อสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า พนักงาน และรัฐบาล อย่างไรก็ตาม โดยหลักการทางบัญชีแล้วจะไม่รับรู้หนี้สินจากรายการที่ยังไม่มีการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นในงบดุลเช่น ข้อตกลงกับสหภาพแรงงานสัญญาซื้อที่ยกเลิกไม่ได้ และสัญญาเช่าบางประเภทเพราะว่าบริษัทจะได้รับประโยชน์ จากรายการเหล่านี้ในอนาคตไม่ใช่ในอดีต ซึ่งรายการหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นเหล่านี้จะถูกเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน การจาแนกประเภทหนี้สิน ในงบดุลมีการจาแนกหนี้สินเป็นประเภทต่างๆ ที่ค่อนข้างหลากหลายแต่ส่วนใหญ่จะจาแนกเป็นหนี้สินหมุนเวียนซึ่งรวมหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายภายใน 1 ปี และหนี้สินไม่หมุนเวียนหรือที่เราเรียกกันว่าหนี้สินระยะยาว
  • 8. ส่วนของเจ้าของ - การกาหนดมูลค่า และการเปิดเผยข้อมูล โดยตามหลักการบัญชีได้ให้คาจากัดความส่วนของเจ้าของส่วนของ หรือผู้ถือหุ้นไว้ว่าเป็นสิทธิเรียกร้องที่เหลืออยู่ หมายถึงการที่เจ้าของมีสิทธิในสินทรัพย์ทั้งหมดที่ไม่ต้องใช้ในการชาระหนี้สิน งบดุลจะแยกส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นจานวนที่ได้รับจากเจ้าของ ซึ่งได้แก่ หุ้นบุริมสิทธิ และหุ้นสามัญ และจานวนกาไรสุทธิของบริษัทที่เกิดขึ้นที่เกินกว่าเงินปันผลที่ได้ประกาศจ่าย หรือที่เรียกว่ากาไรสะสม ซึ่งเป็นการสะสมของกาไรหรือขาดทุนสุทธิในแต่ละปีตั้งแต่บริษัทเริ่มดาเนินงานกาไรสะสมนั้นไม่ใช่เงินสด แต่เป็นตัวเลขทางบัญชีซึ่งแสดงมูลค่าสะสมตั้งแต่อดีตของกาไรส่วนที่ไม่ได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นซึ่งถ้าบริษัทเกิดภาวะขาดทุน ผลขาดทุนนั้นก็จะนาไปหักออกจากกาไรสะสมทาให้กาไรสะสมนั้นลดลง หากกาไรสะสมมีค่าติดลบ ฝ่ายบริหารของบริษัทอาจใช้คาว่าขาดทุนสะสมแทนคาว่ากาไรสะสม งบกาไรขาดทุน(Profit andLossStatement orIncomeStatement) งบกาไรขาดทุนเป็นงบที่แสดงผลการดาเนินงานของกิจการภายในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งรายการหลักๆ ในงบกาไรขาดทุนกาไรสุทธิจะเท่ากับรายได้หักด้วยค่าใช้จ่าย โดยรายได้แสดงถึงมูลค่าของสินค้า หรือบริการที่บริษัทขายได้ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายจะแสดงถึงความพยายามที่ใช้ไปเพื่อทาให้เกิดรายได้ 1. หลักการบัญชีเกี่ยวกับรายได้ และค่าใช้จ่าย รายได้ สาหรับคนทั่วไปจะหมายถึงจานวนที่บริษัทได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการ แต่ถ้าความหมายในทางการบัญชีจะมีความหมายที่กว้างกว่านั้นโดยจะหมายถึง การได้รับหรือการเพิ่มค่าของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับจากผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ ค่าใช้จ่าย หมายถึง การจ่าย หรือการลดค่าของสินทรัพย์ หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลงแต่ค่าใช้จ่ายนี้ยังไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กับผู้มีส่วนร่วม ในส่วนของเจ้าของ การรับรู้รายได้ และค่าใช้จ่าย โดยหลักการบัญชีกาหนดให้บริษัทรับรู้รายได้ในงบกาไรขาดทุนเมื่อบริษัทได้รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตเพิ่มขึ้น เช่น มีการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์จากการขายสินค้าหรือบริการ หรือการลดลงของหนี้สินจากการที่เจ้าหนี้ยกหนี้ให้ เป็นต้นเช่น การขายสินค้าหรือบริการโดยทั่วไปแล้ว บริษัทจะรับรู้รายได้เมื่อบริษัทได้มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการนั้นให้ลูกค้าและมีการชาระเงินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
  • 9. การรับรู้ค่าใช้จ่าย จะใช้เกณฑ์ความเกี่ยวพันโดยตรงระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นกับรายได้ที่ได้มาจากรายการเดียวกัน 2. รายการบัญชีที่มักปรากฏในงบกาไรขาดทุน รายได้หรือขาย แสดงถึงรายได้ที่มาจากการดาเนินธุรกิจหลักของบริษัท โดยทั่วไปแล้วก็คือการขายสินค้าและบริการทั้งหมดที่ขายให้กับลูกค้า ซึ่งรายได้ประเภทนี้จะแสดงด้วยมูลค่าหรือราคาขายก่อนหักค่าใช้จ่ายใดๆ รายได้อื่นจะเป็นรายได้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินธุรกิจหลักของบริษัท ซึ่งรายได้ประเภทนี้มักจะแสดงด้วยจานวนที่ได้รับ หรือคาดว่าจะได้รับสุทธิจากต้นทุนที่เกี่ยวข้อง เช่น กาไรจากการขายเงินลงทุน กาไรจากการขายสินทรัพย์ เป็นต้น ค่าใช้จ่าย คือรายการที่หักออกจากรายได้ ตัวอย่างของค่าใช้จ่าย เช่นต้นทุนสินค้าที่ขาย จะแสดงถึงต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาหรือต้นทุนการผลิตสินค้าสาเร็จ หรือต้นทุนค่าบริการ ซึ่งต้นทุนเหล่านี้จะเกี่ยวพันโดยตรงกับรายได้ ค่าเสื่อมราคาในบางครั้งเราจะรวมค่าเสื่อมราคาไว้ในต้นทุนขาย เพราะว่าสินทรัพย์ถาวรโดยเฉพาะโรงงาน และเครื่องจักร ส่วนมากจะใช้สาหรับการผลิตสินค้า ดังนั้นค่าเสื่อมราคาที่เกิดขึ้นจากโรงงาน และเครื่องจักรจึงถือเป็นต้นทุนขายโดยตรงแต่สาหรับผู้ค้าปลีกและผู้ให้บริการจะรวมค่าเสื่อมราคาไว้ในค่าใช้จ่าย ในการขายและบริหารมากกว่าต้นทุนขาย
  • 10. ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร จะครอบคลุมรายการที่ไม่เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเช่นเงินเดือนพนักงานขาย ค่าน้า ค่าไฟ และวัสดุสานักงาน เป็นต้น กาไรขั้นต้น จะเป็นผลต่างระหว่างรายได้จากการขายกับต้นทุนขายของสินค้าหรือบริการ กาไรก่อนภาษีซึ่งจะสะท้อนถึงกาไรของบริษัทหลังจากหักค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน บวกรายได้อื่น และหักรายจ่ายที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินงานของบริษัทแล้ว สาหรับบริษัทที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล กาไรสุทธิคือการที่เรามีรายได้มากกว่าค่าใช้จ่าย แต่ถ้าเกิดว่าค่าใช้จ่ายมีมากกว่ารายได้เราจะเรียกว่า ขาดทุนสุทธิทั้งหมดก็เป็นรายการภายในงบกาไรขาดทุน ความสัมพันธ์ระหว่างงบกาไรขาดทุนและงบดุล งบกาไรขาดทุนจะเป็นตัวที่เชื่อมต่องบดุลณวันสิ้นงวด เนื่องจากกาไรสะสมจะเป็นตัวที่แสดงถึงผลรวมของกาไรในงวดก่อนๆที่สูงกว่าเงินปันผล งบกระแสเงินสด(Statementof CashFlows) งบกระแสเงินสด คืองบที่แสดงการเคลื่อนไหวของเงินสด โดยจะแสดงถึงรายการได้มาและใช้ไปของเงินสดหรือสิ่งที่เทียบเท่าเงินสดในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งจะมาจาก 3 กิจกรรมหลักๆ คือ เงินสดที่ได้มาจากกิจกรรมการดาเนินงาน กิจกรรมการลงทุน และกิจกรรมการจัดหาเงิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน โดยปกติ บริษัทที่มีฐานะทางการเงินมั่นคงจะมีแหล่งที่มาของเงินสดจากการขายสินค้าและบริการ ซึ่งการประเมินกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง จะทาให้ผู้อ่านงบการเงินสามารถทราบได้ว่ากิจกรรมดาเนินงานของบริษัทเป็นแหล่งที่มาของเงินสด ที่จาเป็นต่อการรักษาระดับความสามารถในการดาเนินงานมากน้อยเพียงใด และบริษัทจาเป็นจะต้องพึ่งพาแหล่งที่มาของเงินสดภายนอกมากน้อยเพียงใด กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เป็นการนาเงินสดที่มีไปจัดหาสินทรัพย์มาทดแทนส่วนที่หมดอายุการใช้งาน เช่น การจัดหาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนโดยเฉพาะที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รวมทั้งการจัดหาเงินสดเพิ่มเติมในกรณีที่บริษัทมีความต้องการขยายธุรกิจ
  • 11. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน กิจกรรมนี้ทาให้บริษัทได้รับเงินสดเพิ่มเติมเพื่อที่จะมารองรับกิจกรรมดาเนินงานและกิจกรรมการลงทุน โดยจะได้รับเงินสดมาจากการกู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว และจากการออกจาหน่ายหุ้นสามัญ และหุ้นบุริมสิทธิแต่ในทางตรงกันข้าม บริษัทก็จะต้องใช้เงินสดในการจ่ายชาระหนี้หุ้นกู้ระยะสั้นและระยะยาว จ่ายเงินปันผลและซื้อหุ้นทุนกลับคืนมา ในบางครั้ง บริษัทอาจมีกิจกรรมการลงทุนและการจัดหาเงินทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับเงินสดโดยตรง เช่น บริษัทอาจออกตั๋วเงินจ่าย หรือหุ้นกู้เพื่อซื้ออาคารหรือบริษัทอาจออกหุ้นสามัญเพื่อแลกกับหุ้นกู้ระยะยาว ทั้งนี้บริษัทจะทาการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่ไม่เป็นเงินสดเหล่านี้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ความสัมพันธ์ระหว่างงบกระแสเงินสดกับงบดุลและงบกาไรขาดทุน งบกระแสเงินสดมีความเกี่ยวข้องกับงบดุลและงบกาไรขาดทุนคือ งบกระแสเงินสดนั้นจะอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงในเงินสดระหว่างต้นงวดและปลายงวดบัญชี ซึ่งในขณะเดียวกันก็แสดงถึงกิจกรรมการลงทุนและจัดหาเงินที่สาคัญของบริษัท โดยจะเป็นการอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการต่างๆในงบดุลเปรียบเทียบ และงบกระแสเงินสดนั้นจะมีลักษณะที่คู่ขนานไปกับงบกาไรขาดทุนนั่นคือ งบกระแสเงินสดจะแสดงให้เห็นว่าการดาเนินงานนั้นกระทบต่อเงินสดระหว่างงวดอย่างไรในขณะที่งบกาไรขาดทุน นั้นแสดงให้เห็นว่าการดาเนินงานเดียวกันนั้นกระทบต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของงวดนั้นอย่างไร งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น(StatementofChangesinEquity) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้นแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการต่างๆที่จัดอยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นได้แก่ ทุนจดทะเบียนและ เรียกชาระส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ และกาไรสะสม เป็นต้น โดยในแต่ละรายการในส่วนของผู้ถือหุ้นจะมีการแสดงจานวน ณ วันต้นงวดรายการ เพิ่มขึ้นและลดลงในระหว่างงวดและจานวน ณ วันสิ้นงวด ผู้เรียนสามารถกดปุ่มข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อดูตัวอย่างงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้นได้ งบกาไรสะสม(RetainedEarningStatement) งบกาไรสะสมแสดงถึงจานวนและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในกาไรสะสมระหว่างงวดโดยเริ่มจากกาไรสะสมณ วันต้นงวดบวกด้วยกาไรสุทธิหรืออาจหักด้วยขาดทุนสุทธิในกรณีที่ปีนั้นกิจการเกิดขาดทุน แล้วจึงหักด้วยเงินปันผลเพื่อคานวณจานวนกาไรสะสมณ วันสิ้นงวด
  • 12. ซึ่งการวิเคราะห์งบกาไรสะสมจะทาให้ทราบถึงนโยบายในการจ่ายเงินปันผลของบริษัท แต่ในบางบริษัทอาจจะแสดงงบกาไรสะสมไว้เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินด้วยก็ได้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน(NotestoFinancialStatement) หมายเหตุประกอบงบการเงินแสดงถึงข้อมูลเพิ่มเติมต่างๆ ที่ไม่ได้รวมไว้ในงบการเงินหลักทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ งบดุล งบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด ซึ่งได้มีการกาหนดให้บริษัทต้องให้รายละเอียดสาหรับรายการที่แสดงไว้ในงบการเงินทั้งสามไว้ในหมายเหตุประกอบงบการ เงิน ตัวอย่างข้อมูลที่มีปรากฏอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินได้แก่ นโยบายบัญชีที่บริษัทเลือกใช้รายละเอียดของรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ เป็นต้น การที่ผู้ลงทุนจะใช้ข้อมูลในงบดุล งบกาไรขาดทุนและงบกระแสเงินสด และเข้าใจเป็นอย่างดีนั้น ผู้ลงทุนจาเป็นต้องเข้าใจหมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นอย่างดีด้วย รายงานผู้สอบบัญชี(Auditor'sReport) งบการเงินที่สามารถเชื่อถือได้จะต้องมีรายงานของผู้สอบบัญชี ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้งบการเงินเกิดความมั่นใจในความถูกต้องของข้อมูลที่แสดงไว้ในงบการเงินรูปแบบของรายงานผู้สอบบัญชี รายงานของผู้สอบบัญชีมี4 แบบ ดังนี้ รายงานของผู้สอบบัญชีแบบไม่มีเงื่อนไข หมายความว่า ผู้สอบบัญชีไม่พบสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในการจัดทารายงานงบการเงินโดยผู้บริหารบริษัท
  • 13. รายงานของผู้สอบบัญชีแบบมีเงื่อนไขหมายความว่า ผู้สอบบัญชีพบว่ามีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการรับรู้รายการที่เกิดขึ้นหรือการกาหนดมูลค่าของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ในกรณีที่เงื่อนไขที่เกิดขึ้นมีสาระสาคัญมากจนผู้สอบบัญชี ไม่สามารถให้ความเห็นต่อความถูกต้องตามที่ควรของงบการเงินทั้งหมด รายงานความเห็นของผู้สอบบัญชีอาจเป็นแบบ "ไม่แสดงความเห็น" ต่องบการเงิน หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินที่ตนตรวจสอบนั้น"ไม่ถูกต้อง" สาหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องส่งงบการเงินแบบไม่มีเงื่อนไข เพื่อให้สามารถดารงสภาพความเป็นบริษัทจดทะเบียนต่อไป แต่ถ้าเป็นแบบมีเงื่อนไขก็จะต้องเป็นแบบเงื่อนไขที่ไม่มีสาระสาคัญต่อความน่าเชื่อถือของ งบการเงินให้แก่ผู้ถือหุ้น นอกเหนือจากการดูตัวเลขตามงบการเงินที่บริษัทนาเสนอ ผู้ลงทุนควรทาการศึกษาข้อมูลอื่นๆ ของบริษัทเพิ่มเติม ยิ่งถ้าผู้ลงทุนมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมที่บริษัทนั้นทาอยู่มากเท่าใด ผู้ลงทุนก็จะวิเคราะห์ข้อมูลงบการเงินได้ดีขึ้นมากเท่านั้น อัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญ(Key to FinancialRatio) อัตราส่วนทางการเงิน จะใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน ซึ่งจะเป็นการวิเคราะห์ถึงแง่มุมใดมุมหนึ่งของบริษัท อัตราส่วนทางการเงินนี้ แบ่งออกเป็น 3 เรื่อง คือ 1.ความสามารถในการทากาไร (Profitability Analysis) อัตราส่วนทางการเงินที่นิยมใช้เพื่อวัดความสามารถในการทากาไรอยู่ 3 ประเภท ดังนี้
  • 14. 1.1. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ReturnonAssetsหรือ ROA โดยจะมีสูตรที่ใช้ในการคานวณหาดังนี้ ROA จะเท่ากับ กาไรสุทธิบวกด้วยดอกเบี้ยจ่ายคูณด้วยหนึ่งลบด้วยอัตราภาษีคูณด้วยหนึ่งร้อยหารด้วยสินทรัพย์รวมถัวเฉลี่ย ซึ่งค่าที่คิดออกมาได้จะเป็นเปอร์เซ็นต์ กาไรที่ใช้ในการคานวณ ROA ควรเป็นกาไรก่อนหักการชาระ หรือจ่ายคืนผลตอบแทนให้แก่ผู้ที่เป็นแหล่งที่มาของเงินทุนเนื่องจากบริษัทหักดอกเบี้ยจ่ายออกก่อนคานวณกาไรสุทธิ ผู้วิเคราะห์จึงจาเป็นต้องบวกดอกเบี้ยจ่ายกลับเข้ามาเพื่อให้ได้จานวนกาไรก่อนการหักต้นทุนของการจัดหาเงินทุน การที่บริษัทสามารถนาดอกเบี้ยไปหักเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อคานวณกาไรสาหรับเสียภาษีดอกเบี้ยจ่าย จึงไม่ได้ลดกาไรสุทธิลง เท่ากับดอกเบี้ยจ่ายเต็มทั้งจานวนแต่ลดลงด้วยจานวนที่สุทธิจากอัตราภาษี ดังนั้นในการบวกดอกเบี้ยกลับจึงบวกเพียงจานวนหลังจากหักภาษีแล้ว สาหรับตัวหารการที่ตัวตั้งเป็นกาไรของทั้งงวด การวัดจานวนสินทรัพย์ที่ใช้จึงควรเป็นค่าเฉลี่ยของสินทรัพย์ที่ใช้ในระหว่างงวด ซึ่งปกติได้จากการถัวเฉลี่ยจานวนต้นงวดและปลายงวด องค์ประกอบของ ROA ในการวิเคราะห์ ROAเราสามารถทาการแยกองค์ประกอบของ ROAได้ดังนี้คือ ROAเท่ากับ อัตรากาไรสุทธิที่ก่อนจ่ายดอกเบี้ยและภาษีคูณด้วยอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ อัตรากาไรสุทธิบริษัทสามารถปรับปรุงอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ได้ โดยการเพิ่มอัตรากาไรสุทธิ หรืออัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์หรือเพิ่มอัตราส่วนทั้งสองประเภทซึ่งบริษัทบางประเภท อาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับความยืดหยุ่นที่จะปรับเปลี่ยนอัตราส่วนเหล่านี้ เช่นข้อจากัดของสภาพของการแข่งขัน หรือลักษณะธุรกิจ เป็นต้น การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิ ถ้าเกิดว่าอัตรากาไรสุทธิและอัตราหมุนเวียนของ สินทรัพย์เกิดการเปลี่ยนแปลงเราจะทราบได้โดยทาการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิและอัตราหมุนเวียนของ สินทรัพย์รวม การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในอัตรากาไรสุทธิ อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Accounts receivable turnover) แสดงถึงความรวดเร็วในการที่บริษัทสามารถเก็บเงิน
  • 15. ได้จากลูกหนี้ โดยคานวณได้จาก ขายสุทธิหารด้วยลูกหนี้ถัวเฉลี่ย นอกจากนี้เรายังสามารถคานวณหาระยะเวลาถัวเฉลี่ยของลูกหนี้ ที่จะคงอยู่ในบริษัทก่อนที่บริษัทจะเก็บเงินได้ โดยระยะเวลาในการเก็บหนี้ จะเท่ากับ 365 วัน หารด้วย อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ ผู้วิเคราะห์ควรเปรียบเทียบระยะเวลาในการเก็บหนี้ของบริษัทกับงวดก่อนๆ หรือเทียบกับบริษัทอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันและหาสาเหตุที่ทาให้ระยะเวลาในการเก็บหนี้แตกต่างกัน ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากประสิทธิภาพในการจัดเก็บหนี้ หรือจากนโยบายการให้เครดิตของบริษัทก็ได้ อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventoryturnover) จะแสดงถึงจานวนครั้งที่บริษัทสามารถขายสินค้าคงเหลือ ออกไปได้ซึ่งจะคานวณได้จาก ต้นทุนขายหารด้วยสินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย ในการตีความหมายของอัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยสองประการคือ 1. การที่บริษัทต้องการขายสินค้าให้ได้มากที่สุด ในขณะที่มีเงินทุนที่ต้องลงทุนในสินค้าคงเหลือต่าที่สุด 2. การเพิ่มขึ้นของอัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือระหว่างงวด ซึ่งอาจหมายถึง บริษัทสามารถทากาไรได้มากขึ้นจากการลงทุนในสินค้าคงเหลือ อัตราส่วนของสินทรัพย์ระยะยาว (Fixed assetsturnover) จะเป็นการวัดความสัมพันธ์ระหว่างยอดขายกับการลงทุน ในสินทรัพย์ระยะยาวประเภท ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งคานวณได้จาก อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาว เท่ากับ ขายสุทธิหารด้วยสินทรัพย์ระยะยาวถัวเฉลี่ย โดยผู้วิเคราะห์จะต้องตีความหมายการเปลี่ยนแปลงในอัตราส่วนนี้ด้วยความระมัดระวัง บริษัทมักมีการลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาวเป็นเวลาหลายงวดบัญชีก่อนที่จะเริ่มมียอดขายจากสินทรัพย์ที่ผลิตด้วยสินทรัพย์ เหล่านี้ ดังนั้น อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาวที่ต่าหรือลดลงอาจเกิดจากการที่บริษัททาการขยายตัวเพื่อรองรับการเจริญเติบโ ตในอนาคต หรือในทางตรงข้ามถ้าสินค้ามียอดขายที่ลดลง บริษัทอาจลดการลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาว ซึ่งอาจทาให้อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ระยะยาวสูงขึ้น 1.2. อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นสามัญ(ReturnonEquityหรือROE)
  • 16. อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ จะแสดงถึงผลตอบแทนที่ผู้ถือหุ้นสามัญได้รับหลังจากหักผลตอบแทนที่ต้องจ่ายให้กับเจ้าหนี้ อัตราส่วนวัดความสามารถในการทากาไรนี้ จึงรวมถึงผลของการตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินงานการลงทุน และการจัดหาเงิน อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นจัดเป็นอัตราส่วนการเงินที่ผู้ลงทุนในหุ้นสามัญให้ความสาคัญมากที่สุด ซึ่ง ROE จะเท่ากับ กาไรสุทธิลบด้วยเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย จากนั้นคูณด้วยหนึ่งร้อย ในการคานวณกาไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้วิเคราะห์ต้องหักจานวนผลตอบแทนที่ต้องจัดสรรให้แก่ผู้ที่เป็นแหล่งเงินทุนอื่นเช่นผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ เนื่องจากในการคานวณกาไรสุทธิได้มีการหักดอกเบี้ยจ่ายไปแล้ว ผู้วิเคราะห์จึงไม่จาเป็นต้องมีการปรับปรุงรายการดอกเบี้ยจ่ายแต่อย่างใด สาหรับเงินทุนที่ได้มาจากผู้ถือหุ้นสามัญประกอบด้วย หุ้นสามัญราคาตามมูลค่าส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ และกาไรสะสมสาหรับงวดนั้น การเปรียบเทียบกาไรต่อหุ้นระหว่างบริษัททาได้อย่างจากัด เนื่องจากถ้าบริษัทสองแห่งมีกาไรสุทธิส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่เท่ากัน บริษัทหนึ่งอาจมีกาไรต่อหุ้นที่ต่ากว่าเนื่องจากมีจานวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือผู้ถือหุ้นที่มากกว่า หรืออาจเกิดจากการที่มีราคาตามมูลค่าหุ้นที่ต่ากว่าผู้วิเคราะห์จึงต้องใช้ความระมัดระวังในการนาตัวเลขกาไรต่อหุ้นไปใช้
  • 17. 2.การวิเคราะห์ความเสี่ยง(Risk Analysis) การวิเคราะห์ความเสี่ยง มักจะใช้ข้อมูลจากงบการเงินโดยจะเป็นการดูถึง ความสามารถในการชาระหนี้ระยะสั้น (Short-termliquidityrisk) และความสามารถในการชาระหนี้ระยะยาว (Long-term liquidityrisk) 2.1. อัตราส่วนแสดงสภาพคล่องระยะสั้น(Short-termliquidity) อัตราส่วนนี้จะแสดงถึงแหล่งเงินทุน สภาพคล่องที่จะทาให้บริษัทมีความยืดหยุ่นทางการเงิน โดยจะประกอบด้วยอัตราส่วนทางการเงินที่สาคัญดังนี้ อัตราทุนหมุนเวียน (Current ratio) แสดงถึงความสามารถของบริษัทที่จะชาระหนี้ระยะสั้นด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีอยู่ซึ่งจะคานวณได้จาก สินทรัพย์หมุนเวียนหารด้วยหนี้สินหมุนเวียน อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quickratio) คือรูปแบบหนึ่งของอัตราทุนหมุนเวียน แต่ตัวเศษจะรวมเฉพาะสินทรัพย์หมุนเวียนที่บริษัทสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้โดยรวดเร็ว เช่น เงินสด หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด และลูกหนี้ แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทบางแห่งอาจสามารถเปลี่ยนสินค้าคงเหลือเป็นเงินสดได้เร็วกว่า หรือบริษัทบางแห่งเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ ดังนั้นผู้วิเคราะห์ต้องพิจารณาว่าควรจะมีการรวมลูกหนี้หรือไม่ ในการคานวณอัตราส่วนนี้ ซึ่งอัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว จะเท่ากับเงินสดบวกเงินลงทุนระยะสั้นบวกลูกหนี้ และหารด้วยหนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินหมุนเวียน (Cash Flow from Operationsto Current Liabilities) คานวณได้จาก อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินหมุนเวียน จะเท่ากับ กระแสเงินสดจากการดาเนินงานหารด้วยหนี้สินหมุนเวียนถัวเฉลี่ย แล้วคูณด้วยหนึ่งร้อย
  • 18. 2.2. อัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ระยะยาว(Long-termliquidityrisk) อัตราส่วนนี้จะเป็นอัตราส่วนที่ว่ากันในเรื่องของอัตราหนี้สินหรือ DebtRatio ซึ่งจะมีดังนี้อัตราส่วนหนี้สินระยะยาว (long-term debt ratio) แสดงถึงสัดส่วนของเงินทุนระยะยาวของบริษัทที่ได้มาจากการกู้ยืม ซึ่งสามารถคานวณหาได้จากหนี้สิ้นระยะยาวหารด้วยหนี้สินระยะยาวบวกด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นและคูณด้วยหนึ่งร้อย อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(debtto equityratio) ซึ่งจะแสดงถึงสัดส่วนของความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับส่วน ของผู้ถือหุ้นของบริษัทที่สามารถรับได้ เมื่อเทียบกับหนี้สินที่มีอยู่ของบริษัท อัตราส่วนกระแสเงินสดจากการดาเนินงานต่อหนี้สินรวม (Cash Flow from Operationsto Total Liabilities Ratios) อัตราส่วนนี้จะใช้ในการประเมินสภาพคล่องของบริษัท โดยสามารถคานวณได้จากกระแสเงินสดจากการดาเนินงานหารด้วยหนี้สินรวม แล้วคูณด้วยหนึ่งร้อย อัตราส่วนจานวนเท่าของกาไรต่อดอกเบี้ย (timesinterestearned) คานวณได้จากกาไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี หารด้วยดอกเบี้ยจ่าย อัตราส่วนนี้แสดงถึงโอกาสที่เจ้าหนี้จะได้รับการชาระดอกเบี้ยจากกาไรจากการดาเนินงาน ถึงแม้ว่าอัตราส่วนทางการเงินจะมีประโยชน์ต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับบริษัท แต่ผู้วิเคราะห์งบการเงินต้องตระหนักถึงข้อจากัดต่างๆ ที่เกิดจากการคานวณอัตราส่วนการเงินที่ได้กล่าวไปแล้ว ผู้วิเคราะห์ต้องประมวลผลของอัตราส่วนการเงินที่คานวณได้จากงบการเงินกับการตรวจสอบข้อเท็จจริงอื่นๆ ประกอบก่อนที่จะทาการสรุปผลที่ได้
  • 19. 3.ข้อมูลต่อหุ้น 3.1. มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น(BookValue Per Share) เป็นตัวที่ใช้วัด เพื่อดูว่าตลาดมีมุมมองต่อบริษัทอย่างไร ซึ่งมูลค่าตามบัญชีก็จะแสดงจานวนเงินทุนแท้จริงที่ได้ลงทุนโดยผู้ถือหุ้น ด้วยการซื้อหุ้นของบริษัทแล้วเก็บกาไรที่ได้นั้นให้อยู่ในรูปของกาไรสะสมสาหรับการคานวณนั้นจะเริ่มจาก การนาส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญมาหารด้วย จานวนหุ้นที่ออกและเรียกชาระแล้ว 3.2. อัตราผลตอบแทนเงินปันผลต่อหุ้น(DividendPayoutPerShare) จะเป็นการวัดอัตราส่วนร้อยละของกาไรของบริษัทที่ได้จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสาหรับการคานวณ ก็ให้นาเงินปันผลต่อหุ้น มาคูณกับ 100 แล้วหารด้วย ราคาตลาด หรือราคาปิดของหุ้นสามัญ 3.3. กาไรต่อหุ้น(EarningPer Share- EPS) ช่วยให้ผู้ลงทุนและผู้ถือหุ้นปัจจุบันสามารถติดตามผลการดาเนินงานได้ทันเหตุการณ์มากขึ้น ซึ่งการคานวณกาไรสุทธิต่อหุ้นมักจะคานวณโดยใช้กาไรก่อนรายการพิเศษ หักด้วยเงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ และหารด้วยจานวนหุ้นที่ออกและเรียกชาระแล้ว 3.4. ราคาต่อกาไรต่อหุ้น(P/ERatio) เป็นอัตราส่วนที่บอกให้รู้ว่าผู้ลงทุนเต็มใจที่จะจ่ายราคาเท่าใดสาหรับกาไรและเงินปันผลที่จะได้รับในอนาคต และในการคานวณหาค่าราคาต่อกาไรต่อหุ้นนั้นก็ไม่ยากครับ โดยเราจะใช้ ราคาตลาดปัจจุบันต่อหุ้น หารด้วยกาไรต่อหุ้นนั่นเอง 3.5. ราคาต่อมูลค่าหุ้นตามบัญชี(Price toBookValue) เป็นหนึ่งในอัตราส่วนที่มักจะใช้ในการประเมินมูลค่าหุ้น โดยการคานวณ ให้นาเอาราคาตลาดปัจจุบันต่อหุ้นมาหารด้วยมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น