SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การเสริมสร้างกล้ามเนื้อ
Your site here
LOGO กล้ามเนื้อ
เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีความ
สามารถพิเศษในการเพิ่มขนาดและปริมาณ
ได้อย่างน่ามหัศจรรย์
มีความสามารถในการปรับตัวไปตาม
ระดับปริมาณที่เหมาะสมขึ้นกับการใช้งานได้
โดยไม่จำากัดเพศหรือวัย การออกกำาลังกาย
ด้วยการยกนำ้าหนักหรือใช้แรงต้าน
(strengthening orresistant exercise) อย่าง
ถูกวิธีตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬาจะทำาให้
กล้ามเนื้อสามารถเพิ่มขนาด (muscle
hypertrophy) เพิ่มความทนทาน (muscle
endurance) เพิ่มความแข็งแรง (muscle
Your site here
LOGO
หลักการฝึกเสริมสร้างกล้าม
เนื้อ
การเสริมสร้างกล้ามเนื้อทำาได้
โดยอาศัยหลักการฝึกเพื่อการ
เสริมสร้างและการเพิ่มสมรรถภาพ
ทางกาย (body conditioning and
performance) ซึ่งประกอบด้วยหลัก
การ ดังนี้
1.หลักการให้นำ้าหนักหรือแรง
ที่มากกว่าปกติ (Overload)
2. หลักความแตกต่างระหว่าง
Your site here
LOGO
หลักการให้นำ้าหนักหรือแรงที่มากก
ว่าปกติ (Overload)
นำ้าหนักหรือแรงที่มากกว่า
ปกติเป็นสิ่งเร้าที่ช่วยกระตุ้น
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและ
ปรับตัวทางสรีรวิทยาใน
กล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้อจะ
มีขนาดเพิ่มขึ้น มีแรงยก
สิ่งของที่มีนำ้าหนักมากได้
Your site here
LOGO
หลักความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
แต่ละคนย่อมแตกต่างกัน
ทั้งด้านพันธุกรรมและสิ่ง
แวดล้อม ทำาให้ผลของการ
ฝึกในลักษณะเดียวกัน อาจ
ได้ผลไม่เท่ากันหรือตอบ
สนองต่อการฝึกแตกต่างกัน
ไป
Your site here
LOGO
หลักการเพิ่มอย่างต่อเนื่อง
(Progression)
แม้ว่าการให้นำ้าหนักหรือแรงที่มากก
ว่าปกติจะทำาให้กล้ามเนื้อเกิดการ
เปลี่ยนแปลง ดังกล่าวแล้ว แต่การให้
นำ้าหนักหรือแรงที่มากกว่าปกตินี้ ต้อง
ทำาอย่างเหมาะสมและค่อยเป็นค่อยไป
โดยคำานึงถึงเรื่องกรอบเวลาการฝึก
ด้วย
รวมถึงการให้เวลากล้ามเนื้อได้ฟื้น
ตัวหลังจากฝึกอย่างหนักและต่อเนื่อง
เราควรคำานึงไว้เสมอว่า ร่างกาย
ต้องการเวลาพักผ่อนหลังจาก
Your site here
LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ
ก่อนเริ่มการฝึกกล้ามเนื้อ ควรมี
การประเมินความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อในแต่ละมัด ด้วยหาค่านำ้า
หนักที่กล้ามเนื้อนั้นจะยกได้มาก
ที่สุดในครั้งเดียว (repetition
maximum)
ด้วยการลองยกนำ้าหนักที่คาดว่า
จะยกได้ประมาณ 4-10 ครั้ง แล้ว
ยกต่อไม่ไหวใช้จำานวนครั้งยกได้
Your site here
LOGO ตัวอย่าง
เลือกนำ้าหนักที่ยก 5 กิโลกรัม
ยกนำ้าหนักได้ 6 ครั้งเท่านั้น
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดนั้น
ที่จะยกนำ้าหนักได้สูงสุด (1RM)
คือ 5 x 1.20 = 6 กิโลกรัม
ตารางช่วยคำานวณ
1RM
ครั้งที่ยก
ได้
Repetition
Factor
1 1.00
2 1.07
3 1.10
4 1.13
5 1.16
6 1.20
7 1.23
8 1.27
9 1.32
10 1.36
11 1.40
Your site here
LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ)
เมื่อหาค่านำ้าหนักสูงสุดของกล้าม
เนื้อแต่ละมัดที่จะฝึกและจดบันทึกไว้
ให้เลือกผลลัพธ์ของการฝึกกล้ามเนื้อ
ชนิดที่ต้องการ เปลี่ยนแปลงการฝึก
ตามระดับความหนักของนำ้าหนักสูงสุด
(%RM) จำานวนครั้งที่ยก (repetition)
และจำานวนชุดของการยก (set) ระยะ
พักระหว่างชุด (rest time) ดังในตาราง
เปรียบเทียบวิธีการฝึกกล้ามเนื้อที่แสดง
ไว้ เมื่อได้ทำาการฝึกไปประมาณ 4-6
สัปดาห์ ควรจะทำาการหาค่านำ้าหนัก
Your site here
LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ)
ตารางเปรียบเทียบเทคนิควิธีการฝึกกล้ามเนื้อ
ชนิดต่างๆ
ระดับความ
หนัก
ผลลัพธ์
%
1RM
ครั้งที่
ยก
เซ
ท
ระยะพัก
หนัก Power 80 1-3 3-6 2-4 นาที
หนัก Strength 80-90 3-8 3-6 2-4 นาที
ปานกลาง Hypertrophy 70-80 8-12 3-6 30-90 วินาที
เบา
Muscular
endurance
60-70
12-
15+
2-3
น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ 30 วินาที
Your site here
LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ)
สำาหรับคนที่กำาลังจะเริ่มการฝึก
ความแข็งแรงของกล้ามโดยไม่เคย
ทำามาก่อน ควรเริ่มจากการฝึก
ระดับเบา เพื่อเพิ่มความทนทาน
ของกล้ามเนื้อก่อน แล้วจึงค่อยปรับ
เปลี่ยนนำ้าหนักและจำานวนครั้งให้
ได้ผลลัพธ์ต่างๆ ตามที่ต้องการใน
แต่ละสัปดาห์ ไม่ควรเพิ่มนำ้าหนัก
อย่างรวดเร็วเกินไป เพราะอาจ
ทำาให้เกิดการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อ
Your site here
LOGO
อาหารและโภชนาการเพื่อการ
เสริมสร้างกล้ามเนื้อ
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
ซึ่งพบได้ในอาหารจำาพวกแป้ง ข้าว
นำ้าตาล จะเป็นแหล่งพลังงานสำาคัญ
อันดับต้นในการฝึกเสริมสร้างกล้าม
เนื้อ ยิ่งเราฝึกหนักและนานเท่าไหร่
ร่างกายยิ่งต้องการคาร์โบไฮเดรต
สะสมในรูปสารไกลโคเจน (Glycogen)
เพื่อให้พลังงานแก่กล้ามเนื้อมาก
เท่านั้น ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ
แนะนำาว่า ร่างกายควรได้รับสาร
อาหารคาร์โบไฮเดรตอย่างน้อยวันละ
Your site here
LOGO
อาหารและโภชนาการเพื่อการ
เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ)
สำาหรับสารอาหารโปรตีนก็มีความ
จำาเป็นต่อการเสริมสร้างและซ่อมแซม
กล้ามเนื้อที่สึกหรอ โปรตีนที่ร่างกาย
ควรได้รับ ควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง
ซึ่งส่วนใหญ่ได้จากสัตว์ เช่น ไข่และ
นำ้านม การได้รับโปรตีนในปริมาณที่สูง
มากพอจะทำาให้กล้ามเนื้อที่ได้รับการ
ฝึกมีประสิทธิภาพสูงสุดในการเสริม
สร้างและเพิ่มขนาดได้อย่างเต็มที่
อย่างไรก็ตาม ควรรับประทานตาม
ปริมาณที่แนะนำา ไม่ควรบริโภคเกิน
Your site here
LOGO
อาหารและโภชนาการเพื่อการ
เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ)
สารอาหารที่จำาเป็นอีก
ประเภท คือ ไขมัน ซึ่งเป็น
สารอาหารที่ให้พลังงานสูง
แต่ร่างกายต้องการปริมาณ
ไม่มาก ไขมันที่ร่างกายควร
ได้รับ คือ ไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่ง
ได้จากพืข เช่น นำ้ามันพืช
ชนิดต่างๆ เป็นต้น
Your site here
LOGO
อาหารและโภชนาการเพื่อการ
เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ)
สารอาหารอื่น ๆ ที่ไม่ให้
พลังงานแต่มีความสำาคัญต่อการ
ทำางานหรือการขับเคลื่อนกลไล
การทำางานของอวัยวะต่างๆ ได้แก่
วิตามิน เกลือแร่ และนำ้า สาร
อาหารจำาพวกวิตามินและเกลือแร่
พบได้ตามอาหารประเภทต่างๆ
รวมถึงผักและผลไม้ สำาหรับนำ้า
ควรดื่มเป็นปกติวันละอย่างน้อย 8-
10 แก้ว แต่เมื่อฝึกเสริมสร้างกล้าม
Your site here
LOGO
Your site here
LOGO
Your site here
LOGO

More Related Content

What's hot

KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"Junee Sara
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพpenpun
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finaleKTPH2348
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพThiti Wongpong
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนSumon Kananit
 
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายPichetpongSuwanlert
 
ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12Gu 'Boss
 
Love health love exercise
Love health love exerciseLove health love exercise
Love health love exercisesshfcnoke
 

What's hot (8)

KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finale
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
 
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายการออกกำลังกาย
การออกกำลังกาย
 
ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12
 
Love health love exercise
Love health love exerciseLove health love exercise
Love health love exercise
 

02.09 การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายโดยการยกน้ำหนัก และ body weight

  • 2. Your site here LOGO กล้ามเนื้อ เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีความ สามารถพิเศษในการเพิ่มขนาดและปริมาณ ได้อย่างน่ามหัศจรรย์ มีความสามารถในการปรับตัวไปตาม ระดับปริมาณที่เหมาะสมขึ้นกับการใช้งานได้ โดยไม่จำากัดเพศหรือวัย การออกกำาลังกาย ด้วยการยกนำ้าหนักหรือใช้แรงต้าน (strengthening orresistant exercise) อย่าง ถูกวิธีตามหลักวิทยาศาสตร์การกีฬาจะทำาให้ กล้ามเนื้อสามารถเพิ่มขนาด (muscle hypertrophy) เพิ่มความทนทาน (muscle endurance) เพิ่มความแข็งแรง (muscle
  • 3. Your site here LOGO หลักการฝึกเสริมสร้างกล้าม เนื้อ การเสริมสร้างกล้ามเนื้อทำาได้ โดยอาศัยหลักการฝึกเพื่อการ เสริมสร้างและการเพิ่มสมรรถภาพ ทางกาย (body conditioning and performance) ซึ่งประกอบด้วยหลัก การ ดังนี้ 1.หลักการให้นำ้าหนักหรือแรง ที่มากกว่าปกติ (Overload) 2. หลักความแตกต่างระหว่าง
  • 4. Your site here LOGO หลักการให้นำ้าหนักหรือแรงที่มากก ว่าปกติ (Overload) นำ้าหนักหรือแรงที่มากกว่า ปกติเป็นสิ่งเร้าที่ช่วยกระตุ้น ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและ ปรับตัวทางสรีรวิทยาใน กล้ามเนื้อ เช่น กล้ามเนื้อจะ มีขนาดเพิ่มขึ้น มีแรงยก สิ่งของที่มีนำ้าหนักมากได้
  • 5. Your site here LOGO หลักความแตกต่างระหว่าง บุคคล แต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ทั้งด้านพันธุกรรมและสิ่ง แวดล้อม ทำาให้ผลของการ ฝึกในลักษณะเดียวกัน อาจ ได้ผลไม่เท่ากันหรือตอบ สนองต่อการฝึกแตกต่างกัน ไป
  • 6. Your site here LOGO หลักการเพิ่มอย่างต่อเนื่อง (Progression) แม้ว่าการให้นำ้าหนักหรือแรงที่มากก ว่าปกติจะทำาให้กล้ามเนื้อเกิดการ เปลี่ยนแปลง ดังกล่าวแล้ว แต่การให้ นำ้าหนักหรือแรงที่มากกว่าปกตินี้ ต้อง ทำาอย่างเหมาะสมและค่อยเป็นค่อยไป โดยคำานึงถึงเรื่องกรอบเวลาการฝึก ด้วย รวมถึงการให้เวลากล้ามเนื้อได้ฟื้น ตัวหลังจากฝึกอย่างหนักและต่อเนื่อง เราควรคำานึงไว้เสมอว่า ร่างกาย ต้องการเวลาพักผ่อนหลังจาก
  • 7. Your site here LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ ก่อนเริ่มการฝึกกล้ามเนื้อ ควรมี การประเมินความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อในแต่ละมัด ด้วยหาค่านำ้า หนักที่กล้ามเนื้อนั้นจะยกได้มาก ที่สุดในครั้งเดียว (repetition maximum) ด้วยการลองยกนำ้าหนักที่คาดว่า จะยกได้ประมาณ 4-10 ครั้ง แล้ว ยกต่อไม่ไหวใช้จำานวนครั้งยกได้
  • 8. Your site here LOGO ตัวอย่าง เลือกนำ้าหนักที่ยก 5 กิโลกรัม ยกนำ้าหนักได้ 6 ครั้งเท่านั้น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมัดนั้น ที่จะยกนำ้าหนักได้สูงสุด (1RM) คือ 5 x 1.20 = 6 กิโลกรัม ตารางช่วยคำานวณ 1RM ครั้งที่ยก ได้ Repetition Factor 1 1.00 2 1.07 3 1.10 4 1.13 5 1.16 6 1.20 7 1.23 8 1.27 9 1.32 10 1.36 11 1.40
  • 9. Your site here LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ) เมื่อหาค่านำ้าหนักสูงสุดของกล้าม เนื้อแต่ละมัดที่จะฝึกและจดบันทึกไว้ ให้เลือกผลลัพธ์ของการฝึกกล้ามเนื้อ ชนิดที่ต้องการ เปลี่ยนแปลงการฝึก ตามระดับความหนักของนำ้าหนักสูงสุด (%RM) จำานวนครั้งที่ยก (repetition) และจำานวนชุดของการยก (set) ระยะ พักระหว่างชุด (rest time) ดังในตาราง เปรียบเทียบวิธีการฝึกกล้ามเนื้อที่แสดง ไว้ เมื่อได้ทำาการฝึกไปประมาณ 4-6 สัปดาห์ ควรจะทำาการหาค่านำ้าหนัก
  • 10. Your site here LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ) ตารางเปรียบเทียบเทคนิควิธีการฝึกกล้ามเนื้อ ชนิดต่างๆ ระดับความ หนัก ผลลัพธ์ % 1RM ครั้งที่ ยก เซ ท ระยะพัก หนัก Power 80 1-3 3-6 2-4 นาที หนัก Strength 80-90 3-8 3-6 2-4 นาที ปานกลาง Hypertrophy 70-80 8-12 3-6 30-90 วินาที เบา Muscular endurance 60-70 12- 15+ 2-3 น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 30 วินาที
  • 11. Your site here LOGO เทคนิคการฝึกกล้ามเนื้อ (ต่อ) สำาหรับคนที่กำาลังจะเริ่มการฝึก ความแข็งแรงของกล้ามโดยไม่เคย ทำามาก่อน ควรเริ่มจากการฝึก ระดับเบา เพื่อเพิ่มความทนทาน ของกล้ามเนื้อก่อน แล้วจึงค่อยปรับ เปลี่ยนนำ้าหนักและจำานวนครั้งให้ ได้ผลลัพธ์ต่างๆ ตามที่ต้องการใน แต่ละสัปดาห์ ไม่ควรเพิ่มนำ้าหนัก อย่างรวดเร็วเกินไป เพราะอาจ ทำาให้เกิดการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อ
  • 12. Your site here LOGO อาหารและโภชนาการเพื่อการ เสริมสร้างกล้ามเนื้อ สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ซึ่งพบได้ในอาหารจำาพวกแป้ง ข้าว นำ้าตาล จะเป็นแหล่งพลังงานสำาคัญ อันดับต้นในการฝึกเสริมสร้างกล้าม เนื้อ ยิ่งเราฝึกหนักและนานเท่าไหร่ ร่างกายยิ่งต้องการคาร์โบไฮเดรต สะสมในรูปสารไกลโคเจน (Glycogen) เพื่อให้พลังงานแก่กล้ามเนื้อมาก เท่านั้น ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ แนะนำาว่า ร่างกายควรได้รับสาร อาหารคาร์โบไฮเดรตอย่างน้อยวันละ
  • 13. Your site here LOGO อาหารและโภชนาการเพื่อการ เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ) สำาหรับสารอาหารโปรตีนก็มีความ จำาเป็นต่อการเสริมสร้างและซ่อมแซม กล้ามเนื้อที่สึกหรอ โปรตีนที่ร่างกาย ควรได้รับ ควรเป็นโปรตีนคุณภาพสูง ซึ่งส่วนใหญ่ได้จากสัตว์ เช่น ไข่และ นำ้านม การได้รับโปรตีนในปริมาณที่สูง มากพอจะทำาให้กล้ามเนื้อที่ได้รับการ ฝึกมีประสิทธิภาพสูงสุดในการเสริม สร้างและเพิ่มขนาดได้อย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม ควรรับประทานตาม ปริมาณที่แนะนำา ไม่ควรบริโภคเกิน
  • 14. Your site here LOGO อาหารและโภชนาการเพื่อการ เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ) สารอาหารที่จำาเป็นอีก ประเภท คือ ไขมัน ซึ่งเป็น สารอาหารที่ให้พลังงานสูง แต่ร่างกายต้องการปริมาณ ไม่มาก ไขมันที่ร่างกายควร ได้รับ คือ ไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่ง ได้จากพืข เช่น นำ้ามันพืช ชนิดต่างๆ เป็นต้น
  • 15. Your site here LOGO อาหารและโภชนาการเพื่อการ เสริมสร้างกล้ามเนื้อ (ต่อ) สารอาหารอื่น ๆ ที่ไม่ให้ พลังงานแต่มีความสำาคัญต่อการ ทำางานหรือการขับเคลื่อนกลไล การทำางานของอวัยวะต่างๆ ได้แก่ วิตามิน เกลือแร่ และนำ้า สาร อาหารจำาพวกวิตามินและเกลือแร่ พบได้ตามอาหารประเภทต่างๆ รวมถึงผักและผลไม้ สำาหรับนำ้า ควรดื่มเป็นปกติวันละอย่างน้อย 8- 10 แก้ว แต่เมื่อฝึกเสริมสร้างกล้าม