SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทคัดย่ อ
สถานภาพความเป็ น “บุคคลสาธารณะ(Public figures)” ถือเป็ นสิ่งสมมติที่สงคมกําหนดให้ กบ
ั
ั
บุคคลบางกลุมเท่านัน เหตุเพราะบุคคลดังกล่าวมีภารกิจหน้ าที่ในการดูแลผลประโยชน์ของประชาชน
่
้
เป็ นสํา คัญ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ งผู้ดํา รงตํา แหน่ง ทางการเมื องและเจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ในฐานะที่ เ ป็ น
บุคคลสาธารณะในแวดวงการเมืองการปกครองและระบบราชการ แต่อย่างไรก็ตาม ความเข้ าใจของ
ผู้คนในสังคมไทยเกี่ยวกับความหมายของคําว่า “บุคคลสาธารณะ” ยังไม่มีความชัดเจนนัก ประกอบกับ
ไม่มีการกําหนดเส้ นแบ่งระหว่างเรื่ องที่เป็ นส่วนตัวกับเรื่ องที่เป็ นประโยชน์สาธารณะ ทําให้ เกิดความ
ขัดแย้ งระหว่างการปกปองชื่อเสียงเกียรติยศของบุคคลสาธารณะกับการคุ้มครองเสรี ภาพในการแสดง
้
ความคิดเห็นของประชาชน ซึงนําไปสูการฟองร้ องดําเนินคดีอาญาฐานหมิ่นประมาทในที่สด
่
่ ้
ุ
วิทยานิพนธ์ ฉบับนี ้ ต้ องการนําเสนอถึงแนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาฐานหมิ่นประมาท
ที่ ก ระทํ า ต่อ บุค คลสาธารณะในแวดวงการเมื อ งการปกครองและระบบราชการ โดยชี ใ้ ห้ เ ห็ น ว่ า
การแสดงความคิดเห็นในเชิงติชมหรื อวิพากษ์ วิจารณ์ ต่อบุคคลสาธารณะประเภทดังกล่าวจะไม่เป็ น
ความผิดก็ตอเมื่อเรื่ องที่นํามากล่าวถึงนันเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับประโยชน์สาธารณะ(Public interests)
่
้
หรื อส่วนได้ ส่วนเสียของประชาชนโดยรวม ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของผู้คนใน
สังคมอย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้
เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ กฎหมายหมิ่ น ประมาทของต่า งประเทศ จะเห็ น ได้ ว่ า แนวคิ ด เกี่ ย วกับ
“บุคคลสาธารณะ” มีความชัดเจนถึงขนาดแยกได้ ว่าบุคคลสาธารณะมีกี่ระดับและแต่ละระดับมีขอบเขต
ที่ประชาชนหรื อสื่อมวลชนสามารถวิพากษ์ วิจารณ์ได้ เพียงใด โดยนําเรื่ องของประโยชน์สาธารณะมาเป็ น
้
้
ปั จจัยในการบ่งชี ถึงความเป็ นบุคคลสาธารณะ นอกจากนี ยังได้ ทราบถึงเหตุยกเว้ นความผิดฐาน
หมิ่นประมาทที่กระทําต่อบุคคลสาธารณะด้ วย กล่าวคือ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา หากพิสจน์ได้ ว่า
ู
ผู้กระทํามิได้ มีเจตนาชัวร้ าย(Actual malice) การกระทํานันย่อมไม่เป็ นความผิด ในขณะที่ประเทศ
่
้
ในแถบยุโ รปอย่า งประเทศอัง กฤษ ก็ ยึดหลัก ในเรื่ อ งของการพิ สูจ น์ ภ าระหน้ า ที่ แ ละผลประโยชน์
(Duty-interest test)เป็ นสําคัญ ส่วนศาลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปจะเน้ นเรื่ องการพิสจน์ให้ เห็นว่าการ
ู
กระทําดังกล่าวมีความจําเป็ นสําหรับสังคมที่มีความเป็ นประชาธิปไตย(Test of necessity for a
democratic society) สําหรับประเทศออสเตรเลีย ความยุติธรรมในคดีอยู่ที่ว่าฝ่ ายใดจะหาเหตุผล
มารองรับหรื อสนับสนุนการกล่าวอ้ างของตนได้ น่าเชื่อถือกว่ากัน(Test of reasonableness)
นอกเหนือไปจากการดูหมิ่นและการหมิ่นประมาทที่ได้ กล่าวไปแล้ ว ยังปรากฏว่าในหลาย
ประเทศ ยกตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ และแอฟริ กาใต้
ถึงขนาดมีการบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมการแสดงออกโดยวาจาหรื อข้ อความที่เป็ นอาจเป็ นเหตุให้
(1)
เกิดความเกลียดชังระหว่างผู้คนในสังคม(Laws against hate speech) เนื่องจากเห็นว่าการแสดง
ความคิดเห็นในบางเรื่ อง แม้ จะเป็ นกล่าวถึงบุคคลสาธารณะก็ตาม แต่อาจกลายเป็ นชนวนปั ญหาที่
ลุกลามใหญ่ โต ซึ่งผลที่ เกิ ดขึนมิใช่แต่เป็ นการดูถูก ดูหมิ่นหรื อหมิ่นประมาทระหว่างบุคคลเท่านัน
้
้
แต่ยังอาจทํ าให้ ประชาชนภายในประเทศแตกความสามัคคีหรื อมีความรู้ สึกที่ขัดแย้ งแปลกแยกได้
เหตุเพราะมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันหรื ออาจก่อให้ เกิดอคติต่อกันในเรื่ องที่มีการกล่าวถึง อาทิ เรื่ อง
การต่อต้ านทางด้ านเชื ้อชาติหรื อชาติพนธุ์ ความแตกต่างในเรื่ องเพศสภาพ การนับถือศาสนา ความ
ั
เชื่อส่วนบุคคล ความพิการทางร่ างกาย รสนิยมทางเพศ การแบ่งชนชันทางสังคม หรื อรู ปลักษณ์ ที่
้
ปรากฏภายนอกต่างๆของบุคคลได้ แก่ รู ปร่ างหน้ าตา สีผิว สีผม ส่วนสูง นําหนัก ฯลฯ เป็ นต้ น
้
ซึงประเด็นที่กล่าวมาทังหมดนี ้ถือว่าเป็ นเรื่ องที่ไม่สมควรนํามากล่าวถึงเป็ นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะ
่
้
ไม่เป็ นประโยชน์ตอสาธารณะแล้ ว ยังอาจทําให้ สงคมเกิดความวุนวายไม่จบสิ ้น ทังนี ้ การกล่าวข้ อความ
่
ั
่
้
ที่แสดงความเกลียดชัง(hate speech)ดังกล่าว ถือเป็ นการกระทําอันเป็ นความผิดอาญาประเภทหนึ่ง
่
ในหมวดของการกระทําความความผิดทางอาญาที่เกิดจากความเกลียดชัง(Hate Crime) นันเอง
สําหรับประเทศไทยนัน ศาลไทยก็มีแนวโน้ มที่จะนําแนวคิดเรื่ อง “ประโยชน์สาธารณะ” มาเป็ น
้
ข้ อพิจารณาเพื่อชี ้ให้ เห็นถึงสถานภาพของความเป็ น “บุคคลสาธารณะ” เพิ่มมากขึ ้น เพราะจากการ
พิจารณาเหตุผลในคําพิพากษา ถ้ อยคําที่บ่งบอกถึงสถานภาพของความเป็ นบุคคลสาธารณะ ก็เช่น
การระบุถึงตําแหน่งหน้ าที่การงานซึงมีหน้ าที่ดแลชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชนโดยตรงหรื อเกี่ยวข้ อง
่
ู
กับประโยชน์สาธารณะอันเป็ นปั จจัยที่ทําให้ ผ้ คนสนใจติดตามพฤติกรรมและย่อมที่จะวิพากษ์ วิจารณ์ได้
ู
ั
หรื อการอ้ างว่าเรื่ องที่มีการหมิ่นประมาทบุคคลนันๆมิใช่เรื่ องส่วนตัว หากแต่เป็ นเรื่ องที่สงคมควรที่จะ
้
รับรู้ รับทราบ เหตุเพราะเกี่ยวข้ องกับความสงบเรี ยบร้ อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หรื อการให้
เหตุผ ลว่า การที่ โ จทก์ ไ ด้ เ สนอตัว เข้ า เป็ นตัว แทนของประชาชนย่อ มต้ อ งได้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก
ั
ประชาชนเป็ นสําคัญ ซึ่งการวิพากษ์ วิจารณ์ หรื อติชมด้ วยความเป็ นธรรมตามวิสยของประชาชนก็
ถือเป็ นวิธีหนึงในการแสดงให้ เห็นถึงความไว้ วางใจนัน เป็ นต้ น
่
้
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ มิให้ เกิดปั ญหาในการตีความข้ อกฎหมาย โดยเฉพาะในเรื่ องของการ
ั
แสดงความคิดเห็นโดยสุจริ ต ติชมด้ วยความเป็ นธรรม ซึ่งบุคคลหรื อสิ่งใดอันเป็ นวิสยของประชาชน
ย่อ มกระทํ า อัน เป็ นเหตุย กเว้ น ความผิ ดอาญาฐานหมิ่ น ประมาท ควรที่ จ ะมี ก ารแก้ ไ ขถ้ อ ยคํ า ใน
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 329(3) ให้ ครอบคลุมถึงเรื่ องของประโยชน์สาธารณะด้ วย เพื่อที่จะ
ก่ อ ให้ เกิ ด ความชัด เจนมากยิ่ ง ขึ น ในประเด็ น เกี่ ย วกับ การติ ช มหรื อ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ที่ ก ระทํ า ต่ อ
้
่
บุคคลสาธารณะในแวดวงการเมืองการปกครองและระบบราชการ ซึงไม่ถือว่าเป็ นความผิดอาญาฐาน
หมิ่นประมาท

(2)

More Related Content

Viewers also liked

รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมNanthapong Sornkaew
 
Ms @ evry rs june 2015 slidehide
Ms @ evry rs june 2015 slidehideMs @ evry rs june 2015 slidehide
Ms @ evry rs june 2015 slidehideOlav Tvedt
 
Creatividad y motricidad eugenio trigo
Creatividad y motricidad eugenio trigoCreatividad y motricidad eugenio trigo
Creatividad y motricidad eugenio trigoEdi
 
Presentacion prestashop eCOM Expo
Presentacion prestashop eCOM ExpoPresentacion prestashop eCOM Expo
Presentacion prestashop eCOM ExpoPrestaShop
 
#14 financial forecast
#14 financial forecast#14 financial forecast
#14 financial forecastali_1989
 
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016Avery Merriel Smith CV - Jan 2016
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016Avery Smith
 
Daniel Abu (1)
Daniel Abu (1)Daniel Abu (1)
Daniel Abu (1)Daniel Abu
 
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)Nanthapong Sornkaew
 
Benedicta_Resume
Benedicta_ResumeBenedicta_Resume
Benedicta_ResumeBenedicta J
 

Viewers also liked (11)

รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
 
Ms @ evry rs june 2015 slidehide
Ms @ evry rs june 2015 slidehideMs @ evry rs june 2015 slidehide
Ms @ evry rs june 2015 slidehide
 
Creatividad y motricidad eugenio trigo
Creatividad y motricidad eugenio trigoCreatividad y motricidad eugenio trigo
Creatividad y motricidad eugenio trigo
 
Presentacion prestashop eCOM Expo
Presentacion prestashop eCOM ExpoPresentacion prestashop eCOM Expo
Presentacion prestashop eCOM Expo
 
06 table of_contents
06 table of_contents06 table of_contents
06 table of_contents
 
#14 financial forecast
#14 financial forecast#14 financial forecast
#14 financial forecast
 
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016Avery Merriel Smith CV - Jan 2016
Avery Merriel Smith CV - Jan 2016
 
07 chapter 1
07 chapter 107 chapter 1
07 chapter 1
 
Daniel Abu (1)
Daniel Abu (1)Daniel Abu (1)
Daniel Abu (1)
 
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)
คำพิพากษาฎีกามาตร329(3)
 
Benedicta_Resume
Benedicta_ResumeBenedicta_Resume
Benedicta_Resume
 

More from Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 

More from Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 

03 thai abstract

  • 1. บทคัดย่ อ สถานภาพความเป็ น “บุคคลสาธารณะ(Public figures)” ถือเป็ นสิ่งสมมติที่สงคมกําหนดให้ กบ ั ั บุคคลบางกลุมเท่านัน เหตุเพราะบุคคลดังกล่าวมีภารกิจหน้ าที่ในการดูแลผลประโยชน์ของประชาชน ่ ้ เป็ นสํา คัญ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ งผู้ดํา รงตํา แหน่ง ทางการเมื องและเจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ในฐานะที่ เ ป็ น บุคคลสาธารณะในแวดวงการเมืองการปกครองและระบบราชการ แต่อย่างไรก็ตาม ความเข้ าใจของ ผู้คนในสังคมไทยเกี่ยวกับความหมายของคําว่า “บุคคลสาธารณะ” ยังไม่มีความชัดเจนนัก ประกอบกับ ไม่มีการกําหนดเส้ นแบ่งระหว่างเรื่ องที่เป็ นส่วนตัวกับเรื่ องที่เป็ นประโยชน์สาธารณะ ทําให้ เกิดความ ขัดแย้ งระหว่างการปกปองชื่อเสียงเกียรติยศของบุคคลสาธารณะกับการคุ้มครองเสรี ภาพในการแสดง ้ ความคิดเห็นของประชาชน ซึงนําไปสูการฟองร้ องดําเนินคดีอาญาฐานหมิ่นประมาทในที่สด ่ ่ ้ ุ วิทยานิพนธ์ ฉบับนี ้ ต้ องการนําเสนอถึงแนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาฐานหมิ่นประมาท ที่ ก ระทํ า ต่อ บุค คลสาธารณะในแวดวงการเมื อ งการปกครองและระบบราชการ โดยชี ใ้ ห้ เ ห็ น ว่ า การแสดงความคิดเห็นในเชิงติชมหรื อวิพากษ์ วิจารณ์ ต่อบุคคลสาธารณะประเภทดังกล่าวจะไม่เป็ น ความผิดก็ตอเมื่อเรื่ องที่นํามากล่าวถึงนันเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับประโยชน์สาธารณะ(Public interests) ่ ้ หรื อส่วนได้ ส่วนเสียของประชาชนโดยรวม ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของผู้คนใน สังคมอย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ กฎหมายหมิ่ น ประมาทของต่า งประเทศ จะเห็ น ได้ ว่ า แนวคิ ด เกี่ ย วกับ “บุคคลสาธารณะ” มีความชัดเจนถึงขนาดแยกได้ ว่าบุคคลสาธารณะมีกี่ระดับและแต่ละระดับมีขอบเขต ที่ประชาชนหรื อสื่อมวลชนสามารถวิพากษ์ วิจารณ์ได้ เพียงใด โดยนําเรื่ องของประโยชน์สาธารณะมาเป็ น ้ ้ ปั จจัยในการบ่งชี ถึงความเป็ นบุคคลสาธารณะ นอกจากนี ยังได้ ทราบถึงเหตุยกเว้ นความผิดฐาน หมิ่นประมาทที่กระทําต่อบุคคลสาธารณะด้ วย กล่าวคือ ในประเทศสหรัฐอเมริ กา หากพิสจน์ได้ ว่า ู ผู้กระทํามิได้ มีเจตนาชัวร้ าย(Actual malice) การกระทํานันย่อมไม่เป็ นความผิด ในขณะที่ประเทศ ่ ้ ในแถบยุโ รปอย่า งประเทศอัง กฤษ ก็ ยึดหลัก ในเรื่ อ งของการพิ สูจ น์ ภ าระหน้ า ที่ แ ละผลประโยชน์ (Duty-interest test)เป็ นสําคัญ ส่วนศาลสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปจะเน้ นเรื่ องการพิสจน์ให้ เห็นว่าการ ู กระทําดังกล่าวมีความจําเป็ นสําหรับสังคมที่มีความเป็ นประชาธิปไตย(Test of necessity for a democratic society) สําหรับประเทศออสเตรเลีย ความยุติธรรมในคดีอยู่ที่ว่าฝ่ ายใดจะหาเหตุผล มารองรับหรื อสนับสนุนการกล่าวอ้ างของตนได้ น่าเชื่อถือกว่ากัน(Test of reasonableness) นอกเหนือไปจากการดูหมิ่นและการหมิ่นประมาทที่ได้ กล่าวไปแล้ ว ยังปรากฏว่าในหลาย ประเทศ ยกตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ และแอฟริ กาใต้ ถึงขนาดมีการบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมการแสดงออกโดยวาจาหรื อข้ อความที่เป็ นอาจเป็ นเหตุให้ (1)
  • 2. เกิดความเกลียดชังระหว่างผู้คนในสังคม(Laws against hate speech) เนื่องจากเห็นว่าการแสดง ความคิดเห็นในบางเรื่ อง แม้ จะเป็ นกล่าวถึงบุคคลสาธารณะก็ตาม แต่อาจกลายเป็ นชนวนปั ญหาที่ ลุกลามใหญ่ โต ซึ่งผลที่ เกิ ดขึนมิใช่แต่เป็ นการดูถูก ดูหมิ่นหรื อหมิ่นประมาทระหว่างบุคคลเท่านัน ้ ้ แต่ยังอาจทํ าให้ ประชาชนภายในประเทศแตกความสามัคคีหรื อมีความรู้ สึกที่ขัดแย้ งแปลกแยกได้ เหตุเพราะมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันหรื ออาจก่อให้ เกิดอคติต่อกันในเรื่ องที่มีการกล่าวถึง อาทิ เรื่ อง การต่อต้ านทางด้ านเชื ้อชาติหรื อชาติพนธุ์ ความแตกต่างในเรื่ องเพศสภาพ การนับถือศาสนา ความ ั เชื่อส่วนบุคคล ความพิการทางร่ างกาย รสนิยมทางเพศ การแบ่งชนชันทางสังคม หรื อรู ปลักษณ์ ที่ ้ ปรากฏภายนอกต่างๆของบุคคลได้ แก่ รู ปร่ างหน้ าตา สีผิว สีผม ส่วนสูง นําหนัก ฯลฯ เป็ นต้ น ้ ซึงประเด็นที่กล่าวมาทังหมดนี ้ถือว่าเป็ นเรื่ องที่ไม่สมควรนํามากล่าวถึงเป็ นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะ ่ ้ ไม่เป็ นประโยชน์ตอสาธารณะแล้ ว ยังอาจทําให้ สงคมเกิดความวุนวายไม่จบสิ ้น ทังนี ้ การกล่าวข้ อความ ่ ั ่ ้ ที่แสดงความเกลียดชัง(hate speech)ดังกล่าว ถือเป็ นการกระทําอันเป็ นความผิดอาญาประเภทหนึ่ง ่ ในหมวดของการกระทําความความผิดทางอาญาที่เกิดจากความเกลียดชัง(Hate Crime) นันเอง สําหรับประเทศไทยนัน ศาลไทยก็มีแนวโน้ มที่จะนําแนวคิดเรื่ อง “ประโยชน์สาธารณะ” มาเป็ น ้ ข้ อพิจารณาเพื่อชี ้ให้ เห็นถึงสถานภาพของความเป็ น “บุคคลสาธารณะ” เพิ่มมากขึ ้น เพราะจากการ พิจารณาเหตุผลในคําพิพากษา ถ้ อยคําที่บ่งบอกถึงสถานภาพของความเป็ นบุคคลสาธารณะ ก็เช่น การระบุถึงตําแหน่งหน้ าที่การงานซึงมีหน้ าที่ดแลชีวิตความเป็ นอยู่ของประชาชนโดยตรงหรื อเกี่ยวข้ อง ่ ู กับประโยชน์สาธารณะอันเป็ นปั จจัยที่ทําให้ ผ้ คนสนใจติดตามพฤติกรรมและย่อมที่จะวิพากษ์ วิจารณ์ได้ ู ั หรื อการอ้ างว่าเรื่ องที่มีการหมิ่นประมาทบุคคลนันๆมิใช่เรื่ องส่วนตัว หากแต่เป็ นเรื่ องที่สงคมควรที่จะ ้ รับรู้ รับทราบ เหตุเพราะเกี่ยวข้ องกับความสงบเรี ยบร้ อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หรื อการให้ เหตุผ ลว่า การที่ โ จทก์ ไ ด้ เ สนอตัว เข้ า เป็ นตัว แทนของประชาชนย่อ มต้ อ งได้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก ั ประชาชนเป็ นสําคัญ ซึ่งการวิพากษ์ วิจารณ์ หรื อติชมด้ วยความเป็ นธรรมตามวิสยของประชาชนก็ ถือเป็ นวิธีหนึงในการแสดงให้ เห็นถึงความไว้ วางใจนัน เป็ นต้ น ่ ้ แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ มิให้ เกิดปั ญหาในการตีความข้ อกฎหมาย โดยเฉพาะในเรื่ องของการ ั แสดงความคิดเห็นโดยสุจริ ต ติชมด้ วยความเป็ นธรรม ซึ่งบุคคลหรื อสิ่งใดอันเป็ นวิสยของประชาชน ย่อ มกระทํ า อัน เป็ นเหตุย กเว้ น ความผิ ดอาญาฐานหมิ่ น ประมาท ควรที่ จ ะมี ก ารแก้ ไ ขถ้ อ ยคํ า ใน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 329(3) ให้ ครอบคลุมถึงเรื่ องของประโยชน์สาธารณะด้ วย เพื่อที่จะ ก่ อ ให้ เกิ ด ความชัด เจนมากยิ่ ง ขึ น ในประเด็ น เกี่ ย วกับ การติ ช มหรื อ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ที่ ก ระทํ า ต่ อ ้ ่ บุคคลสาธารณะในแวดวงการเมืองการปกครองและระบบราชการ ซึงไม่ถือว่าเป็ นความผิดอาญาฐาน หมิ่นประมาท (2)