SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
. 1 เศรษฐกิจ ในสมัย อยุธ ยาเป็น เศรษฐกิจ แบบยัง ชีพ ที่ข ึ้น
อยู่ก ับ เกษตรกรรมเช่น เดีย วกับ สุโ ขทัย

พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอยุธยาคือการเกษตร มีวัตถุประสงค์ในการผลิต
เพื่อบริโภคภายในอาณาจักรตามลักษณะเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ แต่
อาณาจักรอยุธยาได้เปรียบกว่าอาณาจักรสุโขทัยในด้านภูมิศาสตร์ เพราะ
อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้าอันกว้างใหญ่ แม่นำ้าสำาคัญ
คือ แม่นำ้าเจ้าพระยา แม่นำ้าป่าสัก แม่นำ้าลพบุรี ซึ่งมีนำ้าตลอดปีสำาหรับการ
เพาะปลูก พืชที่สำาคัญคือ ข้าว รองลงมาได้แก่ พริกไทย หมาก
มะพร้าว อ้อย ฝ้าย ไม้ผลและพืชไร่อื่นๆ ลักษณะการผลิตยังใช้แรงงาน
คนและแรงงานสัตว์เป็นหลัก ด้วยเหตุดังกล่าว อาณาจักรอยุธยาจึงได้ทำา
สงครามกับรัฐใกล้เคียงเพื่อครอบครองแหล่งทรัพยากรและกวาดต้อนผู้คน
เพื่อนำามาเป็นแรงงานสำาคัญของบ้านเมือง
        อาณาจักรอยุธยาไม่ได้สร้างระบบการชลประทานเพื่อส่งเสริม
การเกษตร เนื่องจากมีแหล่งนำ้าเพียงพอ ส่วนการขุดคลองทำาขึ้นเพื่อเป็น
เส้นทางการคมนาคม เพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ และการระบายนำ้า
ตอนหน้านำ้าเท่านั้น
        แม้ว่าอาณาจักรอยุธยา การเพาะปลูกยังเป็นแบบดั้งเดิมต้องพึ่งพา
แรงงานคนและธรรมชาติเป็นหลัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ ทำาให้
ผลผลิตทางการเกษตรมีเหลือเป็นจำานวนมาก ผลผลิตทางการเกษตรเป็น
สินค้าที่นำาไปขายให้ชาวต่างประเทศ นำารายได้มาสู่อาณาจักร ดังปรากฏ
หลักฐานว่าอยุธยาเคยขายหมากให้จีน อินเดีย และโปรตุเกส ฝ้ายและ
มะพร้าวให้ญี่ปุ่นและมะละกา ในสมัยอยุธยาตอนปลายได้ขายข้าวให้
ฮอลันดา ฝรั่งเศส มลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ลังกา จีน ญี่ปุ่น
        การเกษตรจึงเป็นรากฐานสำาคัญทางเศรษฐกิจของอยุธยาและมีส่วน
ในการเสริมสร้างราชอาณาจักร         อยุธยาให้เจริญรุ่งเรืองมาตลอดเวลา
417 ปี
        2. อาณาจัก รอยุธ ยาเป็น ศูน ย์ก ลางทางการค้า ในภูม ิภ าค
เอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ เนื่องจากทำาเลที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเอื้อ
อำานวยต่อการค้า กล่าวคือ ศูนย์กลางอาณาจักรตั้งอยู่ในทำาเลที่เหมาะสม
กับการค้า ทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร กล่าวคือ กรุงศรีอยุธยา
มีแม่นำ้าล้อมรอบทั้ง 3 ด้าน คือ แม่นำ้าลพบุรี แม่นำ้าป่าสัก และแม่นำ้า
เจ้าพระยา ทำาให้อยุธยาใช้เส้นทางทางนำ้าติดต่อกับแว่นแคว้นที่อยู่ภายใน
ได้สะดวก เช่น สุโขทัย ล้านนา ล้านช้าง นอกจากนี้ที่ตั้งของราชธานีที่
อยู่ไม่ห่างไกลปากนำ้าหรือทะเล ทำาให้อยุธยาติดต่อค้าขายทางเรือกับต่าง
ประเทศที่อยู่ห่างไกลได้สะดวก และเมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็ง
สามารถควบคุมการค้ารอบชายฝั่งทะเลอันดามัน และโดยรอบอ่าวไทย ซึ่ง
เป็นแหล่งที่พ่อค้าต่างชาติเดินทางมาค้าขายได้ ทำาให้อยุธยาสามารถทำา
หน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่างจีน ญี่ปุ่นกับพ่อค้า
ต่างชาติอื่น ๆ กรุงศรีอยุธยาจึงเป็นศูนย์กลางที่สำาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
       บทบาทสำาคัญของอยุธยาทางการค้ามี 2 ประการ คือ เป็นแหล่ง
รวมสินค้าประเภทของป่าที่ต่างชาติต้องการและเป็นศูนย์กลางการค้าส่ง
ผ่าน คือ กระจายสินค้าจากจีนและอินเดียสู่ดินแดนตอนในของภูมิภาค
เช่น ล้านนา ล้านช้าง และส่งสินค้าจีนไปยังดินแดนต่างๆ ในมหาสมุทร
อินเดีย และรวบรวมสินค้าจากดินแดนตอนในและจากดินแดนต่างๆ ใน
อินเดียไปขายต่อให้จีน
       สินค้าประเภทของป่า ได้แก่ สัตว์ป่าและผลผลิตจากสัตว์ป่า ไม้
เช่น ไม้ฝาง ไม้กฤษณา ไม้จันทร์หอม และพืชสมุนไพร เช่น ลูก
กระวาน ผลเร่ว กำายาน การบูร เป็นต้น สินค้าเหล่านี้ได้จากดินแดน
ภายในอาณาจักรอยุธยา และดินแดนใกล้เคียง ผ่านทางระบบมูลนาย โดย
แรงงานไพร่จะเป็นผู้หาแล้วส่งมาเป็น "ส่วย" แทนแรงงานที่จะต้องมา
ทำางานให้รัฐ บางส่วนได้มาด้วยการซื้อหาแลกเปลี่ยนกับราษฎรและ
อาณาจักรเพื่อนบ้าน แต่ส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ์ส่วยจากหัวเมือง
ภายในอาณาจักร โดยเฉพาะในรัชสมัยพระบรมไตรโลกนาถที่ปฏิรูปการ
ปกครองหัวเมือง ทำาให้การเกณฑ์ส่วยรัดกุมมากกว่าเดิม และส่วนหนึ่งมา
จากเมืองประเทศราชของอยุธยา นอกจากของป่าแล้ว สินค้าออกยัง
ได้แก่ พริกไทย ดีบุก ตะกั่ว ผ้าฝ้าย และข้าว ส่วนสินค้าเข้าได้แก่ ผ้า
แพร ผ้าลายทอง เครื่องกระเบื้อง ดาบ หอก เกราะ ฯลฯ
       การค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่เป็นการส่งเรือสำาเภา
ไปค้าขายกับดินแดนต่างๆ ที่สำาคัญคือการค้ากับจีนภายใต้การค้าในระบบ
บรรณาการ ที่จีนถือว่าไทยเป็นเมืองขึ้นของจีน แต่อยุธยาเห็นว่าเป็น
ประโยชน์ทางการค้า เพราะทุกครั้งที่เรือของอยุธยาเดินทางไปค้าขายกับ
จีนจะนำา "ของขวัญ" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าจากป่า เช่น นกยูง งาช้าง
สัตว์แปลกๆ กฤษณา กำายาน เป็นต้น เป็นเครื่องราชบรรณาการไปถวาย
ให้จักรพรรรดิจีน ซึ่งจีนจะมอบของตอบแทน เช่น ผ้าไหม เครื่องลาย
คราม ซึ่งเป็นสินค้าราคาแพงเป็นการตอบแทน เรือสินค้าที่นำาสินค้าไป
ค้าขายก็จะถูกละเว้นภาษีและได้รับการอนุญาตให้ค้าขายกับหัวเมืองต่างๆ
ของจีนได้
       นอกจากนี้อยุธยายังค้าขายกับหัวเมืองมลายู ชวา อินเดีย
ฟิลิปปินส์ เปอร์เซีย และลังกา การค้าส่วนใหญ่จะดำาเนินการโดยพระ
มหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง มีการค้าเอกชนบ้างโดยพวกพ่อค้าชาว
จีนดำาเนินการ ลักษณะการค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาตอนต้นยัง
เป็นการค้าแบบเสรี พ่อค้าต่างชาติยังสามารถค้าขายกับราษฎรได้โดยตรง
ไม่ต้องผ่านหน่วยงานของรัฐบาล แต่ก็มีลักษณะการผูกขาดโดยทางอ้อม
ในระบบมูลนาย
       การค้ากับต่างประเทศเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในสมัยสมเด็จพระ
มหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) มีการตรากฎหมายหลายฉบับเกี่ยวกับ
การค้าและจัดระบบผูกขาดทางการค้าให้เป็นระเบียบยิ่งขึ้น คือ มีการ
กำาหนดสินค้าต้องห้าม ซึ่งเป็นสินค้าที่รัฐบาลโดยพระคลังสินค้าเท่านั้นที่จะ
ผูกขาดซื้อขาย สินค้าขาเข้า ได้แก่ ปืนไฟ กระสุนดินดำา และกำามะถัน
ส่วนสินค้าขาออก ได้แก่ นอระมาด งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จันทร์ ไม้
หอม และไม้ฝาง ซึ่งต่อมาการค้าผูกขาดของรัฐ ได้เข้มข้นมากขึ้น สินค้า
บางประเภท เช่น ถ้วยชาม ผ้าแดง ซึ่งเป็นสินค้าในชีวิตประจำาวันก็เป็น
สินค้าผูกขาดด้วยและมีการจัดตั้ง "พระคลังสินค้า" ให้รับผิดชอบดูแลการ
ค้าผูกขาดของรัฐบาล พระคลังสินค้าจึงเป็นหน่วยงานสำาคัญในระบบ
เศรษฐกิจไทยในสมัยอยุธยาสืบต่อมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์
      ในปลายสมัยอยุธยา "ข้าว" ได้กลายเป็นสินค้าออกที่สำาคัญแทนที่
สินค้าจากป่า เนื่องจากเกิดทุพภิกขภัยอย่างรุนแรงในประเทศจีน ชาวจีน
จึงขอให้พ่อค้าอยุธยานำาข้าวไปขายให้จีนโดยลดภาษีให้ นอกจากนี้
อยุธยายังขายข้าวให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส หัวเมืองมลายู มะละกา ชวา
ปัตตาเวีย ญวน เขมร มะละกา ลังกา และญี่ปุ่น
      การค้ากับต่างประเทศจึงเป็นพื้นฐานสำาคัญของเศรษฐกิจอยุธยา ซึ่ง
นำาความมั่งคั่งให้กลุ่มผู้ปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และ
ขุนนางอย่างมหาศาล

       3. รายได้ข องอยุธ ยา มาจาก
              1) รายได้ใ นระบบมูล นาย แรงงานจากไพร่ถือเป็นปัจจัย
ทางเศรษฐกิจที่สำาคัญ รัฐบาลได้เกณฑ์          แรงงานจากไพร่ในระบบเข้า
เดือนออกเดือน หรือปีละ 6 เดือน มาทำางานให้รัฐ เช่น การสร้างกำาแพง
เมือง ขุดคลอง สร้างวัด สร้างถนน เป็นต้น ไพร่ที่ไม่ต้องการทำางานให้
รัฐก็สามารถจ่ายสิ่งของที่รัฐต้องการ เช่น มูลค้างคาว สินค้าป่า เรียกว่า
"ส่วย" แทนการเกณฑ์แรงงานได้ ส่วยเหล่านี้รัฐจะนำาไปเป็นสินค้าขายยัง
ต่างประเทศต่อไป
              2) รายได้จ ากภาษีอ ากร ภาษีอากรในสมัยอยุธยา มีดังนี้
                           - ส่วย คือ สิ่งของหรือเงินที่ไพร่หลวงจ่ายให้รัฐ
ทดแทนการถูกเกณฑ์มาทำางาน โดยรัฐจะเป็นผู้กำาหนดว่าท้องถิ่นใดจะส่ง
ส่วยประเภทใด เช่น ส่วยดีบุก ส่วยรังนก ส่วยไม้ฝาง ส่วยนอแรด ส่วย
มูลค้างคาว เป็นต้น
                    - อากร คือ เงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎร
ประกอบอาชีพได้ เช่น การทำานา จะเสียอากรค่านา เรียกว่า "หางข้าว"
ให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้เก็บไว้เป็นเสบียงอาหารสำาหรับกองทัพ ผู้ที่ทำาสวน
เสียอากรค่าสวนซึ่งคิดตามประเภทและจำานวนต้นไม้แต่ละชนิด นอกจากนี้
ยังรวมถึงการได้รับสิทธิจากรัฐบาลในการประกอบอาชีพ เช่น การอนุญาต
ให้ขดแร่ การอนุญาตให้เก็บของป่า การอนุญาตให้จับปลาในนำ้า การ
     ุ
อนุญาตให้ต้มกลั่นสุรา เป็นต้น
                    - จังกอบ คือ ค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางนำ้า
โดยเรียกเก็บตามยานพาหนะที่บรรทุกสินค้า เช่น เรือสินค้าจะเก็บตาม
ความกว้างของปากเรือตามอัตราที่กำาหนด จึงเรียกว่า ภาษีปากเรือ ส่วน
พ่อค้าแม่ค้าในท้องถิ่นมักเก็บในอัตราสิบชักหนึ่ง
                    - ฤชา คือ เงินที่รัฐเรียกเก็บจากการให้บริการจาก
ราษฎร เช่น การออกโฉนด หรือเงินปรับไหมที่ผู้แพ้คดีต้องจ่ายให้ผู้ชนะ
เงินค่าธรรมเนียมนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "เงินพินัยหลวง"
             2) รายได้จากต่างประเทศ ได้แก่ ผลกำาไรจากการค้าเรือ
  สำาเภา ภาษีสินค้าขาเข้าและสินค้าขาออก สิ่งของที่ได้รับพระราชทาน
  จากจักรพรรดิจีน บรรณาการจากต่างชาติที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับ
  อยุธยา




     ปางสีดา


     พัน ธุไ ม้แ ละสัต ว์ป ่า
           ์

     อุทยานแห่งชาติปางสีดา ประกอบไปด้วย ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบ
     เขา และป่าเต็งรัง ประกอบด้วยพรรณไม้ที่สำาคัญ ได้แก่ ไม้ยาง
     กระบาก ตะเคียนแดง มะค่าโมง ตะแบก เสลา ประดู่ มะกอก ส้าน
     สมอ พยุง ชิงชัน ซึ่งมีขึ้นอยู่กระจัดกระจายไปตามชนิดของป่า ไม้
     พื้นล่าง ได้แก่ หวาย เฟิร์น มอส ตลอดจนกล้วยไม้ดินชนิดต่าง ๆ
ด้วยสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และลักษณะ
     ภูมิประเทศทำาให้บริเวณนี้เป็นแหล่งต้นนำ้าลำาธารหลายสายเหมาะสม
     ที่จะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า จึงมีสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่จนถึงขนาด
     เล็ก รวมทั้งนกไม่ตำ่ากว่า 200 ชนิด อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไป
     สัตว์ป่าที่พบได้แก่ ช้างป่า กระทิง วัวแดง เสือโคร่ง หมีควาย และนก
     ชนิดต่าง ๆ เช่น นก นกขุนทอง นกเขา เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบ
     จระเข้นำ้าจืด ซึ่งเป็นสัตว์หายาก อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติอีก
     ด้วย

             อุทยานแห่งชาติปางสีดา มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด
สระแก้ว อำาเภอวัฒนานคร อำาเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี มีสภาพป่าอุดม
สมบูรณ์ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญและมีค่า มีสภาพ
ธรรมชาติและเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง เช่น นำ้าตกปาง
สีดา นำ้าตกหน้าผาใหญ่ โขดหินตามลำานำ้าที่มีลักษณะแปลก ๆ มีเนื้อที่
ประมาณ 844 ตารางกิโลเมตร หรือ 527,500 ไร่ ได้จัดตั้งเป็นอุทยาน
แห่งชาติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525
นำ้า ตกปางสีด า
นำ้า ตกผาตะเคีย น
นำ้า ตกลานหิน ใหญ่

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

อยุธยา

  • 1. . 1 เศรษฐกิจ ในสมัย อยุธ ยาเป็น เศรษฐกิจ แบบยัง ชีพ ที่ข ึ้น อยู่ก ับ เกษตรกรรมเช่น เดีย วกับ สุโ ขทัย พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอยุธยาคือการเกษตร มีวัตถุประสงค์ในการผลิต เพื่อบริโภคภายในอาณาจักรตามลักษณะเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ แต่ อาณาจักรอยุธยาได้เปรียบกว่าอาณาจักรสุโขทัยในด้านภูมิศาสตร์ เพราะ อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้าอันกว้างใหญ่ แม่นำ้าสำาคัญ คือ แม่นำ้าเจ้าพระยา แม่นำ้าป่าสัก แม่นำ้าลพบุรี ซึ่งมีนำ้าตลอดปีสำาหรับการ เพาะปลูก พืชที่สำาคัญคือ ข้าว รองลงมาได้แก่ พริกไทย หมาก มะพร้าว อ้อย ฝ้าย ไม้ผลและพืชไร่อื่นๆ ลักษณะการผลิตยังใช้แรงงาน คนและแรงงานสัตว์เป็นหลัก ด้วยเหตุดังกล่าว อาณาจักรอยุธยาจึงได้ทำา สงครามกับรัฐใกล้เคียงเพื่อครอบครองแหล่งทรัพยากรและกวาดต้อนผู้คน เพื่อนำามาเป็นแรงงานสำาคัญของบ้านเมือง อาณาจักรอยุธยาไม่ได้สร้างระบบการชลประทานเพื่อส่งเสริม การเกษตร เนื่องจากมีแหล่งนำ้าเพียงพอ ส่วนการขุดคลองทำาขึ้นเพื่อเป็น เส้นทางการคมนาคม เพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ และการระบายนำ้า ตอนหน้านำ้าเท่านั้น แม้ว่าอาณาจักรอยุธยา การเพาะปลูกยังเป็นแบบดั้งเดิมต้องพึ่งพา แรงงานคนและธรรมชาติเป็นหลัก แต่สภาพภูมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ ทำาให้ ผลผลิตทางการเกษตรมีเหลือเป็นจำานวนมาก ผลผลิตทางการเกษตรเป็น สินค้าที่นำาไปขายให้ชาวต่างประเทศ นำารายได้มาสู่อาณาจักร ดังปรากฏ หลักฐานว่าอยุธยาเคยขายหมากให้จีน อินเดีย และโปรตุเกส ฝ้ายและ มะพร้าวให้ญี่ปุ่นและมะละกา ในสมัยอยุธยาตอนปลายได้ขายข้าวให้ ฮอลันดา ฝรั่งเศส มลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ลังกา จีน ญี่ปุ่น การเกษตรจึงเป็นรากฐานสำาคัญทางเศรษฐกิจของอยุธยาและมีส่วน ในการเสริมสร้างราชอาณาจักร อยุธยาให้เจริญรุ่งเรืองมาตลอดเวลา 417 ปี 2. อาณาจัก รอยุธ ยาเป็น ศูน ย์ก ลางทางการค้า ในภูม ิภ าค เอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ เนื่องจากทำาเลที่ตั้งของอาณาจักรอยุธยาเอื้อ อำานวยต่อการค้า กล่าวคือ ศูนย์กลางอาณาจักรตั้งอยู่ในทำาเลที่เหมาะสม กับการค้า ทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร กล่าวคือ กรุงศรีอยุธยา มีแม่นำ้าล้อมรอบทั้ง 3 ด้าน คือ แม่นำ้าลพบุรี แม่นำ้าป่าสัก และแม่นำ้า เจ้าพระยา ทำาให้อยุธยาใช้เส้นทางทางนำ้าติดต่อกับแว่นแคว้นที่อยู่ภายใน ได้สะดวก เช่น สุโขทัย ล้านนา ล้านช้าง นอกจากนี้ที่ตั้งของราชธานีที่ อยู่ไม่ห่างไกลปากนำ้าหรือทะเล ทำาให้อยุธยาติดต่อค้าขายทางเรือกับต่าง ประเทศที่อยู่ห่างไกลได้สะดวก และเมื่ออาณาจักรมีความเข้มแข็ง
  • 2. สามารถควบคุมการค้ารอบชายฝั่งทะเลอันดามัน และโดยรอบอ่าวไทย ซึ่ง เป็นแหล่งที่พ่อค้าต่างชาติเดินทางมาค้าขายได้ ทำาให้อยุธยาสามารถทำา หน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการติดต่อค้าขายระหว่างจีน ญี่ปุ่นกับพ่อค้า ต่างชาติอื่น ๆ กรุงศรีอยุธยาจึงเป็นศูนย์กลางที่สำาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บทบาทสำาคัญของอยุธยาทางการค้ามี 2 ประการ คือ เป็นแหล่ง รวมสินค้าประเภทของป่าที่ต่างชาติต้องการและเป็นศูนย์กลางการค้าส่ง ผ่าน คือ กระจายสินค้าจากจีนและอินเดียสู่ดินแดนตอนในของภูมิภาค เช่น ล้านนา ล้านช้าง และส่งสินค้าจีนไปยังดินแดนต่างๆ ในมหาสมุทร อินเดีย และรวบรวมสินค้าจากดินแดนตอนในและจากดินแดนต่างๆ ใน อินเดียไปขายต่อให้จีน สินค้าประเภทของป่า ได้แก่ สัตว์ป่าและผลผลิตจากสัตว์ป่า ไม้ เช่น ไม้ฝาง ไม้กฤษณา ไม้จันทร์หอม และพืชสมุนไพร เช่น ลูก กระวาน ผลเร่ว กำายาน การบูร เป็นต้น สินค้าเหล่านี้ได้จากดินแดน ภายในอาณาจักรอยุธยา และดินแดนใกล้เคียง ผ่านทางระบบมูลนาย โดย แรงงานไพร่จะเป็นผู้หาแล้วส่งมาเป็น "ส่วย" แทนแรงงานที่จะต้องมา ทำางานให้รัฐ บางส่วนได้มาด้วยการซื้อหาแลกเปลี่ยนกับราษฎรและ อาณาจักรเพื่อนบ้าน แต่ส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ์ส่วยจากหัวเมือง ภายในอาณาจักร โดยเฉพาะในรัชสมัยพระบรมไตรโลกนาถที่ปฏิรูปการ ปกครองหัวเมือง ทำาให้การเกณฑ์ส่วยรัดกุมมากกว่าเดิม และส่วนหนึ่งมา จากเมืองประเทศราชของอยุธยา นอกจากของป่าแล้ว สินค้าออกยัง ได้แก่ พริกไทย ดีบุก ตะกั่ว ผ้าฝ้าย และข้าว ส่วนสินค้าเข้าได้แก่ ผ้า แพร ผ้าลายทอง เครื่องกระเบื้อง ดาบ หอก เกราะ ฯลฯ การค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่เป็นการส่งเรือสำาเภา ไปค้าขายกับดินแดนต่างๆ ที่สำาคัญคือการค้ากับจีนภายใต้การค้าในระบบ บรรณาการ ที่จีนถือว่าไทยเป็นเมืองขึ้นของจีน แต่อยุธยาเห็นว่าเป็น ประโยชน์ทางการค้า เพราะทุกครั้งที่เรือของอยุธยาเดินทางไปค้าขายกับ จีนจะนำา "ของขวัญ" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าจากป่า เช่น นกยูง งาช้าง สัตว์แปลกๆ กฤษณา กำายาน เป็นต้น เป็นเครื่องราชบรรณาการไปถวาย ให้จักรพรรรดิจีน ซึ่งจีนจะมอบของตอบแทน เช่น ผ้าไหม เครื่องลาย คราม ซึ่งเป็นสินค้าราคาแพงเป็นการตอบแทน เรือสินค้าที่นำาสินค้าไป ค้าขายก็จะถูกละเว้นภาษีและได้รับการอนุญาตให้ค้าขายกับหัวเมืองต่างๆ ของจีนได้ นอกจากนี้อยุธยายังค้าขายกับหัวเมืองมลายู ชวา อินเดีย ฟิลิปปินส์ เปอร์เซีย และลังกา การค้าส่วนใหญ่จะดำาเนินการโดยพระ มหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง มีการค้าเอกชนบ้างโดยพวกพ่อค้าชาว จีนดำาเนินการ ลักษณะการค้ากับต่างประเทศในสมัยอยุธยาตอนต้นยัง เป็นการค้าแบบเสรี พ่อค้าต่างชาติยังสามารถค้าขายกับราษฎรได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านหน่วยงานของรัฐบาล แต่ก็มีลักษณะการผูกขาดโดยทางอ้อม ในระบบมูลนาย การค้ากับต่างประเทศเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในสมัยสมเด็จพระ มหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) มีการตรากฎหมายหลายฉบับเกี่ยวกับ
  • 3. การค้าและจัดระบบผูกขาดทางการค้าให้เป็นระเบียบยิ่งขึ้น คือ มีการ กำาหนดสินค้าต้องห้าม ซึ่งเป็นสินค้าที่รัฐบาลโดยพระคลังสินค้าเท่านั้นที่จะ ผูกขาดซื้อขาย สินค้าขาเข้า ได้แก่ ปืนไฟ กระสุนดินดำา และกำามะถัน ส่วนสินค้าขาออก ได้แก่ นอระมาด งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จันทร์ ไม้ หอม และไม้ฝาง ซึ่งต่อมาการค้าผูกขาดของรัฐ ได้เข้มข้นมากขึ้น สินค้า บางประเภท เช่น ถ้วยชาม ผ้าแดง ซึ่งเป็นสินค้าในชีวิตประจำาวันก็เป็น สินค้าผูกขาดด้วยและมีการจัดตั้ง "พระคลังสินค้า" ให้รับผิดชอบดูแลการ ค้าผูกขาดของรัฐบาล พระคลังสินค้าจึงเป็นหน่วยงานสำาคัญในระบบ เศรษฐกิจไทยในสมัยอยุธยาสืบต่อมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ ในปลายสมัยอยุธยา "ข้าว" ได้กลายเป็นสินค้าออกที่สำาคัญแทนที่ สินค้าจากป่า เนื่องจากเกิดทุพภิกขภัยอย่างรุนแรงในประเทศจีน ชาวจีน จึงขอให้พ่อค้าอยุธยานำาข้าวไปขายให้จีนโดยลดภาษีให้ นอกจากนี้ อยุธยายังขายข้าวให้ฮอลันดา ฝรั่งเศส หัวเมืองมลายู มะละกา ชวา ปัตตาเวีย ญวน เขมร มะละกา ลังกา และญี่ปุ่น การค้ากับต่างประเทศจึงเป็นพื้นฐานสำาคัญของเศรษฐกิจอยุธยา ซึ่ง นำาความมั่งคั่งให้กลุ่มผู้ปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และ ขุนนางอย่างมหาศาล 3. รายได้ข องอยุธ ยา มาจาก 1) รายได้ใ นระบบมูล นาย แรงงานจากไพร่ถือเป็นปัจจัย ทางเศรษฐกิจที่สำาคัญ รัฐบาลได้เกณฑ์ แรงงานจากไพร่ในระบบเข้า เดือนออกเดือน หรือปีละ 6 เดือน มาทำางานให้รัฐ เช่น การสร้างกำาแพง เมือง ขุดคลอง สร้างวัด สร้างถนน เป็นต้น ไพร่ที่ไม่ต้องการทำางานให้ รัฐก็สามารถจ่ายสิ่งของที่รัฐต้องการ เช่น มูลค้างคาว สินค้าป่า เรียกว่า "ส่วย" แทนการเกณฑ์แรงงานได้ ส่วยเหล่านี้รัฐจะนำาไปเป็นสินค้าขายยัง ต่างประเทศต่อไป 2) รายได้จ ากภาษีอ ากร ภาษีอากรในสมัยอยุธยา มีดังนี้ - ส่วย คือ สิ่งของหรือเงินที่ไพร่หลวงจ่ายให้รัฐ ทดแทนการถูกเกณฑ์มาทำางาน โดยรัฐจะเป็นผู้กำาหนดว่าท้องถิ่นใดจะส่ง ส่วยประเภทใด เช่น ส่วยดีบุก ส่วยรังนก ส่วยไม้ฝาง ส่วยนอแรด ส่วย มูลค้างคาว เป็นต้น - อากร คือ เงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎร ประกอบอาชีพได้ เช่น การทำานา จะเสียอากรค่านา เรียกว่า "หางข้าว" ให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้เก็บไว้เป็นเสบียงอาหารสำาหรับกองทัพ ผู้ที่ทำาสวน เสียอากรค่าสวนซึ่งคิดตามประเภทและจำานวนต้นไม้แต่ละชนิด นอกจากนี้ ยังรวมถึงการได้รับสิทธิจากรัฐบาลในการประกอบอาชีพ เช่น การอนุญาต ให้ขดแร่ การอนุญาตให้เก็บของป่า การอนุญาตให้จับปลาในนำ้า การ ุ อนุญาตให้ต้มกลั่นสุรา เป็นต้น - จังกอบ คือ ค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางนำ้า โดยเรียกเก็บตามยานพาหนะที่บรรทุกสินค้า เช่น เรือสินค้าจะเก็บตาม
  • 4. ความกว้างของปากเรือตามอัตราที่กำาหนด จึงเรียกว่า ภาษีปากเรือ ส่วน พ่อค้าแม่ค้าในท้องถิ่นมักเก็บในอัตราสิบชักหนึ่ง - ฤชา คือ เงินที่รัฐเรียกเก็บจากการให้บริการจาก ราษฎร เช่น การออกโฉนด หรือเงินปรับไหมที่ผู้แพ้คดีต้องจ่ายให้ผู้ชนะ เงินค่าธรรมเนียมนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "เงินพินัยหลวง" 2) รายได้จากต่างประเทศ ได้แก่ ผลกำาไรจากการค้าเรือ สำาเภา ภาษีสินค้าขาเข้าและสินค้าขาออก สิ่งของที่ได้รับพระราชทาน จากจักรพรรดิจีน บรรณาการจากต่างชาติที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับ อยุธยา ปางสีดา พัน ธุไ ม้แ ละสัต ว์ป ่า ์ อุทยานแห่งชาติปางสีดา ประกอบไปด้วย ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบ เขา และป่าเต็งรัง ประกอบด้วยพรรณไม้ที่สำาคัญ ได้แก่ ไม้ยาง กระบาก ตะเคียนแดง มะค่าโมง ตะแบก เสลา ประดู่ มะกอก ส้าน สมอ พยุง ชิงชัน ซึ่งมีขึ้นอยู่กระจัดกระจายไปตามชนิดของป่า ไม้ พื้นล่าง ได้แก่ หวาย เฟิร์น มอส ตลอดจนกล้วยไม้ดินชนิดต่าง ๆ
  • 5. ด้วยสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และลักษณะ ภูมิประเทศทำาให้บริเวณนี้เป็นแหล่งต้นนำ้าลำาธารหลายสายเหมาะสม ที่จะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า จึงมีสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่จนถึงขนาด เล็ก รวมทั้งนกไม่ตำ่ากว่า 200 ชนิด อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไป สัตว์ป่าที่พบได้แก่ ช้างป่า กระทิง วัวแดง เสือโคร่ง หมีควาย และนก ชนิดต่าง ๆ เช่น นก นกขุนทอง นกเขา เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบ จระเข้นำ้าจืด ซึ่งเป็นสัตว์หายาก อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติอีก ด้วย อุทยานแห่งชาติปางสีดา มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด สระแก้ว อำาเภอวัฒนานคร อำาเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี มีสภาพป่าอุดม สมบูรณ์ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญและมีค่า มีสภาพ ธรรมชาติและเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง เช่น นำ้าตกปาง สีดา นำ้าตกหน้าผาใหญ่ โขดหินตามลำานำ้าที่มีลักษณะแปลก ๆ มีเนื้อที่ ประมาณ 844 ตารางกิโลเมตร หรือ 527,500 ไร่ ได้จัดตั้งเป็นอุทยาน แห่งชาติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525 นำ้า ตกปางสีด า นำ้า ตกผาตะเคีย น นำ้า ตกลานหิน ใหญ่