SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน การสืบพันธุ์ในคน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 9
นางสาวแสงพร นาเมือง เลขที่ 39 ชั้น ม. 6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม ครูทิพาพร ขวัญแก้ว
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ เลขที่ 6 2. นางสาวแสงพร นาเมือง เลขที่ 39
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การสืบพันธุ์ในคน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Human Reproduction
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ และนางสาวแสงพร นาเมือง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูทิพาพร ขวัญแก้ว
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2/2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การสืบพันธุ์เป็นกระบวนการทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เพื่อดารงไว้ซึ่งเผ่าพันธุ์ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ย่อมมีวิธีการสืบพันธุ์ที่แตกต่างกันไป โดยการสืบพันธุ์ของมนุษย์นั้น มีโครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ที่ซับซ้อน การ
สืบพันธุ์ถูกควบคุมไว้ด้วยกลไกของร่างกาย ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลายชนิด ไม่เป็นไปตามฤดูกาล
เหมือนสัตว์ชนิดอื่น จึงเห็นได้ว่าการสืบพันธุ์ของมนุษย์นี้ มีความลึกลับ ซับซ้อนกว่าสัตว์ชนิดอื่นมาก จาเป็นต้องทา
ความเข้าใจเป็นอย่างดี เพื่อให้สามารถอธิบายกลไกของร่างกายนี้ได้อย่างถูกต้อง ผู้จัดทาโครงงานจึงต้องการจะพัฒนา
สื่อเพื่อการศึกษา ให้สามารถอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการสืบพันธุ์ในคน ตลอดจนวิธีการคุมกาเนิด การสร้างเสริมและ
ดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ได้โดยง่าย เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ในคน
2. เพื่อเป็นแบบเรียนออนไลน์ ให้ผู้ที่สนใจศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
3. เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษามีความเข้าใจในเรื่องการสืบพันธุ์ในคน
ขอบเขตโครงงาน
1. โครงงานนี้เป็นสื่อการเรียนรู้เรื่องการสืบพันธุ์ในคน
2. เนื้อหาภายในประกอบไปด้วยเรื่องของระบบสืบพันธุ์เพศชายและหญิง การปฏิสนธิ การคุมกาเนิด และการ
สร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์
3
หลักการและทฤษฎี
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นแบบอาศัยเพศ โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ซับซ้อน การสืบพันธุ์ไม่เป็นไปตาม
ฤดูกาลเหมือนสัตว์ชนิดอื่น มีกลไกในร่างกายควบคุมระบบการสืบพันธุ์ ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลาย
ชนิด
ระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย
ประกอบด้วยอวัยวะแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่
- อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่ ถุงอัณฑะ และองคชาติ
- อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ได้แก่ อัณฑะ ต่อมต่าง ๆ และท่อต่าง ๆ
ถุงอัณฑะ (scrotum) เป็นส่วนของผิวหนังที่ยื่นออกมานอกช่องท้อง เนื่องจากอัณฑะที่อยู่ในช่องท้องเลื่อน
ลงมา ถุงอัณฑะทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อการเจริญและพัฒนาของอสุจิโดยจะต่ากว่าอุณหภูมิของ
ร่างกาย 3-5 องศาเซลเซียส ถุงอัณฑะมีช่องทางติดต่อกับช่องท้อง ซึ่งเป็นช่องที่ค่อนข้างเปราะบาง การยกของหนัก
เกินไปอาจมีผลทาให้เยื่อที่คลุมอยู่ฉีกขาด ทาให้ลาไส้บางส่วนไหลไปอุดบริเวณปากถุงอัณฑะ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดขึ้น
ว่า ไส้เลื่อน
องคชาติ (penis) เป็นอวัยวะที่ใช้ในการร่วมเพศ เป็นทางผ่านของอสุจิ และน้าปัสสาวะออกสู่ภายนอก
ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แข็งได้บริเวณปลายสุดพองออกเรียกว่า gland penis และมีผิวหนังบาง ๆ หุ้มอยู่
อัณฑะ(testis) เป็นอวัยวะคู่ ก่อนคลอดประมาณ 2 เดือน อัณฑะจะเคลื่อนจากช่องท้องให้เข้าไปอยู่ในถุง
อัณฑะซึ่งอยู่นอกร่างกาย ในกรณีที่อัณฑะเคลื่อนลงมาในถุงอัณฑะไม่ได้จะทาให้เป็นหมัน และถ้าอัณฑะเคลื่อนลงมา
ในถุงอัณฑะข้างเดียวเรียกว่า ทองแดง อัณฑะประกอบด้วย หลอดสร้างอสุจิและเนื้อเยื่ออินเตอร์สติเชียล
หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) เป็นท่อขดไปมาภายในมีเซลล์ 2 ชนิด คือ sertoli cell ซึ่งเป็น
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ มีรูปร่างไม่แน่นอนเป็นตัวให้อาหารแก่สเปอร์มาโทโกเนีย (spermatogonia) ซึ่งทาหน้าที่สร้าง
อสุจิ โดยผ่านกระบวนการแบ่งเซลล์
เนื้อเยื่ออินเตอร์สติเชียล (interstitial tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ ประกอบด้วยเส้น
เลือดเส้นประสาทและพวกเซลล์ต่าง ๆ และทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย
ต่อมต่าง ๆ ได้แก่
1. ต่อมเซมินัลเวสิเคิล มี 1 คู่ หน้าที่สร้างอาหาร สร้างพลังงานสาหรับเลี้ยงอสุจิ ได้แก่
น้าตาลฟลุกโทส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน และสารอาหารที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ
อสุจิ รวมเรียกว่า seminal fluid
2. ต่อมลูกหมาก ขนาดใหญ่ 1 ต่อม หน้าที่หลั่งสารซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิดและมี
คุณสมบัติเป็นด่างอ่อน ทาให้เกิดความเป็นกลางในท่อปัสสาวะชายและช่องคลอดของเพศ
หญิง
3. ต่อมคาวเปอร์ มี 1 คู่ขนาดเล็กเชื่อมต่อกับส่วนของท่อปัสสาวะบริเวณฐานขององคชาติ
หน้าที่หลั่งเมือกที่เป็นยางเหนียวออกมาก่อนการหลั่งของน้าอสุจิเพื่อหล่อลื่นท่อปัสสาวะ
ท่อต่าง ๆ ได้แก่
1. หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) ทาหน้าที่สร้างอสุจิอยู่ภายในอัณฑะ
2. เรตีเทสทิส(rete testis) เป็นหลอดรวมของหลอดสร้างอสุจิมีลักษณะเป็นร่างแหอยู่ทาง
ด้านหลังของอัณฑะ
3. ท่อเก็บอสุจิ (epididymis) เป็นท่อยาว ๆ ขดไปมา ทาหน้าที่เก็บอสุจิและสร้างอาหาร
เลี้ยงอสุจิ อสุจิจะพักอยู่ในท่อนี้นาน 6 สัปดาห์ จนกระทั่งอสุจิแข็งแรง
4. ท่อนาตัวอสุจิ (vas deferens) เป็นท่อยาวประมาณ 18 นิ้ว หน้าที่ลาเลียงอสุจิไปเก็บที่
ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ การทาหมันถาวรในชายคือการผูกหรือตัดท่อนาตัวอสุจิ
4
5. ท่ออีเจกคูลาทอรี (ejaculatory duct) เป็นท่อที่เกิดจากการรวมกันของท่อนาอสุจิกับเซ
มินัลเวซิเคิล ทาหน้าที่ในการบีบตัวปล่อยอสุจิออกสู่ภายนอก
6. ท่อปัสสาวะ(urethra) เป็นทางผ่านของน้าปัสสาวะและน้าอสุจิ
กระบวนการสร้างอสุจิ (spermatogenesis)
ภายในอัณฑะประกอบด้วยหลอดสร้างอสุจิภายในหลอดนี้มีกลุ่มเซลล์ที่ผนังหลอดเรียกว่าสเปอร์มาโทโก
เนียม (spermatogonium) เป็นเซลล์ดิพลอยด์ (2n) เมื่อย่างเข้าสู่วัยหนุ่ม เซลล์สเปอร์มาโทโกเนียม จะมีการแบ่ง
เซลล์แบบไมโทซิส ทาให้ได้สเปอร์มาโทโกเนียมจานวนมาก สเปอร์มาโทโกเนียมบางเซลล์จะพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
จากนั้น primary spermatocyte แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เมื่อจบ meiosis I จะได้ 2 เซลล์ เรียกว่า secondary
spermatocyte จากนั้นแบ่ง meiosis II จะได้ spermatid 4 เซลล์ (n) spermatid มีการเปลี่ยนแปลงและเจริญ
เป็น spermatozoa หรือ อสุจิ (sperm)โดยสลัดไซโทพลาสซึมส่วนใหญ่ทิ้งไป ส่วนหัวเป็นที่อยู่ของนิวเคลียส ส่วน
ปลายสุดของหัวมีถุงอะโครโซม (ภายในมีเอนไซม์เจาะเซลล์ไข่เพื่อการปฏิสนธิ) ส่วนตัวมีไมโทคอนเดรีย ส่วนหางคือ
แฟลเจลลัมซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่เรียกว่า primary spermatocyte (2n)
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ประกอบด้วยอวัยวะภายใน ดังต่อไปนี้
- รังไข่ (ovary)
- ท่อนาไข่ (fallopian tube หรือ oviduct)
- มดลูก (uterus)
- ช่องคลอด (vagina)
รังไข่ (ovaries) อยู่ทางด้านล่างของช่องท้อง มี 1 คู่ ทาหน้าที่ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิงหนักประมาณ 2-
3 กรัม
ท่อนาไข่ ภายในท่อประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ และซิเลีย (cilia) ช่วยในการเคลื่อนที่ของไข่ และบริเวณท่อ
นาไข่ส่วนต้นเป็นบริเวณที่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น และถ้าไม่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น ไข่จะสลายไปในที่สุด
มดลูก (uterus) อยู่ด้านหลังกระเพาะปัสสาวะ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อหนา ด้านในบุด้วยเยื่อบุมดลูกชั้นใน
(endometrium) เป็นที่ฝังตัวของเอ็มบริโอ
ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกลวงต่อจากปากมดลูก ประกอบด้วยกล้ามเนื้อยืดหยุ่น มีปลายเปิดออกด้าน
นอกเรียกว่า ปากช่องคลอด ทาหน้าที่รองรับอสุจิและคลอดทารก
กระบวนการสร้างเซลล์ไข่ (oogenesis)
เริ่มตั้งแต่ขณะที่เป็นทารกในครรภ์จะมีเซลล์โอโอโกเนียม (oogonium) เป็นเซลล์ดิพลอยด์ ซึ่งสามารถแบ่ง
เซลล์แบบไมโทซิส ทาให้มีเซลล์ชนิดนี้จานวนมาก แต่เมื่อทารกคลอดออกมา โอโอโกเนียมจะพัฒนาเป็นโอโอไซต์
ระยะแรก (primary oocyte) ซึ่งเป็นเซลล์ดิพลอยด์ โอโอไซต์ระยะแรกแต่ละเซลล์จะถูกล้อมรอบด้วยเซลล์ฟอลลิเคิล
เรียกรวมกันว่า ฟอลลิเคิล (follicle) และจะหยุดอยู่ในระยะนี้จนกระทั่งทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเจริญ
พันธุ์ เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเป็นไมโอซิสระยะแรก แต่เนื่องจากการแบ่งโอ
โอไซต์ขั้นที่หนึ่งนี้มีการแบ่งไซโตพลาสซึมไม่เท่ากัน ได้เซลล์ที่มีขนาดใหญ่เรียกโอโอไซต์ขั้นที่สอง (secondary
oocyte) และเซลล์ที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า โพลาร์บอดีที่หนึ่ง (first polar body) โดยมากเมื่อมีการเจริญมาถึงโอโอ
ไซต์ขั้นที่สอง (secondary oocyte) จะถึงระยะเวลาการตกไข่ (ovulation) เมื่อมีการปฏิสนธิ โอโอไซต์ขั้นที่สอง ซึ่ง
อยู่ในระยะ metaphase II จะแบ่งเซลล์ต่อไปและให้ โพลาร์บอดีที่สอง (second polar body) และไข่ (ovum) จะ
5
สังเกตว่ากระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ในแต่ละครั้ง ในแต่ละโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะให้เซลล์ไข่ที่เจริญเต็มที่ ครั้งละ
เพียง 1 เซลล์นอกนั้นจะสลายไป
การปฏิสนธิ (Fertilization)
เมื่ออสุจิผ่านโพรงมดลูกจะเกิดกระบวนการทางชีวเคมีที่เยื่อหุ้มเซลล์และอะโครโซม เรียกว่า capacitation
เพื่อให้อสุจิมีประสิทธิภาพในการปฏิสนธิมากขึ้น เมื่ออสุจิพบไข่ อะโครโซมจะปล่อยเอนไซม์ ออกมาย่อยสลายชั้น
ต่างๆของผนังเซลล์ไข่จนถึงชั้น zona pellucida ต่อจากนั้นเกิดการรวมตัวของเมมเบรนของเซลล์อสุจิกับไข่ มีผล
กระตุ้นให้หลั่งเอนไซม์ที่ผิวไข่ ทาให้ชั้น zona pellucida เปลี่ยนแปลงโดยแข็งขึ้น ทาให้อสุจิตัวอื่นไม่สามารถเข้าผสม
กับไข่ได้อีก
เมื่อเมมเบรนของเซลล์อสุจิกับไข่รวมกันแล้ว เซลล์ไข่จะแบ่งตัวแบบไมโอซิสต่อทาให้เซลล์ได้ไข่ที่สมบูรณ์
และ second polar body ต่อจากนั้นนิวเคลียสของเซลล์ไข่และนิวเคลียสของเซลล์อสุจิรวมตัวกันเป็นไซโกต
จากนั้นจะมีการแบ่งเซลล์จาก 1 เป็น 2 เป็น 4 ไปเรื่อยๆ ในขณะเดียวกันจะเคลื่อนที่จากท่อนาไข่เพื่อไปฝังตัวที่ผนัง
มดลูก ซึ่งผนังมดลูกมีลักษณะที่หนามากขึ้นเพื่อเตรียมตัวสาหรับรับไข่ที่ได้รับการผสม
การคุมกาเนิด
1. การนับรอบเดือน (Calendar rhythm)
2. ใช้ถุงยางอนามัย (condom)
3. ฝายางครอบปิดปากมดลูกและสารฆ่าอสุจิ
4. รบกวนสภาพในมดลูกเพื่อไม่ให้เอมบริโอฝังตัว
5. ใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด
6. ทาหมันในเพศหญิงโดยตัดท่อนาไข่ ในเพศชายโดยการผูกหรือตัดท่อนาอสุจิ
7. การให้ลูกดูดนมเป็นระยะเวลานานๆจะห้ามไม่ให้ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมน gonadotrophins
การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดอาหารที่มีไขมันสูงและเพิ่มอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ และถั่ว
เมล็ดแห้ง
2. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง แต่ละครั้งไม่น้อยกว่า 30 นาที จะช่วยให้ร่างกาย
แข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด ช่วยสร้างเสริมระบบไหลเวียนโลหิตให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง และทาจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ เช่น ทางานอดิเรก นั่ง
สมาธิ ฟังเพลง
4. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะ แอลกอฮอล์จะทาให้ระดับฮอร์โมนเพศชายลดลงและทาให้สมรรถภาพ
ทางเพศลดลง
5. สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาดและไม่รัดแน่นจนเกินไป
6. ไม่ใช้เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว เครื่องนุ่งห่มร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจจะทาให้ติดเชื้อโรคได้
7. อาบน้าทาความสะอาดร่างกายอย่างทั่วถึง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
8. ไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพราะอาจเกิดการติดเชื้อทางเพศสืบพันธุ์และติดเชื้อเอดส์
9. หากเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะเพศ ควรปรึกษาแพทย์
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อโครงงานของแต่ละคน
2. คัดเลือกหัวข้อโครงงานจากสมาชิกในกลุ่มที่ดีที่สุด
3. กาหนดหัวข้อที่ต้องการจัดทาสื่อ
4. ส่งแบบร่างโครงงานให้แก่ครูที่ปรึกษา
5. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ในคน
6. จัดทารูปเล่มโครงงาน
7. จัดทาสื่อการเรียน โดยใช้โปรแกรม Power Point
8. นาเสนอให้แก่ผู้ที่สนใจผ่านทาง Blogger
9. ส่งผลงานผ่านทาง CD ภายในประกอบไปด้วยรูปเล่มโครงงาน และPower Point นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. โปรแกรม Power Point
3. โปรแกรม Microsoft Word
4. โปรแกรม paint
5. อินเตอร์เน็ต
6. แผ่นซีดี
งบประมาณ
เรียกเก็บสมาชิกคนละ 10 บาท สาหรับแผ่นซีดีและกล่องใส่
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน อิสรีย์, แสงพร
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อิสรีย์
3 จัดทาโครงร่างงาน แสงพร
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน อิสรีย์
5 ปรับปรุงทดสอบ อิสรีย์
6 การทาเอกสารรายงาน อิสรีย์
7 ประเมินผลงาน อิสรีย์, แสงพร
8 นาเสนอโครงงาน อิสรีย์, แสงพร
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถจัดทาสื่อเพื่อการศึกษาได้
2. ได้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสืบพันธุ์ในคน ตลอดจนวิธีการคุมกาเนิด การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ
ของระบบสืบพันธุ์
3. ผู้ที่สนใจได้รับความรู้เรื่องการสืบพันธุ์ในคน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และบ้านของผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. กลุ่มการเรียนรู้สุขศึกษา
3. กลุ่มการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
1. จิรัสย์ เจนพาณิชย์. 2552. การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต. ใน BIOLOGY for high school students,
105-117. บูมคัลเลอร์ไลน์. กรุงเทพฯ.
2. 54040267t. 2556. ระบบสืบพันธุ์เพศชายและระบบสืบพันธุ์เพศหญิง. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต,
https://54040267t.wordpress.com/ระบบประสาท-ระบบสืบพันธุ์/ระบบสืบพันธุ์เพศชายและ/, ค้นเมื่อ
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559
3. บานเย็น จันทราฤทธิกุล. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต,
http://www.neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id
=1964, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559
4. สถาพร วรรณธนวิจารณ์ และธัญญรัตน์ ดาเกาะ. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต,
www.mwit.ac.th/~panom/Bio40145/reproduction.doc, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559
5. สิปป์แสง สุขผล. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต,
https://sipsang.files.wordpress.com/2012/05/chapter6.pdf, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลKornnicha Wonglai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมnoeiinoii
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
กลุ่มธงชาติอาเซียน
กลุ่มธงชาติอาเซียนกลุ่มธงชาติอาเซียน
กลุ่มธงชาติอาเซียนTangkwa Piyatida
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานWarumpa Promrin
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605eve2312
 

What's hot (17)

เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
ดอกแก้วไล่แมลง
ดอกแก้วไล่แมลงดอกแก้วไล่แมลง
ดอกแก้วไล่แมลง
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
กลุ่มธงชาติอาเซียน
กลุ่มธงชาติอาเซียนกลุ่มธงชาติอาเซียน
กลุ่มธงชาติอาเซียน
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605
 

Viewers also liked

PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas Upstream
PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas UpstreamPDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas Upstream
PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas UpstreamBaljit Singh
 
Trastornosdigestivos.fsi.auladesalud
Trastornosdigestivos.fsi.auladesaludTrastornosdigestivos.fsi.auladesalud
Trastornosdigestivos.fsi.auladesaludfarmaciasantaisabel
 
2016-9-2 Project Management Professional Certificate
2016-9-2 Project Management Professional Certificate2016-9-2 Project Management Professional Certificate
2016-9-2 Project Management Professional CertificateSridhar Rangaswamy
 
ธนพร รินทร์แก้ว
ธนพร  รินทร์แก้วธนพร  รินทร์แก้ว
ธนพร รินทร์แก้วjoonjungzee
 
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficial
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficialNotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficial
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficialSridhar Rangaswamy
 
"Virtual Water Footprint: Accounting for hidden water use and ways to conser...
"Virtual Water Footprint:  Accounting for hidden water use and ways to conser..."Virtual Water Footprint:  Accounting for hidden water use and ways to conser...
"Virtual Water Footprint: Accounting for hidden water use and ways to conser...Baljit Singh
 
Line Following Robot
Line Following RobotLine Following Robot
Line Following RobotElijah Barner
 
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitan
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitanRancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitan
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitanZuzan Michael Japang
 
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie française
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie françaiseLes Business Angels : éléments moteurs de l'économie française
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie françaiseFrenchWeb.fr
 

Viewers also liked (14)

PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas Upstream
PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas UpstreamPDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas Upstream
PDPU Energy Conclave 2016_10.09.2016_A Perspective on Indian Gas Upstream
 
Trastornosdigestivos.fsi.auladesalud
Trastornosdigestivos.fsi.auladesaludTrastornosdigestivos.fsi.auladesalud
Trastornosdigestivos.fsi.auladesalud
 
Anbefaling DFH
Anbefaling DFHAnbefaling DFH
Anbefaling DFH
 
2016-9-2 Project Management Professional Certificate
2016-9-2 Project Management Professional Certificate2016-9-2 Project Management Professional Certificate
2016-9-2 Project Management Professional Certificate
 
EJERCICO #2
EJERCICO #2EJERCICO #2
EJERCICO #2
 
ธนพร รินทร์แก้ว
ธนพร  รินทร์แก้วธนพร  รินทร์แก้ว
ธนพร รินทร์แก้ว
 
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficial
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficialNotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficial
NotaryEssentialsCompletedGodsgraceOfficial
 
Online Advertising Strategy for a Haute Horlogerie Brand
Online Advertising Strategy for a Haute Horlogerie BrandOnline Advertising Strategy for a Haute Horlogerie Brand
Online Advertising Strategy for a Haute Horlogerie Brand
 
Aida
Aida Aida
Aida
 
"Virtual Water Footprint: Accounting for hidden water use and ways to conser...
"Virtual Water Footprint:  Accounting for hidden water use and ways to conser..."Virtual Water Footprint:  Accounting for hidden water use and ways to conser...
"Virtual Water Footprint: Accounting for hidden water use and ways to conser...
 
Line Following Robot
Line Following RobotLine Following Robot
Line Following Robot
 
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitan
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitanRancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitan
Rancangan Pengajaran Harian ERT-peralatan jahitan
 
1. la filosofía en enfermería
1.  la filosofía en enfermería1.  la filosofía en enfermería
1. la filosofía en enfermería
 
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie française
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie françaiseLes Business Angels : éléments moteurs de l'économie française
Les Business Angels : éléments moteurs de l'économie française
 

Similar to การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข

โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์Chayaporn Jongjumnien
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์KPainapa
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์PainapaPoethaphan
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละNuttawat Sawangrat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 

Similar to การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข (20)

โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
ไบโอมคอม
ไบโอมคอมไบโอมคอม
ไบโอมคอม
 

More from Isaree Kowin

การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน Isaree Kowin
 
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยายIsaree Kowin
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติIsaree Kowin
 

More from Isaree Kowin (6)

การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
 
Law6 050258-7
Law6 050258-7Law6 050258-7
Law6 050258-7
 
Com
ComCom
Com
 
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
 
7 subjects'56
7 subjects'567 subjects'56
7 subjects'56
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
 

การสืบพันธุ์ในคน แก้ไข

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน การสืบพันธุ์ในคน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 9 นางสาวแสงพร นาเมือง เลขที่ 39 ชั้น ม. 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม ครูทิพาพร ขวัญแก้ว ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ เลขที่ 6 2. นางสาวแสงพร นาเมือง เลขที่ 39 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การสืบพันธุ์ในคน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Human Reproduction ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวอิสรีย์ โค้วอินทร์ และนางสาวแสงพร นาเมือง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูทิพาพร ขวัญแก้ว ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2/2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การสืบพันธุ์เป็นกระบวนการทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เพื่อดารงไว้ซึ่งเผ่าพันธุ์ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ย่อมมีวิธีการสืบพันธุ์ที่แตกต่างกันไป โดยการสืบพันธุ์ของมนุษย์นั้น มีโครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ที่ซับซ้อน การ สืบพันธุ์ถูกควบคุมไว้ด้วยกลไกของร่างกาย ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลายชนิด ไม่เป็นไปตามฤดูกาล เหมือนสัตว์ชนิดอื่น จึงเห็นได้ว่าการสืบพันธุ์ของมนุษย์นี้ มีความลึกลับ ซับซ้อนกว่าสัตว์ชนิดอื่นมาก จาเป็นต้องทา ความเข้าใจเป็นอย่างดี เพื่อให้สามารถอธิบายกลไกของร่างกายนี้ได้อย่างถูกต้อง ผู้จัดทาโครงงานจึงต้องการจะพัฒนา สื่อเพื่อการศึกษา ให้สามารถอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการสืบพันธุ์ในคน ตลอดจนวิธีการคุมกาเนิด การสร้างเสริมและ ดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ได้โดยง่าย เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ในคน 2. เพื่อเป็นแบบเรียนออนไลน์ ให้ผู้ที่สนใจศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 3. เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษามีความเข้าใจในเรื่องการสืบพันธุ์ในคน ขอบเขตโครงงาน 1. โครงงานนี้เป็นสื่อการเรียนรู้เรื่องการสืบพันธุ์ในคน 2. เนื้อหาภายในประกอบไปด้วยเรื่องของระบบสืบพันธุ์เพศชายและหญิง การปฏิสนธิ การคุมกาเนิด และการ สร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นแบบอาศัยเพศ โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ซับซ้อน การสืบพันธุ์ไม่เป็นไปตาม ฤดูกาลเหมือนสัตว์ชนิดอื่น มีกลไกในร่างกายควบคุมระบบการสืบพันธุ์ ซึ่งกลไกนี้เกี่ยวข้องกับระบบฮอร์โมนหลาย ชนิด ระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ประกอบด้วยอวัยวะแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ - อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่ ถุงอัณฑะ และองคชาติ - อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ได้แก่ อัณฑะ ต่อมต่าง ๆ และท่อต่าง ๆ ถุงอัณฑะ (scrotum) เป็นส่วนของผิวหนังที่ยื่นออกมานอกช่องท้อง เนื่องจากอัณฑะที่อยู่ในช่องท้องเลื่อน ลงมา ถุงอัณฑะทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อการเจริญและพัฒนาของอสุจิโดยจะต่ากว่าอุณหภูมิของ ร่างกาย 3-5 องศาเซลเซียส ถุงอัณฑะมีช่องทางติดต่อกับช่องท้อง ซึ่งเป็นช่องที่ค่อนข้างเปราะบาง การยกของหนัก เกินไปอาจมีผลทาให้เยื่อที่คลุมอยู่ฉีกขาด ทาให้ลาไส้บางส่วนไหลไปอุดบริเวณปากถุงอัณฑะ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดขึ้น ว่า ไส้เลื่อน องคชาติ (penis) เป็นอวัยวะที่ใช้ในการร่วมเพศ เป็นทางผ่านของอสุจิ และน้าปัสสาวะออกสู่ภายนอก ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แข็งได้บริเวณปลายสุดพองออกเรียกว่า gland penis และมีผิวหนังบาง ๆ หุ้มอยู่ อัณฑะ(testis) เป็นอวัยวะคู่ ก่อนคลอดประมาณ 2 เดือน อัณฑะจะเคลื่อนจากช่องท้องให้เข้าไปอยู่ในถุง อัณฑะซึ่งอยู่นอกร่างกาย ในกรณีที่อัณฑะเคลื่อนลงมาในถุงอัณฑะไม่ได้จะทาให้เป็นหมัน และถ้าอัณฑะเคลื่อนลงมา ในถุงอัณฑะข้างเดียวเรียกว่า ทองแดง อัณฑะประกอบด้วย หลอดสร้างอสุจิและเนื้อเยื่ออินเตอร์สติเชียล หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) เป็นท่อขดไปมาภายในมีเซลล์ 2 ชนิด คือ sertoli cell ซึ่งเป็น เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ มีรูปร่างไม่แน่นอนเป็นตัวให้อาหารแก่สเปอร์มาโทโกเนีย (spermatogonia) ซึ่งทาหน้าที่สร้าง อสุจิ โดยผ่านกระบวนการแบ่งเซลล์ เนื้อเยื่ออินเตอร์สติเชียล (interstitial tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ ประกอบด้วยเส้น เลือดเส้นประสาทและพวกเซลล์ต่าง ๆ และทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย ต่อมต่าง ๆ ได้แก่ 1. ต่อมเซมินัลเวสิเคิล มี 1 คู่ หน้าที่สร้างอาหาร สร้างพลังงานสาหรับเลี้ยงอสุจิ ได้แก่ น้าตาลฟลุกโทส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน และสารอาหารที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ อสุจิ รวมเรียกว่า seminal fluid 2. ต่อมลูกหมาก ขนาดใหญ่ 1 ต่อม หน้าที่หลั่งสารซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิดและมี คุณสมบัติเป็นด่างอ่อน ทาให้เกิดความเป็นกลางในท่อปัสสาวะชายและช่องคลอดของเพศ หญิง 3. ต่อมคาวเปอร์ มี 1 คู่ขนาดเล็กเชื่อมต่อกับส่วนของท่อปัสสาวะบริเวณฐานขององคชาติ หน้าที่หลั่งเมือกที่เป็นยางเหนียวออกมาก่อนการหลั่งของน้าอสุจิเพื่อหล่อลื่นท่อปัสสาวะ ท่อต่าง ๆ ได้แก่ 1. หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubules) ทาหน้าที่สร้างอสุจิอยู่ภายในอัณฑะ 2. เรตีเทสทิส(rete testis) เป็นหลอดรวมของหลอดสร้างอสุจิมีลักษณะเป็นร่างแหอยู่ทาง ด้านหลังของอัณฑะ 3. ท่อเก็บอสุจิ (epididymis) เป็นท่อยาว ๆ ขดไปมา ทาหน้าที่เก็บอสุจิและสร้างอาหาร เลี้ยงอสุจิ อสุจิจะพักอยู่ในท่อนี้นาน 6 สัปดาห์ จนกระทั่งอสุจิแข็งแรง 4. ท่อนาตัวอสุจิ (vas deferens) เป็นท่อยาวประมาณ 18 นิ้ว หน้าที่ลาเลียงอสุจิไปเก็บที่ ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ การทาหมันถาวรในชายคือการผูกหรือตัดท่อนาตัวอสุจิ
  • 4. 4 5. ท่ออีเจกคูลาทอรี (ejaculatory duct) เป็นท่อที่เกิดจากการรวมกันของท่อนาอสุจิกับเซ มินัลเวซิเคิล ทาหน้าที่ในการบีบตัวปล่อยอสุจิออกสู่ภายนอก 6. ท่อปัสสาวะ(urethra) เป็นทางผ่านของน้าปัสสาวะและน้าอสุจิ กระบวนการสร้างอสุจิ (spermatogenesis) ภายในอัณฑะประกอบด้วยหลอดสร้างอสุจิภายในหลอดนี้มีกลุ่มเซลล์ที่ผนังหลอดเรียกว่าสเปอร์มาโทโก เนียม (spermatogonium) เป็นเซลล์ดิพลอยด์ (2n) เมื่อย่างเข้าสู่วัยหนุ่ม เซลล์สเปอร์มาโทโกเนียม จะมีการแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิส ทาให้ได้สเปอร์มาโทโกเนียมจานวนมาก สเปอร์มาโทโกเนียมบางเซลล์จะพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น จากนั้น primary spermatocyte แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เมื่อจบ meiosis I จะได้ 2 เซลล์ เรียกว่า secondary spermatocyte จากนั้นแบ่ง meiosis II จะได้ spermatid 4 เซลล์ (n) spermatid มีการเปลี่ยนแปลงและเจริญ เป็น spermatozoa หรือ อสุจิ (sperm)โดยสลัดไซโทพลาสซึมส่วนใหญ่ทิ้งไป ส่วนหัวเป็นที่อยู่ของนิวเคลียส ส่วน ปลายสุดของหัวมีถุงอะโครโซม (ภายในมีเอนไซม์เจาะเซลล์ไข่เพื่อการปฏิสนธิ) ส่วนตัวมีไมโทคอนเดรีย ส่วนหางคือ แฟลเจลลัมซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่เรียกว่า primary spermatocyte (2n) ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ประกอบด้วยอวัยวะภายใน ดังต่อไปนี้ - รังไข่ (ovary) - ท่อนาไข่ (fallopian tube หรือ oviduct) - มดลูก (uterus) - ช่องคลอด (vagina) รังไข่ (ovaries) อยู่ทางด้านล่างของช่องท้อง มี 1 คู่ ทาหน้าที่ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิงหนักประมาณ 2- 3 กรัม ท่อนาไข่ ภายในท่อประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ และซิเลีย (cilia) ช่วยในการเคลื่อนที่ของไข่ และบริเวณท่อ นาไข่ส่วนต้นเป็นบริเวณที่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น และถ้าไม่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น ไข่จะสลายไปในที่สุด มดลูก (uterus) อยู่ด้านหลังกระเพาะปัสสาวะ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อหนา ด้านในบุด้วยเยื่อบุมดลูกชั้นใน (endometrium) เป็นที่ฝังตัวของเอ็มบริโอ ช่องคลอด (vagina) เป็นท่อกลวงต่อจากปากมดลูก ประกอบด้วยกล้ามเนื้อยืดหยุ่น มีปลายเปิดออกด้าน นอกเรียกว่า ปากช่องคลอด ทาหน้าที่รองรับอสุจิและคลอดทารก กระบวนการสร้างเซลล์ไข่ (oogenesis) เริ่มตั้งแต่ขณะที่เป็นทารกในครรภ์จะมีเซลล์โอโอโกเนียม (oogonium) เป็นเซลล์ดิพลอยด์ ซึ่งสามารถแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิส ทาให้มีเซลล์ชนิดนี้จานวนมาก แต่เมื่อทารกคลอดออกมา โอโอโกเนียมจะพัฒนาเป็นโอโอไซต์ ระยะแรก (primary oocyte) ซึ่งเป็นเซลล์ดิพลอยด์ โอโอไซต์ระยะแรกแต่ละเซลล์จะถูกล้อมรอบด้วยเซลล์ฟอลลิเคิล เรียกรวมกันว่า ฟอลลิเคิล (follicle) และจะหยุดอยู่ในระยะนี้จนกระทั่งทารกเพศหญิงเจริญเข้าสู่วัยรุ่นและวัยเจริญ พันธุ์ เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์โอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเป็นไมโอซิสระยะแรก แต่เนื่องจากการแบ่งโอ โอไซต์ขั้นที่หนึ่งนี้มีการแบ่งไซโตพลาสซึมไม่เท่ากัน ได้เซลล์ที่มีขนาดใหญ่เรียกโอโอไซต์ขั้นที่สอง (secondary oocyte) และเซลล์ที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า โพลาร์บอดีที่หนึ่ง (first polar body) โดยมากเมื่อมีการเจริญมาถึงโอโอ ไซต์ขั้นที่สอง (secondary oocyte) จะถึงระยะเวลาการตกไข่ (ovulation) เมื่อมีการปฏิสนธิ โอโอไซต์ขั้นที่สอง ซึ่ง อยู่ในระยะ metaphase II จะแบ่งเซลล์ต่อไปและให้ โพลาร์บอดีที่สอง (second polar body) และไข่ (ovum) จะ
  • 5. 5 สังเกตว่ากระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ในแต่ละครั้ง ในแต่ละโอโอไซต์ขั้นที่หนึ่ง จะให้เซลล์ไข่ที่เจริญเต็มที่ ครั้งละ เพียง 1 เซลล์นอกนั้นจะสลายไป การปฏิสนธิ (Fertilization) เมื่ออสุจิผ่านโพรงมดลูกจะเกิดกระบวนการทางชีวเคมีที่เยื่อหุ้มเซลล์และอะโครโซม เรียกว่า capacitation เพื่อให้อสุจิมีประสิทธิภาพในการปฏิสนธิมากขึ้น เมื่ออสุจิพบไข่ อะโครโซมจะปล่อยเอนไซม์ ออกมาย่อยสลายชั้น ต่างๆของผนังเซลล์ไข่จนถึงชั้น zona pellucida ต่อจากนั้นเกิดการรวมตัวของเมมเบรนของเซลล์อสุจิกับไข่ มีผล กระตุ้นให้หลั่งเอนไซม์ที่ผิวไข่ ทาให้ชั้น zona pellucida เปลี่ยนแปลงโดยแข็งขึ้น ทาให้อสุจิตัวอื่นไม่สามารถเข้าผสม กับไข่ได้อีก เมื่อเมมเบรนของเซลล์อสุจิกับไข่รวมกันแล้ว เซลล์ไข่จะแบ่งตัวแบบไมโอซิสต่อทาให้เซลล์ได้ไข่ที่สมบูรณ์ และ second polar body ต่อจากนั้นนิวเคลียสของเซลล์ไข่และนิวเคลียสของเซลล์อสุจิรวมตัวกันเป็นไซโกต จากนั้นจะมีการแบ่งเซลล์จาก 1 เป็น 2 เป็น 4 ไปเรื่อยๆ ในขณะเดียวกันจะเคลื่อนที่จากท่อนาไข่เพื่อไปฝังตัวที่ผนัง มดลูก ซึ่งผนังมดลูกมีลักษณะที่หนามากขึ้นเพื่อเตรียมตัวสาหรับรับไข่ที่ได้รับการผสม การคุมกาเนิด 1. การนับรอบเดือน (Calendar rhythm) 2. ใช้ถุงยางอนามัย (condom) 3. ฝายางครอบปิดปากมดลูกและสารฆ่าอสุจิ 4. รบกวนสภาพในมดลูกเพื่อไม่ให้เอมบริโอฝังตัว 5. ใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด 6. ทาหมันในเพศหญิงโดยตัดท่อนาไข่ ในเพศชายโดยการผูกหรือตัดท่อนาอสุจิ 7. การให้ลูกดูดนมเป็นระยะเวลานานๆจะห้ามไม่ให้ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมน gonadotrophins การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพของระบบสืบพันธุ์ 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดอาหารที่มีไขมันสูงและเพิ่มอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ และถั่ว เมล็ดแห้ง 2. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง แต่ละครั้งไม่น้อยกว่า 30 นาที จะช่วยให้ร่างกาย แข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด ช่วยสร้างเสริมระบบไหลเวียนโลหิตให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง และทาจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ เช่น ทางานอดิเรก นั่ง สมาธิ ฟังเพลง 4. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะ แอลกอฮอล์จะทาให้ระดับฮอร์โมนเพศชายลดลงและทาให้สมรรถภาพ ทางเพศลดลง 5. สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาดและไม่รัดแน่นจนเกินไป 6. ไม่ใช้เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว เครื่องนุ่งห่มร่วมกับผู้อื่น เพราะอาจจะทาให้ติดเชื้อโรคได้ 7. อาบน้าทาความสะอาดร่างกายอย่างทั่วถึง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 8. ไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพราะอาจเกิดการติดเชื้อทางเพศสืบพันธุ์และติดเชื้อเอดส์ 9. หากเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะเพศ ควรปรึกษาแพทย์
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อโครงงานของแต่ละคน 2. คัดเลือกหัวข้อโครงงานจากสมาชิกในกลุ่มที่ดีที่สุด 3. กาหนดหัวข้อที่ต้องการจัดทาสื่อ 4. ส่งแบบร่างโครงงานให้แก่ครูที่ปรึกษา 5. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ในคน 6. จัดทารูปเล่มโครงงาน 7. จัดทาสื่อการเรียน โดยใช้โปรแกรม Power Point 8. นาเสนอให้แก่ผู้ที่สนใจผ่านทาง Blogger 9. ส่งผลงานผ่านทาง CD ภายในประกอบไปด้วยรูปเล่มโครงงาน และPower Point นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรม Power Point 3. โปรแกรม Microsoft Word 4. โปรแกรม paint 5. อินเตอร์เน็ต 6. แผ่นซีดี งบประมาณ เรียกเก็บสมาชิกคนละ 10 บาท สาหรับแผ่นซีดีและกล่องใส่ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน อิสรีย์, แสงพร 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อิสรีย์ 3 จัดทาโครงร่างงาน แสงพร 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน อิสรีย์ 5 ปรับปรุงทดสอบ อิสรีย์ 6 การทาเอกสารรายงาน อิสรีย์ 7 ประเมินผลงาน อิสรีย์, แสงพร 8 นาเสนอโครงงาน อิสรีย์, แสงพร
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถจัดทาสื่อเพื่อการศึกษาได้ 2. ได้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสืบพันธุ์ในคน ตลอดจนวิธีการคุมกาเนิด การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพ ของระบบสืบพันธุ์ 3. ผู้ที่สนใจได้รับความรู้เรื่องการสืบพันธุ์ในคน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และบ้านของผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. กลุ่มการเรียนรู้สุขศึกษา 3. กลุ่มการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง 1. จิรัสย์ เจนพาณิชย์. 2552. การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต. ใน BIOLOGY for high school students, 105-117. บูมคัลเลอร์ไลน์. กรุงเทพฯ. 2. 54040267t. 2556. ระบบสืบพันธุ์เพศชายและระบบสืบพันธุ์เพศหญิง. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต, https://54040267t.wordpress.com/ระบบประสาท-ระบบสืบพันธุ์/ระบบสืบพันธุ์เพศชายและ/, ค้นเมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559 3. บานเย็น จันทราฤทธิกุล. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต, http://www.neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_content&task=view&id =1964, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559 4. สถาพร วรรณธนวิจารณ์ และธัญญรัตน์ ดาเกาะ. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต, www.mwit.ac.th/~panom/Bio40145/reproduction.doc, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559 5. สิปป์แสง สุขผล. ออนไลน์. สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต, https://sipsang.files.wordpress.com/2012/05/chapter6.pdf, ค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2559