SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy
โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทย
การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการสร้างฐานเศรษฐกิจดิจิทัลนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าจาเป็นต้องอาศัยแรงขับเคลื่อน
จากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นกาลังหลัก สมาคมสมาพันธเเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทย ในฐานะตัวแทนของสมาคม
ที่เกี่ยวข้องทั้ง 14 แห่ง ประกอบด้วย สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภเ สมาคมคอมพิวเตอรเแห่งประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภเ สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟตเแวรเไทย สมาคมเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สมาคมอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรเไทย สมาคมส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมซอฟตเแวรเไทย สมาคมสมองกลฝังตัวไทย สมาคมผู้ประกอบการ
แอนิเมชั่นและคอมพิวเตอรเกราฟฟิกสเไทย สมาคมอีเลิรเนนิงแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟทเแวรเเกมไทย สมาคมดิจิทอลคอนเทนทเ
ไทย สมาคมโอเพนซอรเสแห่งประเทศไทย และสมาคมผู้ให้บริการอินเทอรเเน็ตไทย ขอสรุปผลการระดมความคิดของสมาชิกและผู้เชี่ยวชาญ จัดทา
เป็นข้อเสนอแก่รัฐบาลเพื่อร่วมขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจภาคสังคมและภาคการศึกษาตามนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล โดยมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
เป้ าหมาย ตัวชี้วัด
สร้าง National Broadband Network ให้บริการการเชื่อมต่อการสื่อสารทาง
อินเทอรเเน็ตความเร็วสูง
เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารด้วยความเร็วขั้นต้น 30 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ไม่
น้อยกว่า 90% ของจานวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายในปี 2559 และ
กาหนดเป้ าหมายเป็น 100 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ 95% ภายในปี 2563
การใช้โครงข่ายการสื่อสารร่วมกันอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค
(Infrastructure Sharing & Right of Way)
1. รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ และเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตประเภท 3 มี
สิทธิ์เท่าเทียมกันในปี 2558
2. ลดการลงทุนที่ซ้าซ้อนประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศได้อย่าง
น้อย 15% ในปี 2559
สร้าง International Gateway เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการ
สร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลเชื่อมโยงกับหลายปลายทางเพื่อความมั่นคง
ทางการสื่อสาร และกาหนดยุทธเศาสตรเให้ไทยเป็นศูนยเกลางของ
การส่งข้อมูลความเร็วสูงในภูมิภาค AEC
มีเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลอีก 5 เครือข่าย ภายใน 5 ปี
2. ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Business & E-Commerce)
เป้ าหมาย ตัวชี้วัด
กาหนดยุทธศาสตรเในการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการพาณิชยเ
อิเล็กทรอนิกสเ รวมถึงผลักดันให้เติบโตถึงในระดับภูมิภาค
- เพิ่มจานวนผู้ประกอบการเป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559
- สร้างมูลค่าการค้าในรูปแบบ B2C ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสเไม่น้อยกว่า
5,000 ล้านบาทในปี 2559
สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชยเอิเล็กทรอนิกสเ
ด้วยการสร้างกลไกคุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับสานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองผู้บริโภค)
สร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559
ผลักดันกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสารทางการค้าในรูปแบบดิจิทัล ออกกฎหมายและระเบียบเพื่อรองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเภายในปี 2558
เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่าน
กระบวนการ e-Learning และส่งเสริมการสร้าง Digital Content
ภายในประเทศ
ส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิตคอนเทนตเป้ อน
ภาคการศึกษา ธุรกิจและอุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้าน
บาทในปี 2560
2
ขยายโอกาสให้กับอุตสาหกรรม Digital Content พร้อมปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิม
ให้สอดคล้องกับการแข่งขันในยุคปัจจุบัน
กาหนดยุทธศาสตรเในการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทอล เช่น ซอฟตเแวรเเกม
และแอนิเมชั่นอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจ
ต่างๆ กาหนดยุทธศาสตรเเพื่อการพัฒนาธุรกิจต่างๆ เช่น e-Logistic, e-
Healthcare, e-Tourism
พัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก
(SME) โดยประยุกตเใช้ไอทีเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการ
แข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม
- ลดต้นทุนในการบริหารจัดการของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุม
จานวนผู้ประกอบการ 5,000 ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560
3. ด้านการพัฒนาบุคลากร (People and Resource)
เป้ าหมาย ตัวชี้วัด
พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ บุคลากรภาครัฐจะต้องสามารถใช้งานคอมพิวเตอรเและอินเทอรเเน็ตได้
(information literated) 80% ภายในปี 2558
สร้างมาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที และสร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนา
บุคลากร
กาหนดให้บุคลากรในสายงานไอทีต้องผ่านมาตรฐานวิชาชีพนักไอทีซี ไม่น้อย
กว่า 60 เปอรเเซนตเในปี 2558 และ 100 เปอรเเซนตเในปี 2559
ส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรคเ โดยการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมโครงการสร้างสรรคเ จัดตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี
2558
ส่งเสริมให้เกิดศูนยเกลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Content Data
Center)
จัดตั้งศูนยเกลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ ภายในปี 2560
4. ภาครัฐบาล (Government)
เป้ าหมาย ตัวชี้วัด
พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับกระบวนการทางานให้เป็นดิจิทัล
พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการทางานแบบดิจิทัล
ภายในปี 2559
ออกหรือปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องการทาธุรกรรมดิจิทัลและ
ธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย
ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
ออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การให้บริการ
ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2559
จัดทาโครงการ Smart City เพื่อช่วยในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ครอบคลุม 20 จังหวัดในปี 2558 และ 40 จังหวัดในปี 2559 และทั่วประเทศ
ในปี 2560
จัดทาโครงการ Business Intelligence ภาครัฐเพื่อการพัฒนาและแก้ไข
ปัญหาของชาติได้อย่างทันท่วงที
เริ่มต้นโครงการในปี 2559 และเสร็จสิ้นในปี 2561
กาหนดกลยุทธเในการพัฒนา Business to Government Process ปฏิรูป
การประสานงานระหว่างรัฐและเอกชน
พัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเได้ 40% ในปี 2558 และ
70% ในปี 2559 และเร่งให้ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกสเที่จัดโดย UNPACS
ปฏิรูปบทบาทและหน้าที่คณะกรรมการกากับกิจการโทรคมนาคม กิจการ
กระจายเสียงและกิจการโทรทัศนเแห่งชาติ (กสทช.)
ปรับรูปแบบการบริหารให้สอดคล้องกับพันธกิจด้านโทรคมนาคมและการ
กระจายเสียงตามนโยบายของรัฐบาล พร้อมกาหนดตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม
สร้างความมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภา
ไอซีที เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
จัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
3
รายละเอียดของข้อเสนอในแต่ละด้าน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
National Broadband Network: เพื่อให้นโยบายดิจิทัลอีโคโนมีสามารถบรรลุเป้ าหมายตามกาหนดเวลา รัฐบาลต้องผลักดัน
ให้มีโครงข่าย Broadband ทั้งแบบสายและไร้สาย ให้ครอบคลุมพื้นที่/จานวนประชากรที่สามารถเข้าถึงบริการต่อเชื่อมการ
สื่อสารทางอินเทอรเเน็ตที่ความเร็วสูงเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 30 MB ครอบคลุม 90% ของจานวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายใน
สิ้นปี พ.ศ. 2559 และปรับให้ถึงความเร็วสูงเฉลี่ย 100 MB ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2563 และครอบคลุมพื้นที่ไม่น้อยกว่า 95%
ของพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ทั้งนี้โครงข่ายดังกล่าวจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีเพื่อไม่ให้ข้อมูลในโครงข่ายต่างๆ
ทั้งข้อมูลของภาครัฐ และภาคประชาชน (รายบุคคล) ถูกจารกรรมได้โดยง่าย
Infrastructure Sharing & Right of Way: ผลักดันให้มีใช้โครงข่ายร่วมกันของผู้ให้บริการด้านสื่อสารและด้านบรอดคาสติ้ง
อย่างเป็นธรรมและเสมอภาค เพื่อลดการลงทุนที่ซ้าซ้อน ประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศที่ขายอุปกรณเ
(Infrastructure Sharing) อีกทั้งต้องบังคับใช้กฎหมายเรื่องการมีสิทธิแห่งทางที่ประกาศใช้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงข่าย
และพื้นที่การให้บริการ (Right of way) ให้รัฐบาลเป็นผู้ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น เช่น ท่อร้อยสาย เสาพาดสาย
โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณูปโภคพื้นฐานที่รัฐมีหน้าที่ดาเนินการ และคิดค่าใช้จ่ายในราคาที่สะท้อนต้นทุน
Frequency Management & Allocation: การบริหารและจัดสรรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อกิจการในการขยาย
โครงข่าย Broadband แบบไร้สายเพื่อใช้ในกิจการบริการประชาชน และเพื่อกิจการความมั่นคงตามมาตรฐานสากล รวมทั้ง
ไม่ให้มีการผูกขาดการครอบครองความถี่โดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนรายใดรายหนึ่ง จัดให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่
ให้หน่วยงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ควรส่งเสริมในกรณีรับภาระกิจในการให้บริการสาธารณะ บริการเพื่อสังคม หรือเพื่อความ
ปลอดภัยด้านความมั่นคงประเทศเพื่อรองรับการเป็นศูนยเกลางของ Traffic ของ AEC / GMS ได้มากขึ้น และยังเป็นการกระตุ้น
อุตสาหกรรม Content ในประเทศได้ด้วย
International Gateway: ให้รัฐบาลส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเล (Submarine Cable) และกิจการดาวเทียม
(Satellite) เพิ่มเพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนยเกลางของกิจการสื่อสารและบรอดคาสติ้งความเร็วสูงระหว่างประเทศในภูมิภาค
AEC และเพื่อต่อเชื่อมให้แก่ประเทศจีนตอนใต้/ตะวันตกเฉียงใต้
4
ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Business & E-Commerce)
e-Commerce: รวบรวมและส่งเสริมผู้ประกอบการ E-commerce เป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559 จากเดิม 50,000 ราย
พร้อมเพิ่มมูลค่าการขายสินค้าประเภท B2C ออกไปสู่ต่างประเทศในระดับภูมิภาค 5,000 ล้านบาทในปี 2559 พร้อมสร้าง
ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชยเอิเล็กทรอนิกสเ ด้วยการสร้างกลไกคุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) เพื่อสร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559
ส่วนการค้าออนไลนเแม้จะสามารถทาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสเได้อยู่แล้ว แต่ข้อจากัดทางกฎหมายหรือระเบียบราชการ
บางประการทาให้ยังไม่สามารถดาเนินการให้เป็นดิจิทัลเต็มรูปได้ จึงเสนอให้รัฐบาลออกกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสาร
เช่น ใบแจ้งหนี้ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี และเอกสารด้านลอจิสติกสเอื่นๆ ให้ใช้ในรูปแบบดิจิทัลได้ ภายในปี 2558
พร้อมสร้าง Thailand E-Commerce Framework และกาหนด KPI ภาพรวมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Commerce
ภายในประเทศไทย (ทั้งภาครัฐและเอกชน)
Business Competitiveness: เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านกระบวนการ e-Learning
และส่งเสริมการสร้าง Digital Content ภายในประเทศ โดยส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิต
คอนเทนตเป้ อนภาคการศึกษา ธุรกิจและอุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2560 พร้อมพัฒนาแพล็ต
ฟอรเม Digital เพื่อปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิมให้สอดคล้องกับการแข่งขันในยุคปัจจุบัน โดยร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจ
ต่างๆ กาหนดยุทธศาสตรเเพื่อการพัฒนาธุรกิจต่างๆ เช่น e-Logistic, e-Healthcare, e-Tourism และให้การส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรม Animation และ Gaming เพื่อเพิ่มมูลค่าตลาดเกมในประเทศเป็น 15,000 ล้านบาทในปี 2560 ส่วนการสร้าง
บุคลากรป้ อนเข้าสู่อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องนั้น ขอเสนอให้รัฐจัดตั้งกองทุนส่งเสริมบุคลากรด้าน Animation ในวงเงิน 5,000
ล้านบาทในปี 2559 โดยพัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) เพื่อประยุกตเใช้ไอทีใน
การลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันอย่างเป็ นรูปธรรม พร้อมตั้งเป้ าหมายในการลดต้นทุนการบริหารจัดการ
ของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุมจานวนผู้ประกอบการ 5,000 ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560
ด้านการพัฒนาบุคลากร (People and Resource)
Capacity Building: พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยจัดงบพัฒนาบุคลากรอย่างมีระบบ สร้าง
มาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที สร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร พร้อมส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรคเ โดยการจัดตั้งกองทุน
ส่งเสริมโครงการสร้างสรรคเ 5,000 ล้านบาท ภายในปี 2559 โดยใช้และพัฒนาระบบงานต่างๆ เพื่อลดช่องว่างดิจิทัล และ
5
ส่งเสริมให้เกิด Digital Content Data Center ภายในปี 2559 ส่วนการร่วมมือและวัดผล ขอให้จัดตั้งThailand ICT People
Framework และ KPI เพื่อสร้างภาพรวมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT People ภายในประเทศไทย (ทั้งภาครัฐและเอกชน)
พร้อมการสร้างกระบวนการการเรียนรู้ประสบการณเการใช้ ICT ให้เกิดประโยชนเต่อชุมชน สังคม อย่างสร้างสรรคเ
ภาครัฐบาล (Government)
E-Government: พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล ลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น ปรับกระบวนการทางานให้เป็นดิจิทัล
พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการทางานแบบดิจิทัล ภายในปี 2559 พร้อมออกหรือปรับแก้กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องการทาธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย เช่น กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายจ้างแรงงาน
ต่างชาติ ภายในปี 2558 และออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูล
ภาครัฐภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ แก้ปัญหาความเหลื่อมล้าในการใช้ข้อมูล และเอื้อให้
เอกชนสามารถพัฒนานวัตกรรมการบริการ และสร้างผู้ประกอบการใหม่ ภายในปี 2559 โดยมีโครงการนาร่อง เช่น
Smart City และ การทา Business Intelligence ภาครัฐ เพื่อการพัฒนากระบวนการตัดสินใจเพื่อการบริหารโดยให้แล้วเสร็จ
ในปี 2561
Government to Business: ปฏิรูปการประสานงานระหว่างรัฐและเอกชน โดยพัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเ
ได้ 40% ในปี 2558 และ 70% ในปี 2559 และเร่งให้ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสเที่จัด
โดย UNPAC
Regulatory: กาหนดบทบาทและหน้าที่ตลอดจนขนาดของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนเ และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ใหม่ เพื่อให้มีความรับผิดชอบในการส่งเสริมกิจการสื่อสารและบรอดคาสติ้งตามนโยบาย
ของรัฐบาล และเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องผ่านการกากับดูแลเรื่องใบอนุญาตประกอบกิจการ
ของผู้ประกอบการต่างๆ รวมทั้งการกาหนดคุณสมบัติของคณะกรรมการด้วยความรู้ความชานาญมากกว่ามาจากตัวแทนกลุ่ม
ประโยชนเต่างๆ เช่น กลุ่ม NGO และให้มีขนาดของคณะกรรมระหว่าง 5-7 คน เท่านั้น เพื่อการประหยัดงบประมาณที่ไม่จาเป็น
รวมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางานของคณะกรรมการและสานักงานเลขาธิการคณะกรรมการ กสทช. อีกทั้งรัฐบาล
ควรส่งเสริมให้ Traffic Pushers หรือ Content Providers ผู้ให้บริการข้อมูลต่างๆ เช่น Google / YouTube / Microsoft /
Yahoo / Facebook / Line / Akamai ฯลฯ ให้เข้ามาตั้ง Server เป็น Local Server ในประเทศไทยโดยผ่อนคลายกฏระเบียบ
บางอย่าง เพื่อดึงดูดการลงทุน รวมทั้งส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนยเกลางของธุรกรรมทางอีเลคทรอนิคสเ และสร้างความมี
ส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภาไอซีที เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง โดยตั้งเป้ าหมายในการจัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประ

More Related Content

What's hot

พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data trafficพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data trafficSettapong-Broadband
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ www.nbtc.go.th
 
Digital economy policy
Digital economy policyDigital economy policy
Digital economy policyntc thailand
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong_CyberSecurity
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesSettapong Malisuwan
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2www.nbtc.go.th
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limitedNew Evo'v
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลwutichai
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016Settapong Malisuwan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0Settapong Malisuwan
 

What's hot (15)

Human capability v5
Human capability v5Human capability v5
Human capability v5
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data trafficพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   การคาดการณ์ Data traffic
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การคาดการณ์ Data traffic
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
Digital economy policy
Digital economy policyDigital economy policy
Digital economy policy
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
Uso 2555-2559
Uso 2555-2559Uso 2555-2559
Uso 2555-2559
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2How do it and telecom change ... วตท v2
How do it and telecom change ... วตท v2
 
Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3Disruptive technology and impact v3
Disruptive technology and impact v3
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limited
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 

Viewers also liked

E-invatamant
E-invatamantE-invatamant
E-invatamantSebi Popa
 
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3IMC Institute
 
Retargetting 101
Retargetting 101Retargetting 101
Retargetting 101Regalix
 
Mobile Technology Trends
Mobile Technology TrendsMobile Technology Trends
Mobile Technology TrendsIMC Institute
 
Mobile Social Marketing
Mobile Social MarketingMobile Social Marketing
Mobile Social MarketingIMC Institute
 
Technology Integration Project
Technology Integration ProjectTechnology Integration Project
Technology Integration Projectkaraleeanne
 

Viewers also liked (6)

E-invatamant
E-invatamantE-invatamant
E-invatamant
 
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3
Java Web Programming Using Cloud Platform: Module 3
 
Retargetting 101
Retargetting 101Retargetting 101
Retargetting 101
 
Mobile Technology Trends
Mobile Technology TrendsMobile Technology Trends
Mobile Technology Trends
 
Mobile Social Marketing
Mobile Social MarketingMobile Social Marketing
Mobile Social Marketing
 
Technology Integration Project
Technology Integration ProjectTechnology Integration Project
Technology Integration Project
 

Similar to ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประ

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยwww.nbtc.go.th
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารDuangnapa Inyayot
 
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...Electronic Government Agency (Public Organization)
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...www.nbtc.go.th
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong Malisuwan
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)wonvisa
 

Similar to ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประ (20)

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทยพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ ตลาดโทรคมนาคมของประเทศไทย
 
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี ...
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in Thai
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 

More from IMC Institute

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14IMC Institute
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019IMC Institute
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12IMC Institute
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11IMC Institute
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10IMC Institute
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9 IMC Institute
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016IMC Institute
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger IMC Institute
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgIMC Institute
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgIMC Institute
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital TransformationIMC Institute
 

More from IMC Institute (20)

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.org
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 

ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประ

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทย การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการสร้างฐานเศรษฐกิจดิจิทัลนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าจาเป็นต้องอาศัยแรงขับเคลื่อน จากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นกาลังหลัก สมาคมสมาพันธเเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทย ในฐานะตัวแทนของสมาคม ที่เกี่ยวข้องทั้ง 14 แห่ง ประกอบด้วย สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภเ สมาคมคอมพิวเตอรเแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภเ สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟตเแวรเไทย สมาคมเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ สมาคมอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรเไทย สมาคมส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมซอฟตเแวรเไทย สมาคมสมองกลฝังตัวไทย สมาคมผู้ประกอบการ แอนิเมชั่นและคอมพิวเตอรเกราฟฟิกสเไทย สมาคมอีเลิรเนนิงแห่งประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟทเแวรเเกมไทย สมาคมดิจิทอลคอนเทนทเ ไทย สมาคมโอเพนซอรเสแห่งประเทศไทย และสมาคมผู้ให้บริการอินเทอรเเน็ตไทย ขอสรุปผลการระดมความคิดของสมาชิกและผู้เชี่ยวชาญ จัดทา เป็นข้อเสนอแก่รัฐบาลเพื่อร่วมขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจภาคสังคมและภาคการศึกษาตามนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล โดยมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) เป้ าหมาย ตัวชี้วัด สร้าง National Broadband Network ให้บริการการเชื่อมต่อการสื่อสารทาง อินเทอรเเน็ตความเร็วสูง เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารด้วยความเร็วขั้นต้น 30 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ไม่ น้อยกว่า 90% ของจานวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายในปี 2559 และ กาหนดเป้ าหมายเป็น 100 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ 95% ภายในปี 2563 การใช้โครงข่ายการสื่อสารร่วมกันอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค (Infrastructure Sharing & Right of Way) 1. รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ และเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตประเภท 3 มี สิทธิ์เท่าเทียมกันในปี 2558 2. ลดการลงทุนที่ซ้าซ้อนประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศได้อย่าง น้อย 15% ในปี 2559 สร้าง International Gateway เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการ สร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลเชื่อมโยงกับหลายปลายทางเพื่อความมั่นคง ทางการสื่อสาร และกาหนดยุทธเศาสตรเให้ไทยเป็นศูนยเกลางของ การส่งข้อมูลความเร็วสูงในภูมิภาค AEC มีเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลอีก 5 เครือข่าย ภายใน 5 ปี 2. ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Business & E-Commerce) เป้ าหมาย ตัวชี้วัด กาหนดยุทธศาสตรเในการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการพาณิชยเ อิเล็กทรอนิกสเ รวมถึงผลักดันให้เติบโตถึงในระดับภูมิภาค - เพิ่มจานวนผู้ประกอบการเป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559 - สร้างมูลค่าการค้าในรูปแบบ B2C ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสเไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2559 สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชยเอิเล็กทรอนิกสเ ด้วยการสร้างกลไกคุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับสานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค) สร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559 ผลักดันกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสารทางการค้าในรูปแบบดิจิทัล ออกกฎหมายและระเบียบเพื่อรองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเภายในปี 2558 เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่าน กระบวนการ e-Learning และส่งเสริมการสร้าง Digital Content ภายในประเทศ ส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิตคอนเทนตเป้ อน ภาคการศึกษา ธุรกิจและอุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้าน บาทในปี 2560
  • 4. 2 ขยายโอกาสให้กับอุตสาหกรรม Digital Content พร้อมปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิม ให้สอดคล้องกับการแข่งขันในยุคปัจจุบัน กาหนดยุทธศาสตรเในการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทอล เช่น ซอฟตเแวรเเกม และแอนิเมชั่นอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจ ต่างๆ กาหนดยุทธศาสตรเเพื่อการพัฒนาธุรกิจต่างๆ เช่น e-Logistic, e- Healthcare, e-Tourism พัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) โดยประยุกตเใช้ไอทีเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการ แข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม - ลดต้นทุนในการบริหารจัดการของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุม จานวนผู้ประกอบการ 5,000 ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560 3. ด้านการพัฒนาบุคลากร (People and Resource) เป้ าหมาย ตัวชี้วัด พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ บุคลากรภาครัฐจะต้องสามารถใช้งานคอมพิวเตอรเและอินเทอรเเน็ตได้ (information literated) 80% ภายในปี 2558 สร้างมาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที และสร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนา บุคลากร กาหนดให้บุคลากรในสายงานไอทีต้องผ่านมาตรฐานวิชาชีพนักไอทีซี ไม่น้อย กว่า 60 เปอรเเซนตเในปี 2558 และ 100 เปอรเเซนตเในปี 2559 ส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรคเ โดยการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมโครงการสร้างสรรคเ จัดตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2558 ส่งเสริมให้เกิดศูนยเกลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Content Data Center) จัดตั้งศูนยเกลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ ภายในปี 2560 4. ภาครัฐบาล (Government) เป้ าหมาย ตัวชี้วัด พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับกระบวนการทางานให้เป็นดิจิทัล พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการทางานแบบดิจิทัล ภายในปี 2559 ออกหรือปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องการทาธุรกรรมดิจิทัลและ ธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 ออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและ แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการ ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2559 จัดทาโครงการ Smart City เพื่อช่วยในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ครอบคลุม 20 จังหวัดในปี 2558 และ 40 จังหวัดในปี 2559 และทั่วประเทศ ในปี 2560 จัดทาโครงการ Business Intelligence ภาครัฐเพื่อการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาของชาติได้อย่างทันท่วงที เริ่มต้นโครงการในปี 2559 และเสร็จสิ้นในปี 2561 กาหนดกลยุทธเในการพัฒนา Business to Government Process ปฏิรูป การประสานงานระหว่างรัฐและเอกชน พัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเได้ 40% ในปี 2558 และ 70% ในปี 2559 และเร่งให้ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาล อิเล็กทรอนิกสเที่จัดโดย UNPACS ปฏิรูปบทบาทและหน้าที่คณะกรรมการกากับกิจการโทรคมนาคม กิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศนเแห่งชาติ (กสทช.) ปรับรูปแบบการบริหารให้สอดคล้องกับพันธกิจด้านโทรคมนาคมและการ กระจายเสียงตามนโยบายของรัฐบาล พร้อมกาหนดตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม สร้างความมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภา ไอซีที เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
  • 5. 3 รายละเอียดของข้อเสนอในแต่ละด้าน ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) National Broadband Network: เพื่อให้นโยบายดิจิทัลอีโคโนมีสามารถบรรลุเป้ าหมายตามกาหนดเวลา รัฐบาลต้องผลักดัน ให้มีโครงข่าย Broadband ทั้งแบบสายและไร้สาย ให้ครอบคลุมพื้นที่/จานวนประชากรที่สามารถเข้าถึงบริการต่อเชื่อมการ สื่อสารทางอินเทอรเเน็ตที่ความเร็วสูงเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 30 MB ครอบคลุม 90% ของจานวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายใน สิ้นปี พ.ศ. 2559 และปรับให้ถึงความเร็วสูงเฉลี่ย 100 MB ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2563 และครอบคลุมพื้นที่ไม่น้อยกว่า 95% ของพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ทั้งนี้โครงข่ายดังกล่าวจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีเพื่อไม่ให้ข้อมูลในโครงข่ายต่างๆ ทั้งข้อมูลของภาครัฐ และภาคประชาชน (รายบุคคล) ถูกจารกรรมได้โดยง่าย Infrastructure Sharing & Right of Way: ผลักดันให้มีใช้โครงข่ายร่วมกันของผู้ให้บริการด้านสื่อสารและด้านบรอดคาสติ้ง อย่างเป็นธรรมและเสมอภาค เพื่อลดการลงทุนที่ซ้าซ้อน ประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศที่ขายอุปกรณเ (Infrastructure Sharing) อีกทั้งต้องบังคับใช้กฎหมายเรื่องการมีสิทธิแห่งทางที่ประกาศใช้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงข่าย และพื้นที่การให้บริการ (Right of way) ให้รัฐบาลเป็นผู้ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น เช่น ท่อร้อยสาย เสาพาดสาย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณูปโภคพื้นฐานที่รัฐมีหน้าที่ดาเนินการ และคิดค่าใช้จ่ายในราคาที่สะท้อนต้นทุน Frequency Management & Allocation: การบริหารและจัดสรรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อกิจการในการขยาย โครงข่าย Broadband แบบไร้สายเพื่อใช้ในกิจการบริการประชาชน และเพื่อกิจการความมั่นคงตามมาตรฐานสากล รวมทั้ง ไม่ให้มีการผูกขาดการครอบครองความถี่โดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนรายใดรายหนึ่ง จัดให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่ ให้หน่วยงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ควรส่งเสริมในกรณีรับภาระกิจในการให้บริการสาธารณะ บริการเพื่อสังคม หรือเพื่อความ ปลอดภัยด้านความมั่นคงประเทศเพื่อรองรับการเป็นศูนยเกลางของ Traffic ของ AEC / GMS ได้มากขึ้น และยังเป็นการกระตุ้น อุตสาหกรรม Content ในประเทศได้ด้วย International Gateway: ให้รัฐบาลส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเล (Submarine Cable) และกิจการดาวเทียม (Satellite) เพิ่มเพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนยเกลางของกิจการสื่อสารและบรอดคาสติ้งความเร็วสูงระหว่างประเทศในภูมิภาค AEC และเพื่อต่อเชื่อมให้แก่ประเทศจีนตอนใต้/ตะวันตกเฉียงใต้
  • 6. 4 ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Business & E-Commerce) e-Commerce: รวบรวมและส่งเสริมผู้ประกอบการ E-commerce เป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559 จากเดิม 50,000 ราย พร้อมเพิ่มมูลค่าการขายสินค้าประเภท B2C ออกไปสู่ต่างประเทศในระดับภูมิภาค 5,000 ล้านบาทในปี 2559 พร้อมสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชยเอิเล็กทรอนิกสเ ด้วยการสร้างกลไกคุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) เพื่อสร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559 ส่วนการค้าออนไลนเแม้จะสามารถทาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสเได้อยู่แล้ว แต่ข้อจากัดทางกฎหมายหรือระเบียบราชการ บางประการทาให้ยังไม่สามารถดาเนินการให้เป็นดิจิทัลเต็มรูปได้ จึงเสนอให้รัฐบาลออกกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสาร เช่น ใบแจ้งหนี้ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี และเอกสารด้านลอจิสติกสเอื่นๆ ให้ใช้ในรูปแบบดิจิทัลได้ ภายในปี 2558 พร้อมสร้าง Thailand E-Commerce Framework และกาหนด KPI ภาพรวมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Commerce ภายในประเทศไทย (ทั้งภาครัฐและเอกชน) Business Competitiveness: เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านกระบวนการ e-Learning และส่งเสริมการสร้าง Digital Content ภายในประเทศ โดยส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิต คอนเทนตเป้ อนภาคการศึกษา ธุรกิจและอุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2560 พร้อมพัฒนาแพล็ต ฟอรเม Digital เพื่อปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิมให้สอดคล้องกับการแข่งขันในยุคปัจจุบัน โดยร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจ ต่างๆ กาหนดยุทธศาสตรเเพื่อการพัฒนาธุรกิจต่างๆ เช่น e-Logistic, e-Healthcare, e-Tourism และให้การส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรม Animation และ Gaming เพื่อเพิ่มมูลค่าตลาดเกมในประเทศเป็น 15,000 ล้านบาทในปี 2560 ส่วนการสร้าง บุคลากรป้ อนเข้าสู่อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องนั้น ขอเสนอให้รัฐจัดตั้งกองทุนส่งเสริมบุคลากรด้าน Animation ในวงเงิน 5,000 ล้านบาทในปี 2559 โดยพัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) เพื่อประยุกตเใช้ไอทีใน การลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันอย่างเป็ นรูปธรรม พร้อมตั้งเป้ าหมายในการลดต้นทุนการบริหารจัดการ ของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุมจานวนผู้ประกอบการ 5,000 ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560 ด้านการพัฒนาบุคลากร (People and Resource) Capacity Building: พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยจัดงบพัฒนาบุคลากรอย่างมีระบบ สร้าง มาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที สร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร พร้อมส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรคเ โดยการจัดตั้งกองทุน ส่งเสริมโครงการสร้างสรรคเ 5,000 ล้านบาท ภายในปี 2559 โดยใช้และพัฒนาระบบงานต่างๆ เพื่อลดช่องว่างดิจิทัล และ
  • 7. 5 ส่งเสริมให้เกิด Digital Content Data Center ภายในปี 2559 ส่วนการร่วมมือและวัดผล ขอให้จัดตั้งThailand ICT People Framework และ KPI เพื่อสร้างภาพรวมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ICT People ภายในประเทศไทย (ทั้งภาครัฐและเอกชน) พร้อมการสร้างกระบวนการการเรียนรู้ประสบการณเการใช้ ICT ให้เกิดประโยชนเต่อชุมชน สังคม อย่างสร้างสรรคเ ภาครัฐบาล (Government) E-Government: พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล ลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น ปรับกระบวนการทางานให้เป็นดิจิทัล พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการทางานแบบดิจิทัล ภายในปี 2559 พร้อมออกหรือปรับแก้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องการทาธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย เช่น กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายจ้างแรงงาน ต่างชาติ ภายในปี 2558 และออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูล ภาครัฐภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ แก้ปัญหาความเหลื่อมล้าในการใช้ข้อมูล และเอื้อให้ เอกชนสามารถพัฒนานวัตกรรมการบริการ และสร้างผู้ประกอบการใหม่ ภายในปี 2559 โดยมีโครงการนาร่อง เช่น Smart City และ การทา Business Intelligence ภาครัฐ เพื่อการพัฒนากระบวนการตัดสินใจเพื่อการบริหารโดยให้แล้วเสร็จ ในปี 2561 Government to Business: ปฏิรูปการประสานงานระหว่างรัฐและเอกชน โดยพัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกสเ ได้ 40% ในปี 2558 และ 70% ในปี 2559 และเร่งให้ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสเที่จัด โดย UNPAC Regulatory: กาหนดบทบาทและหน้าที่ตลอดจนขนาดของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนเ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ใหม่ เพื่อให้มีความรับผิดชอบในการส่งเสริมกิจการสื่อสารและบรอดคาสติ้งตามนโยบาย ของรัฐบาล และเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องผ่านการกากับดูแลเรื่องใบอนุญาตประกอบกิจการ ของผู้ประกอบการต่างๆ รวมทั้งการกาหนดคุณสมบัติของคณะกรรมการด้วยความรู้ความชานาญมากกว่ามาจากตัวแทนกลุ่ม ประโยชนเต่างๆ เช่น กลุ่ม NGO และให้มีขนาดของคณะกรรมระหว่าง 5-7 คน เท่านั้น เพื่อการประหยัดงบประมาณที่ไม่จาเป็น รวมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพในการทางานของคณะกรรมการและสานักงานเลขาธิการคณะกรรมการ กสทช. อีกทั้งรัฐบาล ควรส่งเสริมให้ Traffic Pushers หรือ Content Providers ผู้ให้บริการข้อมูลต่างๆ เช่น Google / YouTube / Microsoft / Yahoo / Facebook / Line / Akamai ฯลฯ ให้เข้ามาตั้ง Server เป็น Local Server ในประเทศไทยโดยผ่อนคลายกฏระเบียบ บางอย่าง เพื่อดึงดูดการลงทุน รวมทั้งส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนยเกลางของธุรกรรมทางอีเลคทรอนิคสเ และสร้างความมี ส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภาไอซีที เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยตั้งเป้ าหมายในการจัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558