SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ทัศนวัสดุ จัดอยู่ในประเภท วัสดุไม่ตีพิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุสารสนเทศที่ไม่อยู่ใน
รูปแบบของตัวพิมพ์ และสามารถสื่อ
ความหมายของข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้โดย
อาศัยภาพและเสียงเป็นหลัก
ประเภท
ลักษณะของทัศนวัสดุ
ทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้รับต้องใช้สายตารับรู้
อาจดูด้วยตาเปล่า หรือใช้เครื่องฉายช่วยขยายภาพ
ทัศนวัสดุ มีหลายประเภทดังนี้
อาจเป็นภาพเขียน ภาพถ่าย หรือภาพพิมพ์
ซึ่งจะแสดงเนื้อหาให้เข้าใจเรื่องราวจากภาพ
รูปภาพ
รูปภาพสามารถนามาใช่ในการเรียนการสอนได้ นอกจากนี้ยัง
สามารถนารูปภาพ มาใช้ในการจัดป้ายนิเทศ เพื่อเร้าความสนใจ
ของผู้เรียน นาเข้าสู่บทเรียน และนามาใช้ในการจัดนิทรรศการได้
จุดเด่น : ช่วยชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา
ข้อจากัด : ภาพบางประเภทอาจไม่สัมพันธ์กับของจริง ซึ่งอาจไม่ช่วยให้
เกิดความเข้าใจที่ดีได้
ประโยชน์ของรูปภาพ
จุดเด่นและข้อจากัด
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ใช้แสดงลักษณะ
ของพื้นผิวโลก และสภาพภูมิอากาศเช่นเดียวกับ
แผนที่ ต่างกันตรงที่ลูกโลกจะมีรูปร่างเป็นทรงกลม
อาจทาจากกระดาษ,พลาสติก หรืออื่นๆ
ลูกโลก
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
 ใช้เป็นอุปกรณ์การเรียนการสอน ช่วยให้เข้าใจลักษณะภูมิประเทศ สัณฐาน
ของโลกเสมือนจริง ทั้งรูปร่างของพื้นดิน และพื้นน้าได้ดีและเด่นชัดกว่าแผนที่
ช่วยให้ทราบตาแหน่งที่ตั้งของประเทศ เมืองหลวงได้อย่างรวดเร็ว เพราะ
มองเห็นได้ง่าย
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ประโยชน์ของลูกโลก
จุดเด่น : แสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ได้ชัดเจนสมจริง เพราะมีรูปทรง
และทิศทางการหมุนที่จาลองมาจากโลกจริงๆ
ข้อจากัด : ขนาดที่ใหญ่ไม่สะดวกในการพกพา
จุดเด่นและข้อจากัด
คือภาพโปร่งใสจานวนหนึ่งซึ่งมีข้อความเนื้ อหาที่
ต่อเนื่องกัน โดยถ่ายเรียงลาดับติดต่อกัน อาจเป็นภาพสีหรือ
ขาวดา มีคาบรรยายหรือไม่มีก็ได้
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ภาพเลื่อน หรือ ฟิล์มสตริป
ใช้สะดวกเนื่องจากบรรจุม้วนฟิล์มเล็กๆ เพียงม้วนเดียวแต่เสนอ
ภาพได้จานวนมาก
จุดเด่น : สะดวกในการใช้และเก็บรักษา
ข้อจากัด : ไม่สามารถตัดต่อ สลับหรือใช้ภาพกับเรื่องอื่น ๆได้
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ประโยชน์ของภาพเลื่อน หรือ ฟิล์มสตริป
จุดเด่นและข้อจากัด
เป็นภาพนิ่งที่บันทึกลงฟิล์มโปร่งแสงหรือกระจก
มีทั้งสีและขาวดา
ภาพนิ่ง หรือ สไลด์
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ภาพนิ่งมีประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ ภาพนิ่งนาเอาสิ่ง
ที่ผู้เรียนไม่เคยพบหรือที่อยู่ห่างไกลเกี่ยวกับดินแดน ประชากร
และสิ่งต่างๆเข้ามาสู่ห้องเรียนได้ เช่น การเรียนเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์หรือภูมิศาสตร์ต่างประเทศ
ประโยชน์ของภาพนิ่ง หรือ สไลด์
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
จุดเด่น : สามารถปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยได้ง่าย
ข้อจากัด : ต้องฉายในห้องที่มีแสงสว่างน้อย
จุดเด่นและข้อจากัด
เป็นภาพที่สร้างขึ้นด้วยการวาดลงบน
แผ่นพลาสติกหรืออาซีเตท (Acetate)
แผ่นภาพโปร่งใส
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ผู้บรรยายสามารถใช้แผ่นโปร่งใสในขณะที่ยืนอยู่หน้าห้องพร้อมกับ
หันหน้าเข้าหาผู้ดูได้ตลอดเวลาที่อธิบาย และสามารถชี้แสดงส่วนต่าง ๆ
ในแผ่นโปร่งใสได้โดยไม่ต้องชี้ที่จอฉาย
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ประโยชน์ของแผ่นภาพโปร่งใส
จุดเด่น : สามารถใช้ได้ในที่ที่มีแสงสว่าง
ข้อจากัด : ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนน้อย
จุดเด่นและข้อจากัด
เป็นวัสดุสามมิติที่ทาขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ
ของจริง ซึ่งอาจมีขนาดเท่าของจริง ย่อให้มีขนาด
เล็กกว่าของจริง หรือขยายใหญ่กว่าของจริงเพื่อ
สะดวกในการศึกษาสิ่งต่างๆ เช่น หุ่นจาลอง
อวัยวะในร่างกาย ศิลาจารึก ฯลฯ
หุ่นจาลอง (Model)
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ช่วยให้ผู้ชมเข้าใจง่ายขึ้น ถูกต้องมากกว่าของจริง เพราะหุ่นจาจอง
สามารถตัดส่วนที่ซับซ้อนออกได้ สามารถย่อ หรือขยายขนาดขึ้นได้
สามารถแสดงได้ทั้งภายนอกภายใน สามารถคงรูปเดิมที่ชัดเจนเป็นต้น
ประโยชน์ของหุ่นจาลอง
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
จุดเด่น : สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้
ข้อจากัด : อาจสร้างความเข้าใจผิดได้หากสร้างได้ไม่เหมือนของจริง
จุดเด่นและข้อจากัด
เป็นของจริงที่นำมำแสดงให้เห็น
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
ของจริง (Realia)
ช่วยเป็ นสื่อการเรียนการสอนที่ให้ประโยชน์ในการเรียนรู้ของ
นักเรียนเป็นอย่างยิ่งเพราะเป็นสิ่งที่ผู้เรียนได้ประสบโดยตรงด้วย
ตนเอง อาจเป็นไปในลักษณะต่าง ๆ เช่น ได้เห็น ได้ชิม ได้กลิ่น ได้จับ
เป็นต้น
ประโยชน์ของของจริง
ประเภททัศนวัสดุ (ต่อ)
จุดเด่น : แสดงสภาพได้ตามความเป็นจริง
ข้อจากัด : เก็บรักษาลาบาก
จุดเด่นและข้อจากัด
เป็นสารนิเทศที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจ ได้ง่าย มักใช้เป็น
อุปกรณ์ การสอนในชั้นเรียนและใช้ประโยชน์ในวงการธุรกิจ
เนื่องจากมีคุณค่าทางการศึกษาและ การบริหารงานทางธุรกิจ
บทบาทในสังคมปัจจุบัน
จบการนาเสนอ
สมาชิกในกลุ่ม
นำงสำวฮัฟนันท์ มะบำยะ 405904001
นำยซอฟวัน มะลี 405904008
นำงสำวมูรนี มำหำมะ 405904017
นำงสำวรุสมี มะรือสะ 405904030

More Related Content

What's hot

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้ratiporn-hk
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3Bee Bie
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 

What's hot (9)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 

Similar to G.14(18.ทัศนวัสดุ)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7pajyeeb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7pajyeeb
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 

Similar to G.14(18.ทัศนวัสดุ) (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

G.14(18.ทัศนวัสดุ)