SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
พัน ธกรณีข อง
ประเทศไทยภายใต้อนุ
อ นุ
สัญ ญารอตเตอร์ด ัม

ว่า ด้ว ยกระบวนการแจ้ง ข้อ มูล
สารเคมีล ่ว งหน้า สำา หรับ สารเคมี
อัน ตรายและสารเคมีป ้อ งกัน
กำา จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์บ างชนิด
ในการค้า ระหว่า งประเทศ
Rotterdam Convention on the Prior Informed
Consent Procedure for Certain
ความเป็น มา

•จากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และ
สัง คม ทำา ให้ท ั้ง ภาคอุต สาหกรรมและภาค
เกษตรกรรมต้อ งเร่ง การผลิต สิง อุป โภค
่
บริโ ภค เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการของ
จำา นวนประชากรที่เ พิ่ม มากขึ้น ส่ง ผลให้ม ี
การนำา สารเคมีใ นรูป แบบต่า งๆ มาใช้ม าก
ขึ้น ทั้ง ใช้ใ นภาคอุต สาหกรรม ภาค
เกษตรกรรม ภาคครัว เรือ น และการ
สาธารณูป โภคต่า งๆ เป็น ต้น
•การใช้ส ารเคมีใ นด้า นต่า งๆ ดัง กล่า ว
ก่อ ให้เ กิด ปัญ หาสิง แวดล้อ มและสุข ภาพ
่
อนามัย ของประชาชนเพิ่ม มากขึ้น เนือ งจาก
สารเคมีบ างชนิด ที่น ำา มาใช้เ ป็น สารอัน ตราย
ความเป็น มา (ต่อ )

•เมือ ปี พ.ศ. 2528 องค์ก ารอาหารและเกษตร
่
แห่ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture
Organization of the United Nations : FAO)
ได้ก ำา หนดให้ม ก ารแลกเปลี่ย นข้อ มูล โดยสมัต รใจ
ี
ไว้ใ นจรรยาบรรณระหว่า งประเทศในเรื่อ งการ
จำา หน่า ยและการใช้ส ารเคมีป ้อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช
ื
และสัต ว์
•เมือ ปี พ.ศ. 2530 โครงการสิ่ง แวดล้อ มแห่ง
่
สหประชาชาติ (United Nations Environment
Programme: UNEP) ได้ก ำา หนดให้ม ก ารแลก
ี
เปลี่ย นข้อ มูล โดยสมัต รใจไว้ใ นแนวทางการแลก
ความเป็น มา (ต่อ )

•เมือ ปี พ.ศ. 2535 ในการประชุม Rio Earth
่
Summit ได้ใ ห้ก ารรับ รองแผนปฏิบ ัต ิก ารบทที่ 19
ภายใต้แ ผนปฏิบ ัต ก าร 21 (Agenda 21) ให้ม ี
ิ
มาตรการทางกฎหมายรองรับ การแจ้ง ข้อ มูล สาร
เคมีล ่ว งหน้า ภายในปี พ .ศ. 2543
ในระหว่า งปี พ.ศ.
2539-2541 ได้จ ัด ให้ม ี
การประชุม คณะ
กรรมการเจรจาระหว่า ง
รัฐ บาล รวมทัง สิ้น 5 ครั้ง
้
จึง บรรลุข ้อ ตกลงในหลัก
เกณฑ์ส ำา คัญ ของอนุ
อนุส ญ ญารอตเตอร์ด ม ฯ ได้เ ปิด ให้ม ก าร
ั
ั
ี
สัญ ญารอตเตอร์ด ัม ฯ
รับ รองและลงนาม ในการประชุม ผู้ม อ ำา นาจเต็ม ณ
ี
เมือ งรอตเตอร์ด ม ราชอาณาจัก รเนเธอร์แ ลนด์ เมือ
ั
่
วัน ที10 - 11กัน ยายน 2541
่
วัต ถุป ระสงค์
ส่งเสริมความร่วมมือและรับผิดชอบระหว่างประเทศ ใน
เรื่องการค้าสารเคมีอันตรายบางชนิด เพื่อปกป้อง
สุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากอันตราย
ของสารเคมี และเพือส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างไม่เป็น
่
อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้มการแจ้งหรือการแลก
ี
เปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสารเคมีแก่ผู้มีอำานาจ
ตัดสินใจของชาติ ได้
ทราบถึงการ
นำาเข้าและ
ส่งออก สารเคมีอันตราย
ต้องห้ามหรือจำากัดการใช้อย่าง
เข้มงวด และสูตรผสมของสารเคมี
ป้องกันกำาจัดศัตรูพชและสัตว์ที่
ื
เป็น
อันตรายอย่างร้ายแรง
และให้มการ
ี
กระจาย
หลัก การและความ
สำาาคัญ
เป็นอนุสญญาระหว่ งประเทศในการควบคุม
ั

การนำาเข้าและการส่งออกสารเคมีอันตรายต้อง
ห้ามหรือจำากัดการใช้อย่างเข้มงวด และสูตรผสม
ของสารเคมีปองกันกำาจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็น
้
อันตรายอย่างร้ายแรง โดยมีว ัต ถุป ระสงค์ใ ห้ม ี
การแจ้ง ข้อ มูล สารเคมีล ว งหน้า จากประเทศ
่
ผูส ง ออกไปยัง ประเทศผูน ำา เข้า เพื่อร่วมมือ
้ ่
้
และรับผิดชอบร่วมกันในหมู่ภาคีในเรื่องสารเคมี
อันตรายบางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ เพื่อ
ปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิงแวดล้อม
่
จากอันตรายของสารเคมี และเพื่อส่งเสริมการใช้
สารเคมีอย่างไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมโดย
การแลกเปลี่ย นข้อ มูล เกี่ย วกับ ลัก ษณะของ
อนุส ัญ ญารอตเตอร์ด ัม
ประเทศไทยเข้า เป็น ภาคีใ นอนุส ญ ญาฯ โดย
ั
ภาคยานุว ต ิ เมือ วัน ที่ 19 กุม ภาพัน ธ์ พ.ศ. 2545
ั
่
อนุส ญ ญาฯ มีผ ลบัง คับ ใช้ 24 กุม ภาพัน ธ์ พ.ศ.2547
ั
ขอบเขตของอนุส ญ ญาฯ
ั
สารเคมีต ้อ งห้า ม
สารเคมีท ถ ูก จำา กัด การใช้อ ย่า งเข้ม งวด
ี่
สูต รผสมของสารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ี่
้
ื
เป็น อัน ตรายอย่า งร้า ยแรง
มีก ารกำา หนดรายชือ สารเคมีท ี่ถ ก ควบคุม ภายใต้อ นุ
่
ู
สัญ ญาฯ ณ ปัจ จุบ น มีส ารเคมีท ค รอบคลุม ภายใต้
ั
ี่
อนุส ญ ญา 41 รายการ แบ่ง เป็น
ั
สารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์ 24 รายการ
้
สูต รผสมของสารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ี่
้
ื
เป็น อัน ตรายอย่า งร้า ยแรง 6 รายการ
พัน ธกรณีส ำำ คัญ ของ
อนุส ัญ ญำ
ภำคีตองใช้มำตรกำรที่เหมำะสมทำงกำรบริหำร
้

และทำงกฎหมำย และภำคีสมำชิกจะต้องแจ้ง
ข้อมูล มำตรกำร กฎระเบียบของประเทศภำยใน
90 วัน หลังจำกวันที่มำตรกำรนั้นมีผลบังคับใช้ (
ข้อ ที่ 5)
จัดทำำข้อเสนอบัญชีรำยชือสูตรผสมของสำรเคมี
่
ป้องกันกำำจัดศัตรูพชและสัตว์ ที่เป็นอันตรำยอย่ำง
ื
ร้ำยแรงเพิมเติม (ข้อ ที่ 6)
่
แจ้งตอบรับนำำเข้ำ ดำำเนินกำรตำมกระบวนกำร
แจ้งข้อมูลสำรเคมีล่วงหน้ำ (ข้อ ที่ 10)
กำรประกันว่ำไม่ส่งออกสำรเคมีไปยังภำคีผู้นำำ
เข้ำที่ไม่ได้แจ้งท่ำที หรือแจ้งท่ำทีชวครำว ที่ไม่ได้
ั่
รวมอยู่ในกำรตัดสินใจชัวครำว (ข้อ ที่ 11)
่
พัน ธกรณีส ำำ คัญ ของ
อนุส ัญ ญำ (ต่อ )

จัดส่งข้อมูลที่จำำเป็นพร้อมกับสำรเคมีที่ส่งออก
อำทิ รหัสระบบศุลกำกรจำำเพำะ กำรติดฉลำก
และเอกสำร MSDS (ข้อ ที่ 13)
ให้มีกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลด้ำนวิทยำศำสตร์
เทคนิค เศรษฐกิจและกฎหมำย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
สำรเคมีที่อยู่ในขอบเขตของอนุสญญำฯ รวมทั้ง
ั
ข้อมูลด้ำนพิษวิทยำ พิษวิทยำสิ่งแวดล้อมและ
ควำมปลอดภัย (ข้อ ที่ 14)
ส่งเสริมควำมร่วมมือทำงเทคนิคในกำรพัฒนำ
โครงสร้ำงพื้นฐำน และขีดควำมสำมำรถในกำร
กรณีป ระเทศไทย
สำำหรับประเทศไทย กรมวิชำกำรเกษตรได้เสนอขอควำม
เห็นจำกคณะกรรมกำรวัตถุอันตรำย และมีมติเห็นชอบให้นำำ
พระรำชบัญ ญัต ิว ัต ถุอ ัน ตรำย พ .ศ. 2535 มำใช้รองรับ
เพือกำรให้สัตยำบันและปฏิบัติตำมอนุสัญญำฯ และยังมีกฎ
่
หมำยอื่นๆ ทีเกี่ยวข้อง ได้แก่
่
พระรำชบัญ ญัต ิศ ล กำกร พ.ศ.2469
ุ
พระรำชบัญ ญัต ิศ ุล กำกร (ฉบับ ที่ 9) พ.ศ.2482
พระรำชบัญ ญัต ิก ำรส่ง ออกไปนอกและนำำ เข้ำ มำ
ในรำชอำณำจัก รซึ่ง สิน ค้ำ พ .ศ. 2522
พระรำชบัญ ญัต ิก ำรเดิน เรือ ในน่ำ นนำำ ไทย (ฉบับ ที่
้
14) พ.ศ.2535
พระรำชบัญญัติวัตถุอนตรำย
ั
พ.ศ. 2535

“มำตรำ 18 วัตถุอันตรำยแบ่งออกตำมควำมจำำเป็นแก่
กำรควบคุม ดังนี้
(1) …
(2) …
(3) วัตถุอันตรำยชนิดที่ 3 ได้แก่วัตถุอันตรำยที่กำรผลิต
กำรนำำเข้ำ กำรส่ง ออก หรือกำรมีไว้ในครอบครองต้อง
ได้รับใบอนุญำต
(4) วัตถุอันตรำยชนิดที่ 4 ได้แก่วัตถุอนตรำยที่ห้ำมมิให้
ั
มีกำรผลิต กำรนำำเข้ำ กำรส่งออก หรือกำรมีไว้ในครอบ
ครอง”
ตำมพระรำชบัญ ญัต ิข ้ำ งต้น
กำำ หนดให้ส ำรเคมี
ป้อ งกัน กำำ จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ั้ง หมดตำมอนุ
ื
สัญ ญำฯ เป็น วัต ถุอ ัน ตรำยชนิด ที่ 4 ส่ว นสำรเคมี
ประโยชน์ท ี่ไ ด้จ ำกเข้ำ
เป็น ภำคีษ ย์แ ละสิง
ปกป้อ งสุข ภำพของมนุ
่

แวดล้อ ม จำกควำมเสีย งที่เ กิด จำกกำรใช้
่
สำรเคมีอ ัน ตรำย
ควบคุม กำรนำำ เข้ำ กำรส่ง ออก สำรเคมี
อัน ตรำยได้อ ย่ำ งเข้ม งวดและเป็น ระบบ
ได้ร ับ ทรำบข้อ มูล ข่ำ วสำที่เ กี่ย วข้อ งกับ
สำรเคมี เพื่อ ประกอบกำรตัด สิน ใจก่อ น
นำำ เข้ำ
ใช้ใ นกำรประเมิน ควำมเสีย งอัน ตรำย
่
จำกสำรเคมี
มีส ท ธิเ สนอบัญ ชีร ำยชื่อ สูต รผสมสำร
ิ
เคมีป อ งกัน กำำ จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์ท ี่เ ป็น
้
ประโยชน์ท ี่ไ ด้จ ำกเข้ำ
เป็นวภำคี (ต่อ )
ได้ร ับ ควำมช่ ยเหลือ ทำงวิช ำกำรและงบ

ประมำณ ในกำรจัด กำรสำรเคมีเ พื่อ ให้
ดำำ เนิน กำรได้อ ย่ำ งถูก ต้อ ง ตลอดจน
สำมำรถจัด กำรสำรเคมีอ ัน ตรำยได้อ ย่ำ งมี
ประสิท ธิภ ำพ และให้ส ่ง ผลกระทบต่อ สิ่ง
แวดล้อ มน้อ ยที่ส ุด
ป้อ งกัน กำรนำำ เข้ำ และส่ง ออก สำรเคมี
อัน ตรำยอย่ำ งผิด กฎหมำยระหว่ำ งประเทศ
ปกป้อ งมิใ ห้ม ีก ำรลัก ลอบทิ้ง สำรเคมี
อัน ตรำยเข้ำ มำในประเทศ
แสดงบทบำทของประเทศไทยในกำร
ดำำ เนิน กำรตำมพัน ธกรณีจ ำกกำรประชุม
สหประชำชำติว ่ำ ด้ว ยสิ่ง แวดล้อ มและกำร
หน่ว ยงำนผู้ม ีอ ำำ นำจ
ของรัฐ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิช ำกำร

เกษตร เป็นตัวแทนผูมีอำำนำจของรัฐ
้
(Designated National Authorities : DNAs)
ด้ำนสำรเคมีป้องกันกำำจัดศัตรูพืชและสัตว์

กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม โดย
กรมควบคุม มลพิษ  เป็น DNA ด้ำนสำรเคมีอนๆ
ื่
นอกเหนือจำกสำรเคมีป้องกันกำำจัดศัตรูพืชและสัตว์
และ
กระทรวงอุตสำหกรรม โดยกรมโรงงำน
อุต สำหกรรม เป็น DNA ด้ำนสำรเคมีอตสำหกรรม
ุ
บทสรุป

• ในปัจ จุบ น ปัญ หา
ั
สารอัน ตรายและ
ของเสีย อัน ตรายมี
แนวโน้ม เพิ่ม มาก
ขึ้น ทั้ง ในภาค
ชุม ชนและ
อุต สาหกรรมไป
จนถึง จำา นวนการ
เกิด อุบ ต ิภ ัย จาก
ั
สารอัน ตรายและ
ของเสีย อัน ตราย
บทสรุป (ต่อ )
• สำา หรับ ประเทศไทยนัน ขาดการกำา กับ
้
ดูแ ลและติด ตามประเมิน ผลอย่า งต่อ เนือ ง
่
การวางแผนจัด การสิง แวดล้อ มที่ข าด
่
ประสิท ธิภ าพ ขาดแคลนเทคโนโลยีแ ละ
บุค ลากรที่เ ชีย วชาญ และขาดการ
่
ประชาสัม พัน ธ์อ ย่า งต่อ เนือ งรวมทั้ง
่
มาตรการบัง คับ ทางกฎหมายที่ใ ช้ไ ด้ผ ล
จริง การแสวงหาความช่ว ยเหลือ ด้า น
เทคโนโลยีแ ละเงิน สนับ สนุน ยัง คงมี
ศัก ยภาพตำ่า และการวิจ ัย พัฒ นาด้า นการ
จัด การสารอัน ตรายและของเสีย อัน ตราย
ข้อเสนอแนะ
• ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตที่ใช้สาร
อันตรายที่มีพิษน้อยกว่าและสร้างแรงจูงใจด้วย
มาตรการทางการเงินและการคลังที่เอื้อ
ประโยชน์แก่ผผลิตสินค้าสีเขียว หรือผู้ผลิตใช้
ู้
วัสดุที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
่
• ส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผัก
กางมุ้ง ผักออแกนิค เป็นต้น แก่เกษตรกร ฉะนัน
้
เมื่อเกษตรกรสนใจจึงส่งผลให้ความต้องการ
การใช้สารเคมีน้อยลง การนำาเข้าสารเคมี
อันตรายย่อมลดน้อยลงตามมา อันตรายต่างๆ ที่
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• จัดให้มีการควบคุมการโฆษณาและควบคุม
การส่งเสริมการขายสารเคมีอันตราย
ป้องกันกำาจัดที่มีการสร้างแรงจูงใจแก่ผซื้อ
ู้
สินค้าทั้งในรูปแบบการให้ของขวัญหรือสิง
่
ตอบแทน รางวัลแก่เกษตรกร และมีเนื้อหา
โฆษณาที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง โดยผู้
ดำาเนินรายการโฆษณาหรือดีเจเป็นผู้
โฆษณาข้อมูลสรรพคุณสารเคมีอันตราย
ซึ่งมิใช่เป็นผู้ที่ความรู้ในเรื่องสารอันตราย
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• พัฒนาระบบข้อมูลและรหัสสารเคมีให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ให้เป็นระบบ
เดียวกันเพื่อการอ้างอิงที่ถูกต้องตรงกันใน
การติดตาม ตรวจสอบและแก้ปัญหาใน
กรณีฉุกเฉิน
• จัดให้มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำาหรับการ
ประสานงานเกี่ยวกับข้อมูลสารอันตราย
เพื่อส่งต่อข้อมูลตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลาย
ทาง สำาหรับทุกคนที่เกี่ยวข้องให้กว้างยิง
่
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• สำารวจจำานวนและสภาพความปลอดภัย
ของสถานที่เก็บกักสารอันตรายเพื่อป้องกัน
อุบติภัยหรือความเสียงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
ั
่
• หากจะมีการบัญญัติหลักเกณฑ์ ข้อบังคับ
และประกาศต่าง ควรจัดให้ประชาชนที่
เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้า
มามีสวนร่วมแสดงข้อคิดเห็น และข้อเสนอ
่
แนะ เพื่อจะได้ทราบปัญหาและจำากัดด้าน
ต่างๆ ที่แท้จริง
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• ให้คณะกรรมการวัตถุอันตรายกำาหนด “การมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการดำาเนินงานของหน่วยงานที
เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตราย” โดยเฉพาะในขั้นตอนการ
ขึ้นทะเบียน ควบคุม และกำากับดูแลวัตถุอันตรายทุก
ประเภท และเสนอให้ รมต.กระทรวงเกษตรฯ พิจารณา
กำาหนดข้อความเพิมเติมในข้อเสนอ คสช.ต่อคณะ
่
กรรมการวัตถุอันตราย (12 ก..พ..2551)เสนอให้
รมต.กระทรวงเกษตรฯ พิจารณากำาหนดข้อความเพิม
่
เติมในขั้นตอนการขึ้นทะเบียน เพือควบคุมและกำากับ
่
วัตถุอันตรายทีใช้ในทางการเกษตร โดยการเปิดเผย
่
ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน และข้อมูลทีใช้ประกอบการ
พิจารณา ให้ผู้มส่วนได้ส่วนเสียทราบก่อนการ
ี
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• ควรมีมาตรการในการตรวจสอบว่าผูมีสาร
้
เคมีในครอบครองที่ได้รับใบอนุญาตไป
แล้วนั้นเป็นผูมีความรู้ ความเชี่ยวชาญจริง
้
และให้มการจัดทำาคูมือปฏิบติการการใช้
ี
่
ั
สารเคมีอันตรายสำาหรับสถานการณ์ปกติ
และสถานการณ์ฉุกเฉิน ทั้งตรวจสอบว่ามี
การจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกันสีที่
เพียงพอและเหมาะสมในสถานการณ์ปกติ
และสถานการณ์ฉุกเฉินอีกด้วย โดยอาจจะ
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• สร้างนักกฎหมาย และนักวิชาชีพที่มีความ
รู้ด้านสารเคมีอันตรายให้มากยิ่งขึ้นอาจจะ
เป็นการให้ทุนไปศึกษาต่อ หรือกำาหนด
คุณสมบัติในการรับเข้าทำางาน เป็นต้น
• ควรมีแผนป้องกันที่ชัดเจน เพือให้
่
ประชาชนมั่นใจในความปลอดภัย จัดให้มี
การอบรมทางเทคนิคให้กับผู้เกี่ยวข้องกับ
สารเคมีอันตรายทุกประเภท อาจจัดออกมา
ในรูปแบบการอบรมที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ค่า
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
• ควรจัดตั้งเจ้าหน้าที่ให้มีอำานาจตรวจสอบ
สถานที่เก็บสารเคมีอันตรายอย่างสมำ่าเสมอ
รวมถึงตัวผูรับใบอนุญาตเองด้วยควรตรวจ
้
สอบเช่นกันเพื่อจะได้ทราบว่าสารเคมี
อันตรายในความครอบครองของตนนั้นถูก
เคลื่อนย้ายหรือลักขโมยไปหรือไม่
ผู้จ ัด ทำา

นางสาวกัญจนัชนก ธรรมวโร
เลขทะเบียน 5601034688
นางสาววยุวรรณ ไชยะเดชะ
เลขทะเบียน 5601034753

More Related Content

What's hot

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วิศิษฏ์ ชูทอง
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
sukanya5729
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
kaoijai
 

What's hot (20)

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 

Viewers also liked (7)

Chemicals in Annex III to the Rotterdam Convention
Chemicals in Annex III to the Rotterdam ConventionChemicals in Annex III to the Rotterdam Convention
Chemicals in Annex III to the Rotterdam Convention
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
Convention
ConventionConvention
Convention
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Rotterdam Convention

  • 1. พัน ธกรณีข อง ประเทศไทยภายใต้อนุ อ นุ สัญ ญารอตเตอร์ด ัม ว่า ด้ว ยกระบวนการแจ้ง ข้อ มูล สารเคมีล ่ว งหน้า สำา หรับ สารเคมี อัน ตรายและสารเคมีป ้อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์บ างชนิด ในการค้า ระหว่า งประเทศ Rotterdam Convention on the Prior Informed Consent Procedure for Certain
  • 2. ความเป็น มา •จากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และ สัง คม ทำา ให้ท ั้ง ภาคอุต สาหกรรมและภาค เกษตรกรรมต้อ งเร่ง การผลิต สิง อุป โภค ่ บริโ ภค เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการของ จำา นวนประชากรที่เ พิ่ม มากขึ้น ส่ง ผลให้ม ี การนำา สารเคมีใ นรูป แบบต่า งๆ มาใช้ม าก ขึ้น ทั้ง ใช้ใ นภาคอุต สาหกรรม ภาค เกษตรกรรม ภาคครัว เรือ น และการ สาธารณูป โภคต่า งๆ เป็น ต้น •การใช้ส ารเคมีใ นด้า นต่า งๆ ดัง กล่า ว ก่อ ให้เ กิด ปัญ หาสิง แวดล้อ มและสุข ภาพ ่ อนามัย ของประชาชนเพิ่ม มากขึ้น เนือ งจาก สารเคมีบ างชนิด ที่น ำา มาใช้เ ป็น สารอัน ตราย
  • 3. ความเป็น มา (ต่อ ) •เมือ ปี พ.ศ. 2528 องค์ก ารอาหารและเกษตร ่ แห่ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) ได้ก ำา หนดให้ม ก ารแลกเปลี่ย นข้อ มูล โดยสมัต รใจ ี ไว้ใ นจรรยาบรรณระหว่า งประเทศในเรื่อ งการ จำา หน่า ยและการใช้ส ารเคมีป ้อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช ื และสัต ว์ •เมือ ปี พ.ศ. 2530 โครงการสิ่ง แวดล้อ มแห่ง ่ สหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ได้ก ำา หนดให้ม ก ารแลก ี เปลี่ย นข้อ มูล โดยสมัต รใจไว้ใ นแนวทางการแลก
  • 4. ความเป็น มา (ต่อ ) •เมือ ปี พ.ศ. 2535 ในการประชุม Rio Earth ่ Summit ได้ใ ห้ก ารรับ รองแผนปฏิบ ัต ิก ารบทที่ 19 ภายใต้แ ผนปฏิบ ัต ก าร 21 (Agenda 21) ให้ม ี ิ มาตรการทางกฎหมายรองรับ การแจ้ง ข้อ มูล สาร เคมีล ่ว งหน้า ภายในปี พ .ศ. 2543 ในระหว่า งปี พ.ศ. 2539-2541 ได้จ ัด ให้ม ี การประชุม คณะ กรรมการเจรจาระหว่า ง รัฐ บาล รวมทัง สิ้น 5 ครั้ง ้ จึง บรรลุข ้อ ตกลงในหลัก เกณฑ์ส ำา คัญ ของอนุ อนุส ญ ญารอตเตอร์ด ม ฯ ได้เ ปิด ให้ม ก าร ั ั ี สัญ ญารอตเตอร์ด ัม ฯ รับ รองและลงนาม ในการประชุม ผู้ม อ ำา นาจเต็ม ณ ี เมือ งรอตเตอร์ด ม ราชอาณาจัก รเนเธอร์แ ลนด์ เมือ ั ่ วัน ที10 - 11กัน ยายน 2541 ่
  • 5. วัต ถุป ระสงค์ ส่งเสริมความร่วมมือและรับผิดชอบระหว่างประเทศ ใน เรื่องการค้าสารเคมีอันตรายบางชนิด เพื่อปกป้อง สุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากอันตราย ของสารเคมี และเพือส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างไม่เป็น ่ อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้มการแจ้งหรือการแลก ี เปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสารเคมีแก่ผู้มีอำานาจ ตัดสินใจของชาติ ได้ ทราบถึงการ นำาเข้าและ ส่งออก สารเคมีอันตราย ต้องห้ามหรือจำากัดการใช้อย่าง เข้มงวด และสูตรผสมของสารเคมี ป้องกันกำาจัดศัตรูพชและสัตว์ที่ ื เป็น อันตรายอย่างร้ายแรง และให้มการ ี กระจาย
  • 6. หลัก การและความ สำาาคัญ เป็นอนุสญญาระหว่ งประเทศในการควบคุม ั การนำาเข้าและการส่งออกสารเคมีอันตรายต้อง ห้ามหรือจำากัดการใช้อย่างเข้มงวด และสูตรผสม ของสารเคมีปองกันกำาจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็น ้ อันตรายอย่างร้ายแรง โดยมีว ัต ถุป ระสงค์ใ ห้ม ี การแจ้ง ข้อ มูล สารเคมีล ว งหน้า จากประเทศ ่ ผูส ง ออกไปยัง ประเทศผูน ำา เข้า เพื่อร่วมมือ ้ ่ ้ และรับผิดชอบร่วมกันในหมู่ภาคีในเรื่องสารเคมี อันตรายบางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ เพื่อ ปกป้องสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิงแวดล้อม ่ จากอันตรายของสารเคมี และเพื่อส่งเสริมการใช้ สารเคมีอย่างไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมโดย การแลกเปลี่ย นข้อ มูล เกี่ย วกับ ลัก ษณะของ
  • 7. อนุส ัญ ญารอตเตอร์ด ัม ประเทศไทยเข้า เป็น ภาคีใ นอนุส ญ ญาฯ โดย ั ภาคยานุว ต ิ เมือ วัน ที่ 19 กุม ภาพัน ธ์ พ.ศ. 2545 ั ่ อนุส ญ ญาฯ มีผ ลบัง คับ ใช้ 24 กุม ภาพัน ธ์ พ.ศ.2547 ั ขอบเขตของอนุส ญ ญาฯ ั สารเคมีต ้อ งห้า ม สารเคมีท ถ ูก จำา กัด การใช้อ ย่า งเข้ม งวด ี่ สูต รผสมของสารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ี่ ้ ื เป็น อัน ตรายอย่า งร้า ยแรง มีก ารกำา หนดรายชือ สารเคมีท ี่ถ ก ควบคุม ภายใต้อ นุ ่ ู สัญ ญาฯ ณ ปัจ จุบ น มีส ารเคมีท ค รอบคลุม ภายใต้ ั ี่ อนุส ญ ญา 41 รายการ แบ่ง เป็น ั สารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์ 24 รายการ ้ สูต รผสมของสารเคมีป อ งกัน กำา จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ี่ ้ ื เป็น อัน ตรายอย่า งร้า ยแรง 6 รายการ
  • 8. พัน ธกรณีส ำำ คัญ ของ อนุส ัญ ญำ ภำคีตองใช้มำตรกำรที่เหมำะสมทำงกำรบริหำร ้ และทำงกฎหมำย และภำคีสมำชิกจะต้องแจ้ง ข้อมูล มำตรกำร กฎระเบียบของประเทศภำยใน 90 วัน หลังจำกวันที่มำตรกำรนั้นมีผลบังคับใช้ ( ข้อ ที่ 5) จัดทำำข้อเสนอบัญชีรำยชือสูตรผสมของสำรเคมี ่ ป้องกันกำำจัดศัตรูพชและสัตว์ ที่เป็นอันตรำยอย่ำง ื ร้ำยแรงเพิมเติม (ข้อ ที่ 6) ่ แจ้งตอบรับนำำเข้ำ ดำำเนินกำรตำมกระบวนกำร แจ้งข้อมูลสำรเคมีล่วงหน้ำ (ข้อ ที่ 10) กำรประกันว่ำไม่ส่งออกสำรเคมีไปยังภำคีผู้นำำ เข้ำที่ไม่ได้แจ้งท่ำที หรือแจ้งท่ำทีชวครำว ที่ไม่ได้ ั่ รวมอยู่ในกำรตัดสินใจชัวครำว (ข้อ ที่ 11) ่
  • 9. พัน ธกรณีส ำำ คัญ ของ อนุส ัญ ญำ (ต่อ ) จัดส่งข้อมูลที่จำำเป็นพร้อมกับสำรเคมีที่ส่งออก อำทิ รหัสระบบศุลกำกรจำำเพำะ กำรติดฉลำก และเอกสำร MSDS (ข้อ ที่ 13) ให้มีกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคนิค เศรษฐกิจและกฎหมำย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ สำรเคมีที่อยู่ในขอบเขตของอนุสญญำฯ รวมทั้ง ั ข้อมูลด้ำนพิษวิทยำ พิษวิทยำสิ่งแวดล้อมและ ควำมปลอดภัย (ข้อ ที่ 14) ส่งเสริมควำมร่วมมือทำงเทคนิคในกำรพัฒนำ โครงสร้ำงพื้นฐำน และขีดควำมสำมำรถในกำร
  • 10. กรณีป ระเทศไทย สำำหรับประเทศไทย กรมวิชำกำรเกษตรได้เสนอขอควำม เห็นจำกคณะกรรมกำรวัตถุอันตรำย และมีมติเห็นชอบให้นำำ พระรำชบัญ ญัต ิว ัต ถุอ ัน ตรำย พ .ศ. 2535 มำใช้รองรับ เพือกำรให้สัตยำบันและปฏิบัติตำมอนุสัญญำฯ และยังมีกฎ ่ หมำยอื่นๆ ทีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ่ พระรำชบัญ ญัต ิศ ล กำกร พ.ศ.2469 ุ พระรำชบัญ ญัต ิศ ุล กำกร (ฉบับ ที่ 9) พ.ศ.2482 พระรำชบัญ ญัต ิก ำรส่ง ออกไปนอกและนำำ เข้ำ มำ ในรำชอำณำจัก รซึ่ง สิน ค้ำ พ .ศ. 2522 พระรำชบัญ ญัต ิก ำรเดิน เรือ ในน่ำ นนำำ ไทย (ฉบับ ที่ ้ 14) พ.ศ.2535
  • 11. พระรำชบัญญัติวัตถุอนตรำย ั พ.ศ. 2535 “มำตรำ 18 วัตถุอันตรำยแบ่งออกตำมควำมจำำเป็นแก่ กำรควบคุม ดังนี้ (1) … (2) … (3) วัตถุอันตรำยชนิดที่ 3 ได้แก่วัตถุอันตรำยที่กำรผลิต กำรนำำเข้ำ กำรส่ง ออก หรือกำรมีไว้ในครอบครองต้อง ได้รับใบอนุญำต (4) วัตถุอันตรำยชนิดที่ 4 ได้แก่วัตถุอนตรำยที่ห้ำมมิให้ ั มีกำรผลิต กำรนำำเข้ำ กำรส่งออก หรือกำรมีไว้ในครอบ ครอง” ตำมพระรำชบัญ ญัต ิข ้ำ งต้น กำำ หนดให้ส ำรเคมี ป้อ งกัน กำำ จัด ศัต รูพ ช และสัต ว์ท ั้ง หมดตำมอนุ ื สัญ ญำฯ เป็น วัต ถุอ ัน ตรำยชนิด ที่ 4 ส่ว นสำรเคมี
  • 12. ประโยชน์ท ี่ไ ด้จ ำกเข้ำ เป็น ภำคีษ ย์แ ละสิง ปกป้อ งสุข ภำพของมนุ ่ แวดล้อ ม จำกควำมเสีย งที่เ กิด จำกกำรใช้ ่ สำรเคมีอ ัน ตรำย ควบคุม กำรนำำ เข้ำ กำรส่ง ออก สำรเคมี อัน ตรำยได้อ ย่ำ งเข้ม งวดและเป็น ระบบ ได้ร ับ ทรำบข้อ มูล ข่ำ วสำที่เ กี่ย วข้อ งกับ สำรเคมี เพื่อ ประกอบกำรตัด สิน ใจก่อ น นำำ เข้ำ ใช้ใ นกำรประเมิน ควำมเสีย งอัน ตรำย ่ จำกสำรเคมี มีส ท ธิเ สนอบัญ ชีร ำยชื่อ สูต รผสมสำร ิ เคมีป อ งกัน กำำ จัด ศัต รูพ ืช และสัต ว์ท ี่เ ป็น ้
  • 13. ประโยชน์ท ี่ไ ด้จ ำกเข้ำ เป็นวภำคี (ต่อ ) ได้ร ับ ควำมช่ ยเหลือ ทำงวิช ำกำรและงบ ประมำณ ในกำรจัด กำรสำรเคมีเ พื่อ ให้ ดำำ เนิน กำรได้อ ย่ำ งถูก ต้อ ง ตลอดจน สำมำรถจัด กำรสำรเคมีอ ัน ตรำยได้อ ย่ำ งมี ประสิท ธิภ ำพ และให้ส ่ง ผลกระทบต่อ สิ่ง แวดล้อ มน้อ ยที่ส ุด ป้อ งกัน กำรนำำ เข้ำ และส่ง ออก สำรเคมี อัน ตรำยอย่ำ งผิด กฎหมำยระหว่ำ งประเทศ ปกป้อ งมิใ ห้ม ีก ำรลัก ลอบทิ้ง สำรเคมี อัน ตรำยเข้ำ มำในประเทศ แสดงบทบำทของประเทศไทยในกำร ดำำ เนิน กำรตำมพัน ธกรณีจ ำกกำรประชุม สหประชำชำติว ่ำ ด้ว ยสิ่ง แวดล้อ มและกำร
  • 14. หน่ว ยงำนผู้ม ีอ ำำ นำจ ของรัฐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิช ำกำร เกษตร เป็นตัวแทนผูมีอำำนำจของรัฐ ้ (Designated National Authorities : DNAs) ด้ำนสำรเคมีป้องกันกำำจัดศัตรูพืชและสัตว์ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม โดย กรมควบคุม มลพิษ  เป็น DNA ด้ำนสำรเคมีอนๆ ื่ นอกเหนือจำกสำรเคมีป้องกันกำำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และ กระทรวงอุตสำหกรรม โดยกรมโรงงำน อุต สำหกรรม เป็น DNA ด้ำนสำรเคมีอตสำหกรรม ุ
  • 15. บทสรุป • ในปัจ จุบ น ปัญ หา ั สารอัน ตรายและ ของเสีย อัน ตรายมี แนวโน้ม เพิ่ม มาก ขึ้น ทั้ง ในภาค ชุม ชนและ อุต สาหกรรมไป จนถึง จำา นวนการ เกิด อุบ ต ิภ ัย จาก ั สารอัน ตรายและ ของเสีย อัน ตราย
  • 16. บทสรุป (ต่อ ) • สำา หรับ ประเทศไทยนัน ขาดการกำา กับ ้ ดูแ ลและติด ตามประเมิน ผลอย่า งต่อ เนือ ง ่ การวางแผนจัด การสิง แวดล้อ มที่ข าด ่ ประสิท ธิภ าพ ขาดแคลนเทคโนโลยีแ ละ บุค ลากรที่เ ชีย วชาญ และขาดการ ่ ประชาสัม พัน ธ์อ ย่า งต่อ เนือ งรวมทั้ง ่ มาตรการบัง คับ ทางกฎหมายที่ใ ช้ไ ด้ผ ล จริง การแสวงหาความช่ว ยเหลือ ด้า น เทคโนโลยีแ ละเงิน สนับ สนุน ยัง คงมี ศัก ยภาพตำ่า และการวิจ ัย พัฒ นาด้า นการ จัด การสารอัน ตรายและของเสีย อัน ตราย
  • 17. ข้อเสนอแนะ • ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตที่ใช้สาร อันตรายที่มีพิษน้อยกว่าและสร้างแรงจูงใจด้วย มาตรการทางการเงินและการคลังที่เอื้อ ประโยชน์แก่ผผลิตสินค้าสีเขียว หรือผู้ผลิตใช้ ู้ วัสดุที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม ่ • ส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผัก กางมุ้ง ผักออแกนิค เป็นต้น แก่เกษตรกร ฉะนัน ้ เมื่อเกษตรกรสนใจจึงส่งผลให้ความต้องการ การใช้สารเคมีน้อยลง การนำาเข้าสารเคมี อันตรายย่อมลดน้อยลงตามมา อันตรายต่างๆ ที่
  • 18. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • จัดให้มีการควบคุมการโฆษณาและควบคุม การส่งเสริมการขายสารเคมีอันตราย ป้องกันกำาจัดที่มีการสร้างแรงจูงใจแก่ผซื้อ ู้ สินค้าทั้งในรูปแบบการให้ของขวัญหรือสิง ่ ตอบแทน รางวัลแก่เกษตรกร และมีเนื้อหา โฆษณาที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง โดยผู้ ดำาเนินรายการโฆษณาหรือดีเจเป็นผู้ โฆษณาข้อมูลสรรพคุณสารเคมีอันตราย ซึ่งมิใช่เป็นผู้ที่ความรู้ในเรื่องสารอันตราย
  • 19. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • พัฒนาระบบข้อมูลและรหัสสารเคมีให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ให้เป็นระบบ เดียวกันเพื่อการอ้างอิงที่ถูกต้องตรงกันใน การติดตาม ตรวจสอบและแก้ปัญหาใน กรณีฉุกเฉิน • จัดให้มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำาหรับการ ประสานงานเกี่ยวกับข้อมูลสารอันตราย เพื่อส่งต่อข้อมูลตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลาย ทาง สำาหรับทุกคนที่เกี่ยวข้องให้กว้างยิง ่
  • 20. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • สำารวจจำานวนและสภาพความปลอดภัย ของสถานที่เก็บกักสารอันตรายเพื่อป้องกัน อุบติภัยหรือความเสียงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ั ่ • หากจะมีการบัญญัติหลักเกณฑ์ ข้อบังคับ และประกาศต่าง ควรจัดให้ประชาชนที่ เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้า มามีสวนร่วมแสดงข้อคิดเห็น และข้อเสนอ ่ แนะ เพื่อจะได้ทราบปัญหาและจำากัดด้าน ต่างๆ ที่แท้จริง
  • 21. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • ให้คณะกรรมการวัตถุอันตรายกำาหนด “การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการดำาเนินงานของหน่วยงานที เกี่ยวข้องกับวัตถุอันตราย” โดยเฉพาะในขั้นตอนการ ขึ้นทะเบียน ควบคุม และกำากับดูแลวัตถุอันตรายทุก ประเภท และเสนอให้ รมต.กระทรวงเกษตรฯ พิจารณา กำาหนดข้อความเพิมเติมในข้อเสนอ คสช.ต่อคณะ ่ กรรมการวัตถุอันตราย (12 ก..พ..2551)เสนอให้ รมต.กระทรวงเกษตรฯ พิจารณากำาหนดข้อความเพิม ่ เติมในขั้นตอนการขึ้นทะเบียน เพือควบคุมและกำากับ ่ วัตถุอันตรายทีใช้ในทางการเกษตร โดยการเปิดเผย ่ ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน และข้อมูลทีใช้ประกอบการ พิจารณา ให้ผู้มส่วนได้ส่วนเสียทราบก่อนการ ี
  • 22. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • ควรมีมาตรการในการตรวจสอบว่าผูมีสาร ้ เคมีในครอบครองที่ได้รับใบอนุญาตไป แล้วนั้นเป็นผูมีความรู้ ความเชี่ยวชาญจริง ้ และให้มการจัดทำาคูมือปฏิบติการการใช้ ี ่ ั สารเคมีอันตรายสำาหรับสถานการณ์ปกติ และสถานการณ์ฉุกเฉิน ทั้งตรวจสอบว่ามี การจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกันสีที่ เพียงพอและเหมาะสมในสถานการณ์ปกติ และสถานการณ์ฉุกเฉินอีกด้วย โดยอาจจะ
  • 23. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) • สร้างนักกฎหมาย และนักวิชาชีพที่มีความ รู้ด้านสารเคมีอันตรายให้มากยิ่งขึ้นอาจจะ เป็นการให้ทุนไปศึกษาต่อ หรือกำาหนด คุณสมบัติในการรับเข้าทำางาน เป็นต้น • ควรมีแผนป้องกันที่ชัดเจน เพือให้ ่ ประชาชนมั่นใจในความปลอดภัย จัดให้มี การอบรมทางเทคนิคให้กับผู้เกี่ยวข้องกับ สารเคมีอันตรายทุกประเภท อาจจัดออกมา ในรูปแบบการอบรมที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ค่า
  • 25. ผู้จ ัด ทำา นางสาวกัญจนัชนก ธรรมวโร เลขทะเบียน 5601034688 นางสาววยุวรรณ ไชยะเดชะ เลขทะเบียน 5601034753

Editor's Notes

  1. รัฐบาลนานาประเทศจึงได้เริ่มต้นกระบวนการแจ้งข้อมูลล่วงหน้าแก่ประเทศผู้นำเข้า เพื่อขอความเห็นชอบก่อนที่จะส่งออกสารเคมีอันตรายไปยังประเทศนั้น ในตอนเริ่มต้นนั้นกระบวนการนี้เป็นแบบสมัครใจ ต่อมาเพื่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลมากขึ้น จึงได้มีการประกาศ ยกระดับให้กระบวนการนี้เป็นอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ
  2. ข้อ 26 การมีผลบังคับใช้ อนุสัญญานี้จักมีผลบังคับใช้ในวันที่ 90 หลังจากวันที่มอบเอกสารการให้สัตยาบัน การยอมรับ การเห็นชอบหรือการภาคยานุวัติลำดับที่ 50 แล้ว
  3. และกรมควบคุมมลพิษได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2544 ให้ประเทศไทยให้ภาคยานุวัติสารในอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ โดยให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตร เป็นตัวแทนผู้มีอำนาจของรัฐ (Designated National Authority : DNA) ด้านสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษเป็น DNA ด้านสารเคมีอื่นๆ และกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมเป็น DNA ด้านสารเคมี อุตสาหกรรม
  4. 1. กำ หนดมาตรการในการควบคุมสารเคมีตามอนุสัญญา ดังนี้ 1.1 ควบคุมเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ได้แก่ สารเคมี ป้องกันกำ จัดศัตรูพืชและสัตว์ทั้งหมด สารเคมีอุตสาหกรรม จำ นวน 5 ชนิด ได้แก่ Polybrominated biphenyls (PBB) , Polycholorinated biphenyls (PCB) , Polychorinated terphenyls (PCT) ,Tris (2,3 - dibromopropyl phosphate) และ Amosite asbestos 1.2 ควบคุมเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 จำ นวน 3 ชนิด ได้แก่ Tetraethyl lead , Tetramethyl lead และ Crocidolite asbestos 1.3 อยูร่ ะหว่างการพิจารณาดำ เนินการในการควบคุมสารเคมีอีก 3 ชนิด คือ Actinolite asbestos Anthophyllite asbestos และ Tremolite asbestos ให้เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ตามพระราชบัญญัติวัตถุ อันตราย พ.ศ. 2535 เนื่องจากเป็นสารที่มีอันตรายสามารถก่อให้เกิดมะเร็ง
  5. ช่วยพัฒนาการจัดการสารเคมีและมลพิษได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคอุตสาหกรรมได้รับข้อมูล/กฎระเบียบในการจัดการสารเคมี เพื่อให้ดำเนินการได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนสามารถจัดการสารเคมีอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ภาคอุตสาหกรรมได้รับการส่งเสริมการใช้สารเคมีที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สามารถป้องกันการลักลอบทิ้ง นำเข้าสารเคมี จากการค้าระหว่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ไม่สามารถจัดการสารเคมีเหล่านี้ได้ตลอดอายุการใช้งาน ในฐานะผู้นำเข้าสารเคมี ประเทศไทยจะได้รับความคุ้มครอง โดยได้รับข้อมูลด้านการประเมินความเสี่ยงจากสารเคมีอันตรายเพื่อประกอบการตัดสินใจก่อนนำเข้า เป็นผลดีต่อประชาชนในการป้องกันความเสี่ยงจากสารเคมีอันตราย
  6. หน่วยงานผู้มีอำนาจของรัฐทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลัก คือ กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบสารเคมีอื่นๆ นอกเหนือจากสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางประสานการดำ เนินงานของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบสารเคมีทางอุตสาหกรรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักคณะกรรมการอาหารและยา กรมศุลกากร กรมองค์การระหว่างประเทศ กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กรมการค้าต่างประเทศ การท่าเรือแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย