SlideShare a Scribd company logo
1 of 121
รายงานความก้าวหน้าของ
การดาเนินการตามโครงการพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน
เสด็จเยี่ยมโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์เ็็นการส่วนพระองค์
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543
พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
1. ให้รองอธิบดีกรมสามัญศึกษาจัดหาน้าโดยมอบหมายให้รองราชเลขาฯ ใน
พระองค์็ระสานกับกรมชล็ระทาน
2. ให้กรมสามัญศึกษาพิจารณาจัดสรรงบ็ระมาณในการจัดสร้างถังเก็บ
น้าฝน
3. ข้าวสารสาหรับเลี้ยงนักเรียนที่พักในโรงเรียนจะพระราชทานให้อยู่ถ้าไม่พอ
ให้กรมสามัญศึกษาจัดหา
4. ให้กรมสามัญศึกษาทบทวนและพิจารณาจัดสรรเงินงบ็ระมาณค่ากับข้าว
นักเรียนที่พักในโรงเรียน
5. ให้โรงเรียนพิจารณาจัดสร้างที่พักนักเรียนชั่วคราว เพื่อลดความแออัดโดย
ใช้วัสดุในท้องถิ่นอาจจัดทาเ็็นหมู่บ้านและบริหารแบบหมู่บ้าน’
6. ให้มีการติดตามเรื่องน้า็ระ็าและที่พักนักเรียนด้วย
7. ให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ลงทะเบียนหนังสือและจัดหมวดหมู่หนังสือใน
ห้องสมุดคอมพิวเตอร์
8. ให้มีการจัดทาสื่อการเรียนการสอน (CAI)
9. สื่อการเรียนการสอน ควรขอจากศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการสอนวิชาต่าง
ๆ ในกรุงเทพมหานครฯ
10.ควรขอเอกชนมาช่วยพัฒนาการศึกษา
11.ควรเ็ิดสอนวิชาซ่อมบารุงอุ็กรณ์ (จักรเย็บผ้าในวิชาเรียนของนักเรียน)
12.มอบหมายให้รองราชเลขาฯ ในพระองค์ที่จัดหาจักรเย็บผ้าให้โรงเรียน
13.ควรมีเทคนิคการตลาดเพื่อให้ผ้าที่ย้อมสีธรรมชาติขายดีขึ้น
พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
14.จัดให้มีกิจกรรมทอผ้าเพื่อให้มีผลงานตลอดแน่นอนชัดเจนแล้วจะทรงรับไ็
จาหน่ายให้
15.ขอให้ฝึกนักเรียนให้ทางานได้จริง
16.ให้ดาเนินการเรื่องแหล่งน้าขังที่จะทาให้เกิดพาหะนาโรคมาลาเรีย
17.ให้สอบถามไ็ยังกรมชล็ระทานเพื่อขอให้ดาเนินการเรื่องน้าด่วน
18.ราที่ใช้เลี้ยงหมูควรขอจากโรงสีที่โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน
19.บริเวณพื้นที่ที่อยู่เลยจากเล้าไก่พื้นเมืองสามารถจัดสร้างที่พักนักเรียนโดย
ใช้วัสดุในท้องถิ่นเพื่อลดความแออัดของนักเรียนในที่พัก
20.ควรส่งเสริมการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือและทางอินเทอร์เน็ต
21.ควรส่งเสริมการอ่านให้กับนักเรียน
พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ (Maelanoidaroonsik School)
อักษรย่อ ม.ด.
ที่ตั้ง เลขที่ 95 หมู่ 9 บ้านทุ่งสารภี ตาบลแม่ลาน้อย อาเภอแม่ลาน้อย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58120
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34
การก่อตั้ง 7 มิถุนายน พ.ศ.2519
โทรศัพท์/โทรสาร 0-5368-9242-3
อีเมล์ daroonsik@gmail.com
ตรา็ระจาโรงเรียน
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
ปรัชญาโรงเรียน มารยาทงาม ความรู้ดี มีวินัย พลานามัย
สมบูรณ์
เอกลักษณ์ “หลากหลายชนเผ่า เรารักสามัคคี ไอซีทีก้าว
ไกล ใส่ใจจิตอาสาพัฒนางานพระราชดาริ”
อัตลักษณ์ “ชนเผ่าสามัคคี”
คติพจน์ของโรงเรียน สุขา สังฆัสสะ สามัคคี ความสามัคคีทาให้เกิด
สุข
สีประจาโรงเรียน เทา-น้าเงิน
สีเทาอยู่บน หมายถึง ความสามัคคี
สีน้าเงินอยู่ล่าง หมายถึง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
ดอกไม้ประจาโรงเรียน ดอกรัก
ประวัติโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์เ็็นโรงเรียน็ระจาอาเภอแม่ลาน้อย
จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 34 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
เริ่มก่อตั้งเมื่อ็ี พ.ศ. 2519 ตามนโยบายของกรมสามัญศึกษาที่จะขยายให้มี
โรงเรียนมัธยมศึกษาขึ้นทุกอาเภอโดย เริ่มเ็ิดทาการสอนเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน
พ.ศ 2519 มีนักเรียนสมัครเข้าเรียน 29 คน โดยในระยะแรกได้อาศัย
เ รี ย น
ที่อาคารเรียนโรงเรียนชุมชนบ้านแม่ลาน้อย(็ัจจุบันคือโรงเรียนอนุบาลแม่ลา
น้อย) และได้ขอครูมาช่วย ็ฏิบัติการสอน 2 คน คือ นาย็ระยูร ลังกาพินธ์
วุฒิ กศ.บ. และนายน้อย แซ่เจีย วุฒิ พ.ม. โดยมี นายจินดา ต๊ะ็ินตา
ศึ ก ษ า ธิ ก า ร อ า เ ภ อ
แม่ลาน้อย รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่
ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา
สรุ็แบบข้อมูลบุคลากร จาแนกตาม็ระเภทของบุคลากร
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
ที่ ประเภทบุคลากร
เพศ รวม
(คน)ชาย หญิง
1. ผู้บริหาร 2 0 2
2. ผู้สอน 25 31 56
3. ธุรการ 0 1 1
4. ลูกจ้าง็ระจา 1 0 1
5. ลูกจ้างชั่วคราว 4 2 2
รวม 32 34 66
ข้อมูลนักเรียน
ระดับชั้น จานวนห้อง ชาย หญิง รวม
ม.1 4 69 60 129
ม.2 4 67 65 132
ม.3 3 63 58 121
รวมมัธยมศึกษา
ตอนต้น
11 19
9
18
3
382
ม.4 7
87
13
7
224
ม.5 6
73
11
0
183
ม.6 7
86
13
9
225
รวมมัธยมศึกษาตอน 20 24 38
ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2557
จานวนนักเรียนทั้งหมด จาแนกตามระดับชั้น ห้องเรียน และเพศ ดังนี้
ข้อมูลนักเรียนพักนอน
็ระเภท ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.
5
ม.6
นักเรียนพักนอน
ทั้งหมด
47 26 61 12
0
52 58
บ้านพักรวมกับชุมชน 1 0 7 52 14 2
บ้านพักครู 0 0 0 1 0 1
ที่พักนักเรียน 25 20 34 28 24 32
บ้านเช่า 7 3 7 10 7 6
วัด 1 2 1 11 2 4
อาศัยอยู่กับญาติ 11 1 9 13 4 6
อื่นๆ 2 0 2 4 0 0
ข้อมูลผิด็กติ 0 0 0 0 0 0
อายุนอกเกณฑ์ 0 0 1 1 1 7
ทาเนียบผู้บริหารโรงเรียน
ลาดับ
ที่
ชื่อ-สกุล ดารงตาแหน่งเมื่อ ตาแหน่ง
1 นายจินดา ต๊ะ็ินตา 7 มิ.ย. 2519-3 ต.ค. 2519 รักษาการครูใหญ่
2 นายสมพร เชาวฤทธิ์ 21 ต.ค. 2519-28 ก.ค.
2522
ครูใหญ่
3 นางพิกุลทอง อุดมพานิชย์ 28 ก.ค. 2522-15 พ.ย.
2522
รักษาการครูใหญ่
4 นายสุรศักดิ์ สุภานันท์ 15 พ.ย. 2522-11 ก.พ.
2523
รักษาการครูใหญ่
5 นายมนสมุทร ็านพรหม 11 ก.พ. 2523-10 ธ.ค.
2530
ครูใหญ่
6 นางวิมลรัตน์ ภัทราคม 11 ธ.ค. 2530-29 ต.ค.
2532
อาจารย์ใหญ่
7 นายศรัณ คงแดง 9 ส.ค. 2532-29 ต.ค. 2536 อาจารย์ใหญ่
8 นายสมนึก เมืองเจริญ 29 ต.ค. 2536-25 ก.ค.
2543
ผู้อานวยการ
9 นายยงยุทธ สรรพอุดม 25 ก.ค. 2543-2 พ.ย. 2543 ผู้อานวยการ
10 นายสาเร็จ ไกรพันธ์ 2 พ.ย. 2543-12 ก.พ. 2544 ผู้รักษาการอานวยการ
รายงานผลการดาเนินงาน
งานเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชได้มีพระราชดารัสที่
เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงไว้ตอนหนึ่งว่า
“...พอเพียงมีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีกคือคาว่าพอก็
พอเพียงนี้ก็พอแค่นั้นเองคนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้า็ระเทศใดมีความคิดอันนี้
มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียงหมายความว่าพอ็ระมาณ ซื่อตรง ไม่
โลภอย่างมากคนเราก็อยู่เ็็นสุขพอเพียงนี้อาจจะมีมีมากอาจจะมีของ
หรูหราก็ได้แต่ว่าต้องไม่ไ็เบียดเบียนคนอื่น...”
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัยวันที่ 4 ธันวาคม
2551
( ที่มา : มูลนิธิชัยพัฒนา
http://www.pcru.ac.th/kings/project4.php. )
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิด็รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่รัชกาลที่ 9 นี้นับว่าเ็็นแนวคิดสาคัญที่สุดในการสอน
คนซึ่งนามา็ระยุกต์ใช้กับการ็ฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการ็ฏิบัติบนทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเ็็น
ขั้นตอนซึ่งคานิยามความพอเพียงจะต้อง็ระกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อมๆกันคือ
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไ็และไม่มากเกินไ็โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่นการ
ผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอ็ระมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเ็็นไ็อย่างมีเหตุผลโดย
พิจารณาจากเหตุ็ัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆอย่างรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเ็ลี่ยนแ็ลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น
โดยคานึงถึงความเ็็นไ็ได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไขการตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเ็็น
พื้นฐานกล่าวคือ
1. เงื่อนไขความรู้ ็ระกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อ็ระกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น็ฏิบัติ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง็ระกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรมมีความชื่อสัตย์สุจริตและมีความ
อดทนมีความพากเพียรใช้สติ็ัญญาในการดาเนินชีวิตแนวทาง็ฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการนา็รัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมา็ระยุกต์ใช้คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนพร้อมรับต่อการเ็ลี่ยนแ็ลงในทุกด้านทั้งด้าน
เศรษฐกิจสังคมสิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543 สมเด็จพระเทพพระราชสุดาสยาม
บรมราชกุมารี ได้เสด็จโรงเรียน แม่ลาน้อยดรุณสิกข์ ได้ทอดพระเนตรการ
ทอผ้า การทาไม้กวาด การ็ักเย็บ บ้านพักนักเรียนพระราชทาน ็ระกอบ
อาหาร โครงการเกษตรเพื่ออาหารนักเรียนที่พักในโรงเรียนและทรง
ทอดพระเนตรห้องสมุด เฉลิมพระเกียรติ
จากพระราชดาริ็รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวและการเสด็จโรงเรียน แม่ลาน้อยดรุณสิกข์ของสมเด็จ
พระเทพราชสุดาฯ โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์จึงน้อมนา็รัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์และพัฒนาการเรื่อยมา
จนถึง็ัจจุบันซึ่งจะพัฒนาการต่อไ็ในอนาคตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ผลการดาเนินงาน
็ีพุทธศักราช 2553 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้น้อมนาหลัก
็รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่แนวทางการ็ฏิบัติทางด้านการศึกษา
็ีพุทธศักราช 2554 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้รับคัดเลือก
ให้เ็็นสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหาร
จัดการตามหลัก็รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง็ระจา็ี 2554
“สถานศึกษาพอพียง 2554” จาก กระทรวงศึกษาธิการ
็ีพุทธศักราช 2555 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้ริเริ่มจัดทา
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้รับงบ็ระมาณจากองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ผลการดาเนินงาน
็ีพุทธศักราช 2556 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้จัดทาฐาน
การเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 13 ฐานการเรียนรู้ และ 1 แหล่ง
เรียนรู้ (ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ) โดยได้รับงบ็ระมาณจากสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งในแต่ละฐานการเรียนรู้ได้แต่งตั้ง
คณะครูเ็็นที่็รึกษาและมีนักเรียนเ็็นผู้รับผิดชอบเ็็นผู้ดาเนินการแต่ละ
ฐานการเรียนรู้
็ีพุทธศักราช 2557 ได้เ็ิด็้ ายศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียงเฉลิมพระเกียรติ พร้อมเ็ิดฐานการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจ
พอเพียง 13 ฐานการเรียนรู้ เพื่อเ็็นแหล่งเรียนรู้ให้บริการแก่ชุมชนและ
บุคคลที่สนใจ นอกจากนี้ได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซด์ของโรงเรียน
ปัญหาและอุปสรรค
การขาดแคลนด้านงบ็ระมาณ
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ขอรับงบ็ระมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน และ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป้ าหมายในอนาคต
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้จัดให้มีการเรียนรู้บูรณาการแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้กับฐานการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 13
ฐานการเรียนรู้ โดยได้รับการสนับสนุนด้านงบ็ระมาณจากองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนจากผู้็กครอง นักเรียน คณะครู
และบุคลาการทางการศึกษาทุกคนในการจัดทาฐานการเรียนรู้บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 13 ฐานการเรียนรู้ให้สาเร็จลุล่วงไ็ได้ดี
เ็้ าหมายในอนาคตของโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ ต้องการเข้า
รับการ็ระเมินเ็็นโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้บริการ
ผู้็กครอง นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและชุมชน มีการดาเนินการ
อย่างต่อเนื่อง
ศูนย์การเรียนรู้พระราชดาริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
แหล่งเรียนรู้ การเพาะเห็ดนางฟ้ า
แหล่งการเรียนรู้ การปลูกผักสวนครัว
แหล่งเรียนรู้ ขยายพันธุ์พืช
แหล่งเรียนรู้ การเลี้ยงกบ
แหล่งการเรียนรู้ เลี้ยงไก่ไข่
แหล่งเรียนรู้ ไก่พื้นเมือง
แหล่งเรียนรู้ เลี้ยงปลา
แหล่งเรียนรู้ การเลี้ยงสุกร
แหล่งเรียนรู้ ศูนย์วัฒนธรรม
ต้อนรับคณะกรรมการประเมินโครงการสถานศึกษาพอเพียง
ปี การศึกษา 2554
จาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔
รายงานผลการดาเนินงาน
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ทรง็ลูกต้นไม้ ็ระจาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ต้นกระพี้จั่น
ณ โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543
แนวพระราชดาริ
การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสานึก
ใ น ก า ร อ นุ รั ก ษ์
พืชพรรณนั้น ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็ก
เ ห็ น ค ว า ม ง า ม
ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะ
ทาการศึกษาและอนุรักษ์พันธุ์พืชต่อไป
ผลการดาเนินงานและความก้าวหน้า
การพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในโครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ซึ่งโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ได้เข้าร่วมสนอง
พระราชดาริในงานดังกล่าวตั้งแต่็ี 2552 จนถึง็ัจจุบัน จน็ระสบ
ผลสาเร็จในการดาเนินงานเ็็นที็ระจักษ์คือ ได้รับพระราชทานเกียรติบัตร
ก า ร ด า เ นิ น ง า น ขั้ น ที่ 1
ผลจากการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจนได้รับพระราชทาน
เกียรติบัตรการดาเนินงานขั้นที่ 1 ส่งผลให้คณะครู นักเรียน และชุมชน
รอบ ๆ โรงเรียนได้สามารถใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเ็็นแหล่งเรียนรู้ที่
สมบูรณ์แบบ โดยในการพัฒนาแต่ละด้าน สามารถส่งผลกับกลุ่มคนต่าง ๆ
ดังนี้
นายวิเชียร ชูเกียรติ อดีตผู้อานวยการโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
เข้ารับพระราชทาน็้ ายสนองพระราชดาริ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2553
นายพูลศักดิ์ จิตสว่าง ผู้อานวยการโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
เข้ารับพระราชทาน เกียรติบัตรสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ขั้นที่ 1
เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2554
1.พัฒนานักเรียน ให้นักเรียนโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ มีคุณลักษณะ
ที่พึง็ระสงค์ในด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยผ่านกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ ของครู การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ของครูโดยใช้สวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียนเ็็นสื่อการเรียนการสอน การพัฒนากระบวนการคิด
ของนักเรียนให้เ็็นระบบผ่านการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ และ
โ ค ร ง ง า น บู ร ณ า ก า ร
ในรายวิชาอื่น ๆ ซึ่งสามารถสร้างผลงานในระดับภาคได้ เช่น โครงงาน
ก้อน็รุงรสจากห่อทีหล่า ที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมการ็ระกวด
โครงงานวิทยาศาสตร์็ระเภททดลอง การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ใน
งา น สั็ด าห์ วิท ยา ศ าส ตร์ แห่ งช าติ ร ะ ดับ ภา คเ ห นื อ ณ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงงานบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ได้รับรางวัลดาวทอง
ในการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับวิถีชีวิตเมืองสามหมอก
นักเรียนแกนนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
กราบทูลถวายรายงาน ต่อ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดา
มาตุ
ในงานวันเกษตรแห่งชาติ ณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ร่วมจัดแสดงนิทรรศการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ณ ศูนย์ฝึกหนองระเวียง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงอีสาน จ.
นครราชสีมา
2. พัฒนาครู การนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมาใช้เ็็นเครื่องมือในการ
พัฒนาครู เพื่อให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน การออกแบบ
บทเรียนโดยใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเ็็นแหล่งเรียนรู้ ผ่านการ
ฝึกอบรม การจัดทาหลักสูตรบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การ
ฝึกอบรมการใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเ็็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้คณะครู
สามารถนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนไ็ใช้เ็็นแหล่งเรียนรู้ได้อย่าง
เหมาะสม โดยมีผลในการพัฒนาครูคือ
2.1 การอบรมแนวทางการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์และการใช้
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเ็็นแหล่งเรียนรู้
2.2 การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเ็็นสาคัญ (สวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียน)
2.3 การส่งเสริมให้ครูมีวิทยฐานะที่สูงขึ้น โดยใช้สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเ็็นนวัตกรรม
คณะครูเข้ารับการอบรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ณ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จ.เชียงใหม่
• 3. พัฒนาสถานศึกษา จากการเข้าร่วมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทาให้โรงเรียนได้พัฒนา
สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้เหมาะสมกับการเข้าร่วมโครงการ ส่งผล
ให้โรงเรียนได้จัดทาแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องขึ้นมากมากมาย เพื่อให้
สามารถเ็็นโรงเรียนที่น้อมนาเอาพระราชดาริต่างๆ มา็ระยุกต์ให้เห็น
เ็็นรู็ธรรมภายในสถานศึกษา เ็็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถสร้าง
็ระโยชน์ให้กับนักเรียนภายในโรงเรียน รวมไ็ถึงสามารถเ็็นแหล่ง
เรียนรู้ต้นแบบให้กับนักเรียนโรงเรียนอื่น และหน่วยงานราชการ
ภายนอกได้อีกด้วย ส่งผลให้สถานศึกษามีผลการดาเนินงานเกี่ยวกับ
โครงการในพระราชดาริเ็็นที่ยอมรับทั้งในระดับอาเภอ และในระดับที่
สูงขึ้น
โรงเรียนมีบรรยากาศร่มรื่น สะอาด เหมาะแก่การเรียนรู้
ผลงานการบูรณาการการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนวงดนตรีลูกทุ่ง "แม่ลา สคูลแบน"
ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันวงดนตรีลูกทุ่ง ในมหกรรมเด็กและเยาวชน
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เป้ าหมายในการพัฒนา
เ็้ าหมายในการพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ของโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณ
สิกข์ คือ การวางแผนการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนให้สามารถนาไ็ใช้บูรณาการกับ
การเรียนการสอนได้อย่างสมบูรณ์ เ็็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างครบวงจร มีการ
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามแนวพระราชดาริให้เกิดขึ้น โดยมีเ็้ าหมายในการพัฒนาให้เกิดแหล่ง
เรียนรู้ตามโครงการพระราชดาริเกิดขึ้นอย่างน้อย 3 แหล่งเรียนรู้ภายใน็ีการศึกษา ได้แก่
1. แหล่งเรียนรู้ด้านพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน
2. แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
3. แหล่งเรียนรู้ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
โดยแหล่งเรียนรู้ทั้งที่จะเกิดอย่างน้อย 3 แหล่งเรียนรู้นั้น จะมีการวางแผนการการ
ดาเนินงาน การวางแผนการใช้งบ็ระมาณ เพื่อให้สามารถดาเนินงานได้อย่างเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมและบริบทของทางโรงเรียน โดยมีเ็้ าหมายในการพัฒนาคือ
1. เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ตามโครงการพระราชดาริที่นักเรียนสามารถเข้ามาศึกษา
และนาไ็็รับใช้ในชีวิตได้อย่างเหมาะสม
2. เพื่อเ็็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ด้านโครงการพระราชดาริให้แก่นักเรียน ผู้็กครอง
และผู้สนใจทั่วไ็
วิธีในการพัฒนา
1. สารวจสภาพพื้นที่ของโรงเรียน เพื่อจัดทาแผนผังในการวางตาแหน่งการ
พัฒนาแหล่งเรียนรู้แหล่งต่าง ๆ
2. กาหนดกลยุทธ์และแผนในการพัฒนาโรงเรียน
3. รับฟังความคิดเห็นจากครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน
4. ระดมทรัพยากรในการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้และพัฒนาครู
5. ดาเนินการตามแผนที่วางไว้ ได้แก่ การจัดทาแหล่งเรียนรู้ การจัดนิทรรศการ
หมุนเวียนเพื่อการเรียนรู้ การอบรมพัฒนาครูผู้สอนด้านการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ เ็็นต้น โดยการดาเนินงานแต่ละช่วงและแต่ละขั้นตอนจะบูรณาการกับ
วงจรคุณภาพ PDCA
6. นิเทศติดตาม ็ระเมินผลการดาเนินงาน
7. สรุ็และรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนางาน
1. จัดทาแบบ็ระเมินผลการดาเนินงาน มีการนิเทศ และติดตามอย่าง
สม่าเสมอ เพื่อให้การดาเนินงานเกิดความต่อเนื่อง
2. นาผลการ็ระเมินมาใช้พัฒนาจุดบกพร่อง เพื่อให้เกิดความเหมาะสม
มากยิ่งขึ้น
รายงานผลการดาเนินงาน
งานที่พักนักเรียน
ประวัติของโครงการที่พักนักเรียน
โครงการจัดที่พักนักเรียนในโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ ได้จัดขึ้น
เพื่อขยายโอกาสให้นักเรียนที่มีภูมิลาเนาอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล
การคมนาคมไม่สะดวก และมีฐานะยากจน โดยเริ่มจัดให้นักเรียนได้เข้า
พักอาศัย
เมื่อ ็ี พ.ศ.2526 โดยในระยะแรกมีนักเรียนจากหมู่บ้านละอูบ
เข้าพักจานวน 8 คน สภาพที่พักเ็็นกระต๊อบไม้ไผ่หลังเล็กๆ พอให้
นักเรียนเข้าพักได้ โดยมีผู้็กครองนักเรียนเ็็นผู้สร้างให้
ประวัติของโครงการที่พักนักเรียน
็ัจจุบัน โครงการที่พักนักเรียนมีนักเรียนทั้งหมด จานวน 157 คน เ็็น
นักเรียนชาย 34 คน เ็็นนักเรียนหญิง 123 คน
วัตถุประสงค์ของการจัดที่พักนักเรียน
1. เพื่อขยายโอกาสให้นักเรียนชาวไทยภูเขาได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้็กครอง อันเ็็นวิธีหนึ่งในการกระตุ้นให้
ผู้็กครองเห็นความสาคัญของการศึกษา
3. เพื่อเ็็นการสนับสนุนนโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาเ็็น 15 ็ี
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
กระทรวงศึกษาธิการ
4. เพื่อให้นักเรียนที่ได้รับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามีทางเลือกในการ
็ระกอบอาชีพอย่าง
หลากหลาย
สภาพการจัดการปัจจุบัน
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ มีนักเรียนที่มีภูมิลาเนาอยู่ห่างไกล
ทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวกและมีฐานะยากจน มาพักอาศัยอยู่รวม
ทั้งสิ้น 157 คน โดยโรงเรียนเ็็นผู้รับผิดชอบในการเลี้ยงดูนักเรียนทุกคน
ให้ใช้ชีวิตอยู่ในโรงเรียนอย่างมีความสุข ได้รับ็ระทานอาหารทุกมื้อและ
ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ มีครู-อาจารย์ดูแลใกล้ชิดตลอด 24
ชั่วโมง ทั้งด้านความเ็็นอยู่ การเรียน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนมีความรู้สึก
็ลอดภัยและอบอุ่นไม่ต่างไ็จากการอยู่บ้านของตนเอง โรงเรียนได้
ดาเนินการบริหารงานที่พักนักเรียนโดยให้ครู-อาจารย์รับผิดชอบ ดังนี้
1. ฝ่ายกากับดูแลและติดตามการดาเนินงานมีผู้อานวยการโรงเรียนและรอง
ผู้อานวยการเ็็นผู้รับผิดชอบ
2. งานที่พักนักเรียน ซึ่งมีคณะทางานดูแลเรื่องการอุ็โภคและบริโภค ตลอดจน
ควบคุมให้นักเรียนที่พัก ็ฏิบัติงานพิเศษต่างๆ ตามที่โรงเรียนมอบหมายดังนี้
2.1 กากับดูแลจัดหาวัสดุและอุ็กรณ์การ็ระกอบอาหารให้ครบถ้วนตาม
หลักโภชนาการ
2.2 กากับดูแลการ็ฏิบัติงานพิเศษของนักเรียนที่พัก
2.3 กากับดูแลให้นักเรียนที่พักทาความสะอาดที่พักและบริเวณต่างๆของที่
พัก
2.4 กากับดูแลให้นักเรียนออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ มีการจัดกิจกรรม
นันทนาการ
2.5 กากับดูแลการรับ็ระทานอาหารของนักเรียนที่พักให้เ็็นระเบียบ
เรียบร้อย
2.6 กากับดูแลให้นักเรียนฝึกหัดอาชีพเพื่อนามา็ระกอบอาหารเองตามหลัก
็รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.7 กากับดูแลให้นักเรียนที่พักอ่านหนังสือ ทาการบ้านและติดตามผลการ
เรียนของนักเรียนและ แก้็ัญหา
ปัญหาและอุปสรรค
1. มีตู้เก็บเสื้อผ้าไม่เพียงพอ
2. มีงบ็ระมาณในการจัดซื้ออาหารไม่เพียงพอ
3. ห้อง็ระกอบอาหารคับแคบ
4. ห้องเก็บวัสดุอุ็กรณ์ของหอพักคับแคบ อับชื้น
5. ระบบการดูแลไม่ได้รับการสนับสนุนงบ็ระมาณค่าจ้าง ครู
ต้องเสียสละเวลานอกราชการ
ความต้องการ
1. ตู้เก็บเสื้อผ้า
2. งบ็ระมาณในการจัดซื้ออาหาร
3. ห้องเก็บเสื้อผ้านักเรียนที่กว้างขวาง
4. งบ็ระมาณ สนับสนุนครูผู้็ฏิบัติงานดูแลนักเรียนหอพักนอก
เวลาราชการ
ระดับชั้น ชาย หญิง จานวน
ม.1 9 14 23
ม.2 6 10 16
ม.3 7 9 16
ม.4 2 37 39
ม.5 3 24 27
ม.6 7 29 36
รวม 34 123 157
ตารางแสดงจานวนนักเรียนหอพัก
ปี การศึกษา 2557
ตารางนักเรียนหอพักตามชนเผ่า ปี การศึกษา 2557
เผ่า
ชั้น
กะเหรี่ยง ละว้า ม้ง ไทย
ใหญ่
อื่นๆ รวม
ม.1 6 16 1 - - 23
ม.2 4 9 3 - - 16
ม.3 6 9 1 - - 16
ม.4 22 9 8 - - 39
ม.5 19 7 1 - - 27
ม.6 17 15 1 1 2 36
รวมทั้งหมด 42 31 1 1 2 157
ตารางการปฏิบัติงานประจาวันของนักเรียนที่พักใน
โรงเรียน
เวลา กิจกรรมที่ต้อง็ฏิบัติ
05.30 น. ตื่นนอน เก็บที่นอน ทากิจธุระส่วนตัว
06.00 น. ทางานตามที่ได้รับมอบหมาย
06.40 น. รับ็ระทานอาหารเช้า
07.10 น. ไ็โรงเรียน
08.30 น. – 12.00
น.
เรียนภาคเช้า
12.00 น. – 13.00
น.
รับ็ระทานอาหารกลางวัน ณ ที่พักนักเรียน
13.00 น. – 16.30
น.
เรียนภาคบ่าย
16.30 น. ทางานตามที่ได้รับมอบหมาย เล่นกีฬา พักผ่อนตาม
อัธยาศัย
รายงานผลการจัดโครงการที่พักนักเรียน
ก่อนที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาจะเสด็จเยี่ยมโรงเรียนแม่ลา
น้อยดรุณสิกข์เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543 ใน็ีการศึกษา
2541
ได้พระราชทานข้าวสารแก่นักเรียน ที่โรงเรียน จานวน 10,260
ก.ก. สาหรับนักเรียน 84 คน และพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน
พระองค์ก่อสร้างบ้านพักนักเรียนชั่วคราว 1 หลัง สัวมนักเรียน 2 หลัง
แบบ 6 ที่
็ีการศึกษา 2542 โ็รดเกล้าฯพระราชทานข้าวสาร 3,240
ก.ก. บะหมี่สาเร็จรู็ 32 กล่อง (5, 760ซอง)
็ีการศึกษา 2543 เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมโรงเรียนแม่
ลาน้อยดรุณสิกข์เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543
ได้พระราชทานแนวพระราชดาริแก่โรงเรียนไว้ คือ
• จัดหาน้าเพื่อการอุ็โภคบริโภค
• ให้โรงเรียนพิจารณาจัดที่พักนักเรียนชั่วคราวเพื่อลดความแออัด
โดยใช้วัสดุท้องถิ่นจัดทาแบบหมู่บ้าน บริหารเ็็นหมู่บ้าน
• ให้มีการติดตามเรื่องน้า็ระ็าและทีพักนักเรียนดัวย
• ให้ฝึกนักเรียนให้ทางานได้จริง
โรงเรียนได้ดาเนินการจัดการด้านต่างๆตามแนวพระราชดาริ
ด้านต่างๆดังนี้
โรงเรียนได้จัดการด้านน้า
โรงเรียนได้รับโครงการก่อสร้างระบบน้าเพื่อใช้ในการบริหาร
จัดการจากกรมชล็ระทาน เ็็นระบบน้า็ระ็าภูเขามีระบบส่งน้าเก็บ
น้าและจ่ายน้าเพื่อใช้เพื่อการเกษตรและอุ็โภคและ็รับ็รุงน้าเ็็น
งบ็ระมาณ 8,307,500 บาท เมื่อ กันยายน มี 2543
โรงเรียน ได้รับโครงการ็รับ็รุงคุณภาพน้าจากสานักงานเร่งรัด
พัฒนาชนบท จังหวัดแม่ฮ่องสอนในเดือนตุลาคม 2543 ก่อสร้าง
ระบบกรองน้าเก็บกักน้าและส่งน้าเ็็นเงินงบ็ระมาณ 1,019,000
บาท
โรงเรียนได้รับงบ็ระมาณในการ็รับ็รุงคุณภาพน้าก่อสร้างโรงกรองน้า
และดื่มน้าสาหรับนักเรียนจากมูลนิธิสามสาระใน็ี 2546 จานวน 2 แห่ง เ็็น
เงิน ็ระมาณ 45,000 บาท โรงเรียน ได้รับการบริจาคงบ็ระมาณสาหรับ
ก่อสร้างแท็งก์น้าเก็บขนาด ลบ.ม. จานวน 1 ถัง จากมูลนิธิ สามสาระเ็็นเงิน
32,000 บาท
โรงเรียนได้รับโครงการสารวจและพัฒนาแหล่งน้าบาดาลเพื่อสนับสนุน
ระบบน้าดื่มสะอาดจากกรมทรัพยากรน้าบาดาลกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2556
โรงเรียนได้รับงบ็ระมาณในการ็รับ็รุงคุณภาพน้าก่อสร้างโรงกรองน้า
และดื่มน้าสาหรับนักเรียนจากมูลนิธิสามสาระใน็ี 2557 จานวน 1 แห่ง เ็็นเงิน
็ระมาณ 22,500 บาท
็ัจจุบันโรงเรียนได้ดาเนินการผลิตน้าเพื่อบริโภคสาหรับบุคลากรในโรงเรียน
การจัดการด้านน้า
2. การจัดการที่พักนักเรียน
• 1. นักเรียนหอพัก
• มีทั้งหมด 157 คน โดยแยกชาย 34 คน หญิง 123 คน
• 2. ครูประจาหอพัก
• คณะครูในโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ทุกคน มีหน้าที่ดูแลการดาเนินงานที่
พักนักเรียน
• 3. อาคารสถานที่
• มีอาคารเรือนนอน 4 หลัง แยกชาย 1 หลัง หญิง 3 หลัง
• 4. ด้านอาหาร
• - ทางโรงเรียนได้ขอความร่วมมือจากผู้็กครองนักเรียนหอพักสนับสนุนเงิน
จานวน 300 บาท/คน/ภาคเรียนและข้าวสารจานวน 1 ถัง/คน/ภาค
เรียน
• - ได้รับการสนับสนุนงบ็ระมาณซื้อข้าวสารจาก มูลนิธิ The Karen
Hilltribes Trust เดือนละ 10,000 บาท
5. ด้านทักษะการดาเนินชีวิต
เพื่อฝึกทักษะในการดาเนินชีวิต็ระจาวัน ฝึกให้นักเรียนรู้จักใช้
ชีวิตร่วมกับผู้อื่น มีน้าใจ รู้จักการแบ่ง็ัน สร้างระเบียบวินัยให้กับนักเรียน
ที่พักในหอพักโรงเรียน จึงได้มีการจัดให้นักเรียน็ฏิบัติหน้าที่ด้านต่างๆ
ดังนี้
- การเกษตร
- การ็ระกอบอาหาร
- การพัฒนา
- การทาความสะอาด
3. การจัดการสร้างที่พักนักเรียน
• โรงเรียนได้รับการจัดสรรงบ็ระมาณก่อสร้างที่พักนักเรียนขนาดจุ 35 คน
ก่อสร้างแล้วสาเร็จเมื่อ็ี 2536 และได้รับงบ็ระมาณก่อสร้างหอพัก
ขนาดและรู็แบบเดียวกันอีก 1 หลังเมื่อ พ.ศ. 2544 รวมเ็็น 3 หลัง
• ็ี พ.ศ. 2555 นักเรียนได้รับเงินบริจาคเงินเพื่อก่อสร้างอาคาร
เอนก็ระสงค์จากมูลนิธิสามสาระเหลือเพื่อใช้ เ็็นโรงรับ็ระทานอาหาร
นักเรียนหอพักมูลค่า 170,000 บาท
• ็ี พ.ศ.2556 โรงเรียนได้รับ็ริจาคเงินเพื่อก่อสร้างบ้านพัก
นักเรียนเพิ่ม 1 หลังจากมูลนิธิสามสาระเ็็น บ้านพักนักเรียนขนาดจุ 30
คน เ็็นเงิน 190,000 บาท พร้อมทั้งได้รับบริจาคโรงซักผ้าและตากผ้า
นักเรียนหอพัก ชาย- หญิง จานวน 2 หลังเ็็นเงิน 90,000 บาท
• ็ัจจุบันโรงเรียนมีหอพักนักเรียนหญิงจานวน 3 หลังนักเรียนชาย 1
หลัง
การทาอาหารและรับประทานอาหารของนักเรียนหอพัก
นักเรียนร่วมมือกันทาความสะอาดรอบๆ บริเวณหอพัก
นักเรียน
นักเรียนช่วยกันพัฒนาและดูแลงานด้านการเกษตร
นักเรียนหอพักช่วยกันซ่อมแซมระบบประปา
โรงเรียน
นักเรียนช่วยกันพัฒนาและดูแลงานด้านการพัฒนา
โรงเรียน
รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการนักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์
ฯ
วัตถุประสงค์โครงการนักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
• เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนในถิ่นทุรกันดารได้มีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นตาม
ความสามารถและความเหมาะสมตามระดับสติ็ัญญา
• เพื่อให้นักเรียนจากถิ่นทุรกันดารสามารถนาความรู้ไ็พัฒนาท้องถิ่น
ของตนเองให้มีความเจริญก้าวหน้า
• เพื่อ็ลูกฝังและพัฒนานักเรียนในถิ่นทุรกันดารให้เห็นคุณค่าของ
การศึกษา สานึกในความเ็็นไทย มีความรักถิ่นฐาน รัก็ระเทศไทย
และรักการ็กครอง ในระบอบ็ระชาธิ็ไตยอันมีพระมหากษัตริย์เ็็น
็ระมุข
• เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
นักเรียนตามโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารให้มีความเจริญก้าวหน้าทั่วกัน
สรุปรายชื่อนักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543- พ.ศ. 2557)
นายธวัชชัย ราชคม ทุนเฉลิมราชกุมารี รุ่นที่ 3 ็ี
2549
นางสาวสุชาดา ตันธนรุ่งเรือง ทุนเฉลิมราชกุมารี รุ่น 5 ็ี 2551
นายระวี พิทักษ์ชลทาน ทุนเฉลิมราชกุมารี รุ่นที่ 7 ็ี 2553
นายกบิล ็กรณ์วณิชสิริ ตชด.บ้านตูน รหัส 46043
นางสาวอภิรดี แสนยานุภาพพงษ์ ตชด. บ้านแม่ลางิ้ว รหัส 51127
นางสาวอรณี ลาภ็ระสานยิ่ง ตชด. บ้านตูน รหัส 48156
นายสมบูรณ์ นุรักษ์วิบูลพงศ์ ตชด. บ้านตูน รหัส 50129
นายเอกชัย ็กรณ์วณิชสิริ ตชด. บ้านตูน รหัส 51123
นางสาวพัชรา ลาบ็ระสานยิ่ง ตชด. บ้านตูน รหัส 53133
(็ัจจุบัน)
เด็กหญิงสุขณี คลองธารา ตชด. แม่ลางิ้ว รหัส 57122
(็ัจจุบัน)
นางสาว็ิยดา ภักดีไพร ตชด. บ้านตูน รหัส 54123
เป้ าหมายในการพัฒนาเด็กทุน โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณ
สิกข์
เ็็นผู้มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อนามา
พัฒนาตนเองในทุก ๆ ด้าน เ็็นผู้มีความกตัญญูรู้คุณแผ่นดิน และ
พร้อมที่จะนาความรู้กลับมาพัฒนาถิ่นฐานตัวเองเ็็นผู้มีจิตอาสา
มีน้าใจช่วยเหลือคนอื่น ช่วยเหลือสังคมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนมี
ความรู้ ความสามารถในสิ่งที่ตนเรียน และสามารถนามา
็ระยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมเ็็นผู้มีความรักใน
ความเ็็นไทย ภูมิใจในความเ็็นชาติไทยและมีความรักในการ
็กครองระบอบ็ระชาธิ็ไตยอันมีพระมหากษัตริย์เ็็น็ระมุข
ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานทุนพระราชานุ
เคราะห์
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ เ็็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ็ระจาอาเภอแม่ลาน้อย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งมีลักษณะภูมิ็ระเทศที่ค่อนข้างจะแตกต่างและโดดเด่น
โดยเฉพาะการคมนาคม ที่ยังมีหลายชุมชน หลายหมู่บ้าน ที่อยู่ห่างไกลและการ
เดินทางมาโรงเรียนค่อนข้างลาบาก แต่เนื่องจากทางโรงเรียนได้เล็งเห็น ็ัญหาที่จะ
ตามมา จึงได้มีการแก้็ัญหาโดยการให้เด็กนักเรียนที่อยู่ห่างไกล เดินทางมาโรงเรียน
ลาบาก และเพื่อเ็็นการสนองพระราชดาริ ส่งเสริมให้เด็กในถิ่นทุรกันดารได้มีโอกาส
ในการศึกษา อย่างเท่าเทียมกัน โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์จึงแก้็ัญหาด้วยการให้
นักเรียนทุน ในพระราชานุเคราะห์ฯ เข้าพักในหอพักของนักเรียน ซึงมีการ
แยกเ็็น หอพักนักเรียนชาย หอพักนักเรียนหญิง และมีระบบการดูแลนักเรียนอย่าง
ชัดเจน ทั้งนี้ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนหอพัก ได้ทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเ็็น
การเตรียมความพร้อมในทุกๆด้านให้กับนักเรียนซึ่งกิจกรรมทุกอย่าง ล้วนแล้วแต่
เ็็น็ระโยชน์และจาเ็็น ต่อการใช้ชีวิตในสังคม และเ็็น็ระโยชน์อย่างยิ่งในการ
พัฒนาตนเองเพื่อความสุขในการดาเนินชีวิตต่อไ็
นายสมเกียรติ ชอบผล
ที่็รึกษาสานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช
กุมารี มาเยี่ยมนักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
ตชด. เยี่ยมเด็กทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
นายสมบูรณ์ นุรักษ์วิบูลพงศ์
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันเรียน ็ระกาศนียบัตรวิชาชีพ พาณิชการล้านนา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ )
นายเอกชัย ็กรณ์วณิชสิริ
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันเข้าศึกษาต่อ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดแพร่ ็ี1)
นางสาวอภิรดี แสนยานุภาพพงศ์
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันเข้าศึกษาต่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏลา็าง ็ี1)
พัชรา ลาภ็ระสานยิ่ง
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันกาลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษา็ีที่ 5/1 สายวิทย์-คณิต)
นางสาว็ิยดา ภักดีไพร
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันกาลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ็ีที่ 4/5 สายศิล็์ – คอมพิวเตอร์)
เด็กหญิงรัตนา เกียรติศุภกร
นักเรียนทุนในพระราชานุเคราะห์ฯ
(็ัจจุบันกาลังศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้น็ีที่ 3)
รายงานผลการดาเนินงาน
โครงการส่งเสริมด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
โครงการส่งเสริมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวพระราชดาริ
1. ให้มีการจัดทาสื่อการเรียนการสอน (CAI)
2. สื่อการเรียนการสอน ควรขอขากศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการ
สอนวิชาต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร ฯ
3. ควรส่งเสริมการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือและทาง
อินเตอร์เน็ต
็ีการศึกษา 2543
1. โรงเรียนดาเนินการสอนวิชาคอมพิวเตอร์แบ่งเ็็น 2 ระดับ คือ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอน็ลาย จานวน 3 รายวิชา รวม 7 ห้องเรียน และระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้นจานวน 2 รายวิชา รวม 2 ห้องเรียน นักเรียนได้มีโอกาสเรียน
วิชาคอมพิวเตอร์ 389 คน
2. มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน 30 เครื่อง
3. เข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางคอมพิวเตอร์และจัดนิทรรศการในงาน แม่ฮ่องสอน
IT 43ณ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน โดยส่งนักเรียนเข้าร่วมตอบ็ัญหาทาง
ไอที
เขียนโ็รแกรม เขียนเว็บเพจและการซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์
4. จัดนิทรรศการคอมพิวเตอร์ในงานซาวธันว์ ของโรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
5. ติดตั้งระบบเครื่องแม่ข่าย(Server) ด้วย Linux SIS เพื่อใช้ในการบริหาร
จัดการในฝ่ายต่าง ๆ เช่น ห้องแนะแนว ห้องการเงิน ห้องพัสดุ ห้องแผนงาน ห้อง
อินเตอร์เน็ต
เครื่องคอมพิวเตอร์พระราชทานจานวน 20 เครื่อง ยี่ห้อ Compaq
็ีการศึกษา 2544
1. โรงเรียนดาเนินการสอนวิชาคอมพิวเตอร์แบ่งเ็็น 2 ระดับ คือ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอน็ลาย จานวน 3 รายวิชา รวม 12 ห้องเรียน และ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจานวน 2 รายวิชา รวม 2 ห้องเรียน
นักเรียนได้มีโอกาสเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ 389 คน
2. เ็ิดชุมนุมคอมพิวเตอร์ มีนักเรียนสนใจสมัครเข้าเรียนชุมนุม จานวน 34
คน
3. เ็ิดให้บริการอินเตอร์เน็ต โดยมีเครื่องให้บริการ จานวน 2 เครื่อง
4. ดาเนินการจัดมุมห้องสมุดคอมพิวเตอร์ให้กับคณะครูและนักเรียนใน
โรงเรียน
5. ครูดาเนินการซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง
็ีการศึกษา 2548
นานักเรียนเข้ าร่วมอบรมคอมพิวเตอร์ในการเข้ าค่าย
“Netday Computer Camp” ครั้งที่ 2 (เขตภาคเหนือ
) โดยมูลนิธิอินเตอร์เน็ตเพื่อโรงเรียนและชุมชน ชมรมนักข่าวสาย
เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ
ณ โรงเรียนน้าบ่อหลวงวิทยาคม อาเภอสัน็่ าตอง จังหวัดเชียงใหม่
ซึ่งการเข้าค่ายครั้งนี้นักเรียนได้เรียนรู้หลากหลายด้าน เช่น การติดตั้ง
โ็รแกรม ติดตั้งโ็รแกรมเครื่องแม่ข่าย การซ่อมบารุง อีกทั้งนักเรียนมี
การแลกเ็ลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับนักเรียนจากโรงเรียนอื่น ๆ
ค่าย “Netday Computer
Camp” ครั้งที่ 2
2. เ็ิดการอบรมแก่คณะครูด้านการใช้ไอซีในการ
บริหารงานในสถานศึกษา
็ีการศึกษา 2552
1. นานักเรียนร่วมแข่งขันทักษะด้านคอมพิวเตอร์ ในงาน IT Valley
Seminar ระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2552 ณ
ศาลา็ระชาคม อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
- การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ
- การ็ระกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
็ีการศึกษา 2554
นานักเรียนร่วมแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์
ครั้งที่ 3
แข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ
็ระกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
ติดตั้งสายใยแก้วนาแสง จากหน่วยงาน กสท. (CAT) เพื่อเพิ่ม
ความเร็วในการใช้งานอินเทอร์เน็ต
. คณะครูคอมพิวเตอร์และนักเรียนแผนการเรียน วิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์ ร่วมอบรมค่ายคอมพิวเตอร์
ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
็ีการศึกษา 2555
1. ติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้ครอบคลุมทั้งโรงเรียนโดย
แบ่งเ็็น 2 ชุดคือ ระบบใช้สายสัญญาณ (สาย LAN) และระบบไร้
สาย (Wireless)
ห้องสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2. นักเรียนรับทุน NSC ครั้งที่ 15 ระดับภาคเหนือ ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. นานักเรียนแข่งขันทักษะ งานศิล็หัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 จัด
ณ จังหวัดเชียงใหม่
- การแข่งขันเขียนโ็รแกรมคอมพิวเตอร์ ณ วิทยาลัยโ็ลิเทคนิค
เชียงใหม่
- การแข่งขันหุ่นยนต์ ณ โรงเรียนสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
4. ค่ายเขียนโ็รแกรมสมองกลฝังตัว คณะวิทยากร
จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ภาคพายัพ เชียงใหม่ โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์เ็็นศูนย์จัด
อบรม
ระหว่างวันที่ 15 -16 ตุลาคม 2555
็ีการศึกษา 2556
1. งาน็ระกวดสื่อและนวัตกรรมนักเรียน ครู ผู้บริหาร และการแข่งขันทักษะเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ของนักเรียน (ระดับชาติ)กลุ่มโรงเรียนผู้นา 46 ict โรงเรียนในฝันและโรงเรียน
เครือข่าย
1.1. ว่าที่ร้อยตรีสนาน คงอ้าย ได้รับรางวัล เหรียญเงิน การ็ระกวดสื่อและ
นวัตกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี งาน็ระกวดสื่อ
และนวัตกรรมนักเรียน ครู ผู้บริหาร และการแข่งขันทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
(ระดับชาติ)
1.2. การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโ็รแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ม.1
- 3
ได้ 95 คะแนน รางวัลเหรียญทอง ลาดับที่ 3
1.3. การแข่งขันการสร้าง Webpage ็ระเภท Web Editor ระดับ ม.1 -
3
ได้ 73 คะแนน รางวัลเหรียญเงิน ลาดับที่ 8
1.4. การแข่งขันการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น (2D Animation) ระดับ ม.1 -
3
ได้ 64 คะแนน รางวัลเหรียญทองแดง ลาดับที่ 8
2. โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี เ็ิด "โครงการฝึกอบรมเชิง็ฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการทา
งานเ็็นทีมและความคิด เชิงสร้างสรรค์ผ่านภาพยนตร์สั้นเชิงสารคดี"
ระหว่างวันที่ วันที่ 18-20 กุมภาพันธ์ 2557 โดยมี นายอนิ
รุทธ์ ล่ามพระยา รองผอ.สพม.34 เ็็น็ระธานพิธีเ็ิดโครงการ มี
โรงเรียนต่างเข้าร่วมดังนี้ ร.ร.สบเมยวิทยาคม ร.ร.สังวาลย์วิทยา ร.ร.แม่
สะเรียง "บริพัตรศึกษา" ร.ร.ราช็ระชานุเคราะห์ 21 และร.ร.แม่ลาน้อย
ดรุณสิกข์
การศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
1. นายสมชาติ แผ่อานาจ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2549
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. นายสมชาย แผ่อานาจ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2550
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
3. นายวรรณกร พรถนอมวงค์ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา 2550
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
4. นายณัฐพล ถนอมรัตน์ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2550
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
5. นางสาวจริยา ก้อนแก้ว เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2550
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
6. นางสาวจิรวัฒน์ พลีทั้งกาย เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา 2550
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
7. นายพันธ์ศักดิ์ งามจารุเลิศไมตรี เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา 2550
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
8. นายอนุวัฒน์ วิเศษคานึง เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2550
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
9. นายวรเชษฐ์ สมจิตร เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2550
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลา็าง
10. นายฤทธิศิล็์ ร่มโพธิ์ทอง เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2551
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
11. นายศุภเลิศ ท่าม่วง เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2552
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
12. นายศรุติ วงค์อินทร์ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2553
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
13. นายกษิดิศ ชัย็ระสิทธิ์ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2553
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
14. นายรุทธพล กองบุญเทียม เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2553
สาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
15. นาย็ระกิจ แก้วอริยศักดิ์ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2553
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลา็าง
16. นางสาวจันทนี รุ้ง็ระนมกร เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2553
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
17. นายบัญญวัต แก้วเสมอ เข้าศึกษาต่อ็ีการศึกษา2556
สาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เ็้ าหมายในการพัฒนา
1. การพัฒนาด้านการสร้างสื่อมัลติมีเดียให้สามารถมีผลงานระดับภาคเ็็นต้นไ็
2. การพัฒนานักเรียนให้มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์ที่สามารถจัดการด้าน
โ็รแกรมสานักงาน
3. ส่งเสริมให้นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิด็ระโยชน์แก่ตนเองและสังคม
4. พัฒนาระบบเครื่องแม่ค่ายให้มีความเสถียรภาพ
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มี็ระสิทธิภาพ
6. จัดหาโ็รแกรมที่มี็ระสิทธิภาพในการส่งเสริมการ็ฏิบัติงานของบุคลากร
7. จัดหาวัสดุอุ็กรณ์ที่มีความสาคัญและความจาเ็็นในการ็ฏิบัติงานเพิ่มเติม
8. นานักเรียนแข่งขันทักษะในระดับต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ
9. ฝึกฝนนักเรียนให้เ็็นผู้ช่วยครูที่มีความรู้ความสามารถและมีจริยธรรมที่ดี
็ัญหาอุ็สรรคและแนวทางแก้ไข
1. ็ัญหาที่พบโดยส่วนใหญ่คือนักเรียนมีภูมิความรู้ที่ไม่เท่ากันจาก
สถานศึกษาเดิม ทาให้การจัดการศึกษาทาได้ช้า การดาเนินการแก้ไขใน
เบื้องต้น คือ การคัดกรองนักเรียนเ็็นกลุ่ม ตามความสามารถและความ
ถนัด ใช้เนื้อหาหรือสื่อให้เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียน
2. การเสื่อมสภาพของวัสดุอุ็กรณ์เกิดขึ้นเร็ว เนื่องจากสภาพพื้นที่ เช่น
เครื่องสารองไฟเสื่อมเนื่องจากไฟฟ้ าดับ หรือ ตกบ่อย การเสื่อมสภาพของ
อุ็กรณ์เครือข่าย เกิดขึ้นจากการที่ต้องเ็ิดใช้งานบ่อยหรือเ็ิดไว้
ตลอดเวลาจึงทาให้มีอายุการใช้งานสั้น
3. การเข้าใช้สื่อหรือเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม แก้ไขโดยตักเตือน แนะนา
ความเหมาะสมให้แก่นักเรียน และสร้างข้อตกลงในการใช้งาน
โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
กราบขอบพระคุณเ็็นอย่างสูง

More Related Content

Similar to โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์นำเสนอรายงานพระเทพ

สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติส่วนตัว''วิ
ประวัติส่วนตัว''วิประวัติส่วนตัว''วิ
ประวัติส่วนตัว''วิwitinee
 
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์yahapop
 
รายการชื่อกรรรมการ
รายการชื่อกรรรมการรายการชื่อกรรรมการ
รายการชื่อกรรรมการsomchat
 
โลกดาราศาสตร์
โลกดาราศาสตร์โลกดาราศาสตร์
โลกดาราศาสตร์Kankanit Laktham
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนkrunoi55
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน ธันวาคม
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน  ธันวาคมแต่งตั้งครูเวรประจำเดือน  ธันวาคม
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน ธันวาคมTom Evolution
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.งานนำเสนอร.ร.2.ppt.
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.jurairatkongkul
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxaucharapon theemcle
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมKiiKz Krittiya
 
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทย
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทยข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทย
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทยpermsak2516
 

Similar to โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์นำเสนอรายงานพระเทพ (20)

สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
ประวัติส่วนตัว''วิ
ประวัติส่วนตัว''วิประวัติส่วนตัว''วิ
ประวัติส่วนตัว''วิ
 
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์
โรงเรียนนครรังสิต เทพธัญญะอุปถุมภ์
 
รายการชื่อกรรรมการ
รายการชื่อกรรรมการรายการชื่อกรรรมการ
รายการชื่อกรรรมการ
 
โลกดาราศาสตร์
โลกดาราศาสตร์โลกดาราศาสตร์
โลกดาราศาสตร์
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสน
 
School
SchoolSchool
School
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน ธันวาคม
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน  ธันวาคมแต่งตั้งครูเวรประจำเดือน  ธันวาคม
แต่งตั้งครูเวรประจำเดือน ธันวาคม
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.งานนำเสนอร.ร.2.ppt.
งานนำเสนอร.ร.2.ppt.
 
ทำเนียบผู..[1]
ทำเนียบผู..[1]ทำเนียบผู..[1]
ทำเนียบผู..[1]
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
 
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทย
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทยข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทย
ข้อมล โรงเรียนบ้านโนนไทย
 

โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์นำเสนอรายงานพระเทพ