SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ภาษาเหนือ ภาษาถิ่นเหนือ รักจัง สอนพูดภาษาเหนือ วิธีง่ายๆ วันเดียว
สามารถพูดได้คล่องเลยค่ะ มีคลิปวีดีโอ การออกเสียงให้ดูให้เรียนแบบ สาเนียงด้วย
ซึ่งภาษาเหนือนั้น เป็นภาษาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของคนภาคเหนือ
ซึ่งมีน้าเสียงอ่อนหวาน ไพเราะ น่าฟัง เรามาหัดพูดกันค่ะ ถ้าใครมี คาอื่นๆ ที่น่าสนใจ
จานวนนับภาษาเหนือ
 1 = นึ่ง
 2 = สอง
 3 = สาม
 4 = สี่
 5 = ห้า
 6 = ฮก
 7 = เจ๋ด
 8 = แปด
 9 = เก้า
 10 = ซิบ
 11 = ซิบเอ๋ด
 20 = ซาว
 21 = ซาวเอ๋ด
กลิ่น รส ภาษาเหนือ
 ส้มโจ๊ะโล๊ะ =
รสเปรี้ยวมาก
 จ๋างแจ้ดแผ้ด = จืดชืด
 เหม็นโอ๊ง, เหม็นโอ่ =
เหม็นเน่า
คาศัพท์ภาษาเหนือ คานาม สรรพนาม
 เธอ = ตั๋ว(สุภาพ) ,
คิง(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเ
พื่อนผู้ชาย)
 ฉัน = เปิ้น (สุภาพ) ,
ฮา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเ
พื่อนผู้ชาย)
 เขา(สรรพนามบุรุษที่ 3) = เปิ้น
 ผู้ชาย = ป้อจาย
 ผู้หญิง = แม่ญิง
 พวกเขา = หมู่เขา
 พวกเธอ = สูเขา (สุภาพ),
คิงเขา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชั
กับเพื่อนผู้ชาย)
 พวกเรา = หมู่เฮา, เฮาเขา
 พ่อ = ป้อ
1 ปิงเอยแม่ข้า ณัฐฐา
พรหมมินทร์
สาวงาม...กาเมือง...เ
รืองเลา
2 ไปไกล๋ๆ ณัฐฐา
พรหมมินทร์
สาวงาม...กาเมือง...เ
รืองเลา
3 สี่ล้อแดง ณัฐฐา
พรหมมินทร์
สาวงาม...กาเมือง...เ
รืองเลา
4 กระทงใบตอ ณัฐฐา
พรหมมินทร์
สาวงาม...กาเมือง...เ
รืองเลา
5 กึ๊ดเติงหา ณัฐฐา สาวงาม...กาเมือง...เ
รืองเลา
ประเพณีหนึ่งที่ชาวล้านนาถือปฏิบัติคู่ไปกับประเ
พณียี่เป็งก็คือการลอยโคม
การลอยโคมของชาวล้านนาเป็นการปล่อยโคมขึนไ
ปสู่ท้องฟ้า
แทนการลอยกระทงในล้าน้าอย่างประเพณีของคน
ภาคกลาง ชาวล้านนาเชื่อว่าการจุดโคมลอย
แล้วปล่อยขึนฟ้า
เป็นการบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสวรรค์
และยังเป็นการปล่อยทุกข์ปล่อยโศก และเรื่องร้าย
ให้ออกไปจากตัว
ชาวล้านนาเชื่อกันว่า ในวันประเพณียี่เป็ง
ชาวล้านนาที่เกิดปีจอต้องนมัสการพระธาตุแก้วจุฬ
ามณีซึ่งเป็นสถานที่บรรจุมวยผมของเจ้าชายสิทธั
ตถะที่ปลงออกก่อนจะบวช
แต่เนื่องจากเจดีย์นีเชื่อกันว่าอยู่บนสวรรค์ชันดาว
บริเวณพื้นที่ภาคเหนือ เดิมเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา
ซึ่งสถาปนาอาณาจักรขึ้นมาในปีพุทธศักราช 1835 โดยพญามังราย
และสถาปนาเมืองหลวงอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 1839
ในชื่อนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
อาณาจักรล้านนาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 1835
เกิดจากการยุบรวมกันของอาณาจักรในช่วงยุคก่อนหน้า คือ
ภูมิประเทศของภาคเหนือประกอบไปด้วยเทือกเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อ
น และมีพื้นที่สาคัญของประเทศหลายจุด เช่น
พื้นที่ทางด้านตะวันตกสุดของประเทศที่อาเภอแม่สะเรียง
จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ทางด้านเหนือสุดของประเทศที่อาเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย จุดสูงสุดของประเทศที่ดอยอินทนนท์
จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้
ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่แรกของประเทศที่แม่น้าโขงไหลผ่าน
โดยจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทยอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทอง
คา อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
จังหวัดในภาคเหนือ กาหนดโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ.
2521 และประกาศใช้โดยราชบัณฑิตยสถาน[1]
เป็นการแบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคม
วัฒนธรรมและภาษา เป็นการแบ่งระบบ 6 ภูมิภาค ประกอบไปด้วย 9 จังหวัด
ตามลักษณะภูมิภาคตามธรรมชาติที่ตั้งอยู่ในเขตภูเขา
นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว
ยังมีหน่วยงานที่เคยจัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยขึ้นเพื่อกาหนดแผนบริหา
รงานด้านเศรษฐกิจและสังคม
ซึ่งเป็นการแบ่งภูมิภาคอย่างไม่เป็นทางการได้แก่
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โดยกาหนดให้ภาคเหนือมีทั้งหมด 17 จังหวัด[1]
ประกอบด้วย 9
จังหวัดภาคเหนือข้างต้น กับอีก 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก
สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กาแพงเพชร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี

More Related Content

More from chanaporn sornnuwat

กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่ากลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
chanaporn sornnuwat
 

More from chanaporn sornnuwat (17)

กลุ่ม7นกแก้ว
กลุ่ม7นกแก้วกลุ่ม7นกแก้ว
กลุ่ม7นกแก้ว
 
กลุ่ม2 10ขนมไทย
กลุ่ม2 10ขนมไทยกลุ่ม2 10ขนมไทย
กลุ่ม2 10ขนมไทย
 
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่ากลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
 
โครงงาน เรื่อง พระเมรุมาศ
โครงงาน เรื่อง พระเมรุมาศโครงงาน เรื่อง พระเมรุมาศ
โครงงาน เรื่อง พระเมรุมาศ
 
โครงงาน เรื่อง ขนมหวานยอดฮิต
โครงงาน  เรื่อง  ขนมหวานยอดฮิตโครงงาน  เรื่อง  ขนมหวานยอดฮิต
โครงงาน เรื่อง ขนมหวานยอดฮิต
 
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่ากลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาคโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
 
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์
 
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่ายโครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวโครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทย
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 

G 12

  • 1. ภาษาเหนือ ภาษาถิ่นเหนือ รักจัง สอนพูดภาษาเหนือ วิธีง่ายๆ วันเดียว สามารถพูดได้คล่องเลยค่ะ มีคลิปวีดีโอ การออกเสียงให้ดูให้เรียนแบบ สาเนียงด้วย ซึ่งภาษาเหนือนั้น เป็นภาษาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของคนภาคเหนือ ซึ่งมีน้าเสียงอ่อนหวาน ไพเราะ น่าฟัง เรามาหัดพูดกันค่ะ ถ้าใครมี คาอื่นๆ ที่น่าสนใจ จานวนนับภาษาเหนือ  1 = นึ่ง  2 = สอง  3 = สาม  4 = สี่  5 = ห้า  6 = ฮก  7 = เจ๋ด  8 = แปด  9 = เก้า  10 = ซิบ  11 = ซิบเอ๋ด  20 = ซาว  21 = ซาวเอ๋ด กลิ่น รส ภาษาเหนือ  ส้มโจ๊ะโล๊ะ = รสเปรี้ยวมาก  จ๋างแจ้ดแผ้ด = จืดชืด  เหม็นโอ๊ง, เหม็นโอ่ = เหม็นเน่า คาศัพท์ภาษาเหนือ คานาม สรรพนาม  เธอ = ตั๋ว(สุภาพ) , คิง(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเ พื่อนผู้ชาย)  ฉัน = เปิ้น (สุภาพ) , ฮา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเ พื่อนผู้ชาย)  เขา(สรรพนามบุรุษที่ 3) = เปิ้น  ผู้ชาย = ป้อจาย  ผู้หญิง = แม่ญิง  พวกเขา = หมู่เขา  พวกเธอ = สูเขา (สุภาพ), คิงเขา(ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชั กับเพื่อนผู้ชาย)  พวกเรา = หมู่เฮา, เฮาเขา  พ่อ = ป้อ 1 ปิงเอยแม่ข้า ณัฐฐา พรหมมินทร์ สาวงาม...กาเมือง...เ รืองเลา 2 ไปไกล๋ๆ ณัฐฐา พรหมมินทร์ สาวงาม...กาเมือง...เ รืองเลา 3 สี่ล้อแดง ณัฐฐา พรหมมินทร์ สาวงาม...กาเมือง...เ รืองเลา 4 กระทงใบตอ ณัฐฐา พรหมมินทร์ สาวงาม...กาเมือง...เ รืองเลา 5 กึ๊ดเติงหา ณัฐฐา สาวงาม...กาเมือง...เ รืองเลา
  • 2. ประเพณีหนึ่งที่ชาวล้านนาถือปฏิบัติคู่ไปกับประเ พณียี่เป็งก็คือการลอยโคม การลอยโคมของชาวล้านนาเป็นการปล่อยโคมขึนไ ปสู่ท้องฟ้า แทนการลอยกระทงในล้าน้าอย่างประเพณีของคน ภาคกลาง ชาวล้านนาเชื่อว่าการจุดโคมลอย แล้วปล่อยขึนฟ้า เป็นการบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณี บนสวรรค์ และยังเป็นการปล่อยทุกข์ปล่อยโศก และเรื่องร้าย ให้ออกไปจากตัว ชาวล้านนาเชื่อกันว่า ในวันประเพณียี่เป็ง ชาวล้านนาที่เกิดปีจอต้องนมัสการพระธาตุแก้วจุฬ ามณีซึ่งเป็นสถานที่บรรจุมวยผมของเจ้าชายสิทธั ตถะที่ปลงออกก่อนจะบวช แต่เนื่องจากเจดีย์นีเชื่อกันว่าอยู่บนสวรรค์ชันดาว บริเวณพื้นที่ภาคเหนือ เดิมเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา ซึ่งสถาปนาอาณาจักรขึ้นมาในปีพุทธศักราช 1835 โดยพญามังราย และสถาปนาเมืองหลวงอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 1839 ในชื่อนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ อาณาจักรล้านนาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 1835 เกิดจากการยุบรวมกันของอาณาจักรในช่วงยุคก่อนหน้า คือ ภูมิประเทศของภาคเหนือประกอบไปด้วยเทือกเขาน้อยใหญ่สลับซับซ้อ น และมีพื้นที่สาคัญของประเทศหลายจุด เช่น พื้นที่ทางด้านตะวันตกสุดของประเทศที่อาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ทางด้านเหนือสุดของประเทศที่อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดสูงสุดของประเทศที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ ภาคเหนือยังเป็นพื้นที่แรกของประเทศที่แม่น้าโขงไหลผ่าน โดยจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทยอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทอง คา อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จังหวัดในภาคเหนือ กาหนดโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2521 และประกาศใช้โดยราชบัณฑิตยสถาน[1] เป็นการแบ่งตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคม วัฒนธรรมและภาษา เป็นการแบ่งระบบ 6 ภูมิภาค ประกอบไปด้วย 9 จังหวัด ตามลักษณะภูมิภาคตามธรรมชาติที่ตั้งอยู่ในเขตภูเขา นอกจากการแบ่งตามราชบัณฑิตยสถานแล้ว ยังมีหน่วยงานที่เคยจัดแบ่งภูมิภาคของประเทศไทยขึ้นเพื่อกาหนดแผนบริหา รงานด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นการแบ่งภูมิภาคอย่างไม่เป็นทางการได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยกาหนดให้ภาคเหนือมีทั้งหมด 17 จังหวัด[1] ประกอบด้วย 9 จังหวัดภาคเหนือข้างต้น กับอีก 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ พิจิตร กาแพงเพชร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี