SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
มนุษย์ค้นพบซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์มาเป็นเวลานับพันปีแล้ว
แต่ยังไม่มีผู้ใดเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าเศษซากเหล่านี้เป็นของสัตว์
ชนิดใด และพากันคาดเดาไปต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคิดว่านี่
คือกระดูกของมังกร ขณะที่ชาวยุโรปเชื่อว่านี่เป็นสิ่งหลงเหลือของ
สัตว์ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อครั้งเกิดน้าท่วมโลกครั้งใหญ่ จนกระทั่งเมื่อมี
การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ในปี ค.ศ. 1822 โดย กิเดียน แมนเทล
นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ไดโนเสาร์ชนิดแรกของโลกจึงได้ถูกตั้งชื่อ
ขึ้นว่า อิกัวโนดอน เนื่องจากซากดึกดาบรรพ์นี้มีลักษณะละม้าย
คล้ายคลึงกับโครงกระดูกของตัวอิกัวนาในปัจจุบัน
สองปีต่อมา วิลเลียม บักแลนด์ (William Buckland)
ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยา ประจามหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ก็ได้
เป็นคนแรกที่ตีพิมพ์ข้อเขียนอธิบายเกี่ยวกับไดโนเสาร์ในวารสาร
ทางวิทยาศาสตร์ โดยเป็นไดโนเสาร์ชนิด เมกะโลซอรัส บักแลนดี
(Megalosaurus bucklandii) และการศึกษาซากดึกดา
บรรรพ์ของสัตว์พวกกิ้งก่า ขนาดใหญ่นี้ก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น
เรื่อย ๆ จากนักวิทยาศาสตร์ทั้งในยุโรปและอเมริกา
จากนั้นในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน เห็นว่าซากดึกดาบรรพ์
ขนาดใหญ่ที่ถูกค้นพบมีลักษณะหลายอย่างร่วมกัน จึงได้บัญญัติคา
ว่า ไดโนเสาร์[1]
เพื่อจัดให้สัตว์เหล่านี้อยู่ในกลุ่มอนุกรมวิธาน
เดียวกัน นอกจากนี้ เซอร์ริชาร์ด โอเวน ยังได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์
ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ขึ้น ที่เซาท์เคนซิงตัน กรุงลอนดอน เพื่อ
แสดงซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ รวมทั้งหลักฐานทางธรณีวิทยาและ
ชีววิทยาอื่น ๆ ที่ถูกค้นพบ โดยได้รับการสนับสนุนจากเจ้าชาย
อัลเบิร์ตแห่งแซกซ์-โคเบิร์ก-โกทา (Prince Albert of Saxe-
ดีเอ็นเอไดโนเสาร์
ในภาพยนตร์ Jurassic Park ทีมนักวิทยาศาสตร์สามารถสกัดเอา
ดีเอ็นเอออกมาจากยุงที่ฝังอยู่ในก้อนอาพันได้ ทว่าในโลกแห่งความ
เป็นจริง ปัจจุบันนักบรรพชีวินวิทยาพบฟอสซิลของแมลง และสัตว์ไม่
มีกระดูกสันหลังมากมายที่ถูกเก็บรักษาไว้่ในอาพัน (ในจานวนนี้รวม
ไปถึงหมัดโบราณจากยุคครีเตเชียสที่ดูดเลือดของไดโนเสาร์เข้าไป
เต็มท้องด้วย) แต่พวกเขายังไม่สามารถฟื้นคืนชีพไดโนเสาร์ให้กลับมา
เช่นภาพยนตร์ได้ แม้ว่าสิ่งที่พวกเขาพบจะไปไกลกว่าในหนังก็ตาม
เช่นในปี 2016 มีรายงานการค้นพบหางของไดโนเสาร์ในอาพัน ซึ่ง
ยังคงสภาพดีอยู่โดยประกอบด้วยผิวหนังและเส้นขน
อย่างไรก็ดีแม้ชิ้นส่วนนั้นๆ ของไดโนเสาร์จะถูกเก็บรักษาไว้ได้ดีแค่
ไหนภายในก้อนอาพันก็ตาม แต่โอกาสที่จะสกัดเอาดีเอ็นเอซึ่งยังคง
หลงเหลืออยู่นั้น แทบเป็นไปไม่ได้
“ดีเอ็นเอที่เก่าแก่ที่สุดที่เราเคยพบมีอายุเพียงหนึ่งล้านปี ฉะนั้น
เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างไดโนเสร์ขึ้นมาอีกครั้งแบบในหนัง” Susie
Maidment นักบรรพชีวินวิทยาจากมหาวิทยาลัยธรรมชาติวิทยา
ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักรกล่าว
อย่างไรก็ตาม Maidment กล่าวเสริมว่าปัจจุบันมีการค้นพบว่า
โปรตีน และเนื้อเยื่อบางอย่างสามารถยังคงถูกเก็บรักษาไว้ได้ ฉะนั้น
จึงเป็นการด่วนสรุปเกินไปที่จะบอกว่านักวิทยาศาสตร์ไม่สามารถสกัด
ดีเอ็นเอจากฟอสซิลของไดโนเสาร์ได้เลย

More Related Content

More from chanaporn sornnuwat

กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่ากลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่าchanaporn sornnuwat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทยchanaporn sornnuwat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทยchanaporn sornnuwat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาคโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาคchanaporn sornnuwat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงchanaporn sornnuwat
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลchanaporn sornnuwat
 
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์chanaporn sornnuwat
 
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่ายโครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่ายchanaporn sornnuwat
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวโครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวchanaporn sornnuwat
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยchanaporn sornnuwat
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาchanaporn sornnuwat
 

More from chanaporn sornnuwat (12)

กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่ากลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
กลุ่มที่ 3 ผู้อนุรักษ์สัตว์ป่า
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องวรรณไทย
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทยโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวในไทย
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาคโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องอาหารประจำภาค
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทงโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลอยกระทง
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
 
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์
 
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่ายโครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
โครงงานเรื่อง10น้ำตกเที่ยวง่าย
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวโครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยว
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทย
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 

กลุ่มที่ 15 เรื่องไดโนเสาร์

  • 1.
  • 2. มนุษย์ค้นพบซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์มาเป็นเวลานับพันปีแล้ว แต่ยังไม่มีผู้ใดเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าเศษซากเหล่านี้เป็นของสัตว์ ชนิดใด และพากันคาดเดาไปต่าง ๆ นานา ชาวจีนมีความคิดว่านี่ คือกระดูกของมังกร ขณะที่ชาวยุโรปเชื่อว่านี่เป็นสิ่งหลงเหลือของ สัตว์ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อครั้งเกิดน้าท่วมโลกครั้งใหญ่ จนกระทั่งเมื่อมี การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ในปี ค.ศ. 1822 โดย กิเดียน แมนเทล นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ไดโนเสาร์ชนิดแรกของโลกจึงได้ถูกตั้งชื่อ ขึ้นว่า อิกัวโนดอน เนื่องจากซากดึกดาบรรพ์นี้มีลักษณะละม้าย คล้ายคลึงกับโครงกระดูกของตัวอิกัวนาในปัจจุบัน สองปีต่อมา วิลเลียม บักแลนด์ (William Buckland) ศาสตราจารย์ด้านธรณีวิทยา ประจามหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ก็ได้ เป็นคนแรกที่ตีพิมพ์ข้อเขียนอธิบายเกี่ยวกับไดโนเสาร์ในวารสาร ทางวิทยาศาสตร์ โดยเป็นไดโนเสาร์ชนิด เมกะโลซอรัส บักแลนดี (Megalosaurus bucklandii) และการศึกษาซากดึกดา บรรรพ์ของสัตว์พวกกิ้งก่า ขนาดใหญ่นี้ก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ จากนักวิทยาศาสตร์ทั้งในยุโรปและอเมริกา จากนั้นในปี ค.ศ. 1842 เซอร์ ริชาร์ด โอเวน เห็นว่าซากดึกดาบรรพ์ ขนาดใหญ่ที่ถูกค้นพบมีลักษณะหลายอย่างร่วมกัน จึงได้บัญญัติคา ว่า ไดโนเสาร์[1] เพื่อจัดให้สัตว์เหล่านี้อยู่ในกลุ่มอนุกรมวิธาน เดียวกัน นอกจากนี้ เซอร์ริชาร์ด โอเวน ยังได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ขึ้น ที่เซาท์เคนซิงตัน กรุงลอนดอน เพื่อ แสดงซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ รวมทั้งหลักฐานทางธรณีวิทยาและ ชีววิทยาอื่น ๆ ที่ถูกค้นพบ โดยได้รับการสนับสนุนจากเจ้าชาย อัลเบิร์ตแห่งแซกซ์-โคเบิร์ก-โกทา (Prince Albert of Saxe- ดีเอ็นเอไดโนเสาร์ ในภาพยนตร์ Jurassic Park ทีมนักวิทยาศาสตร์สามารถสกัดเอา ดีเอ็นเอออกมาจากยุงที่ฝังอยู่ในก้อนอาพันได้ ทว่าในโลกแห่งความ เป็นจริง ปัจจุบันนักบรรพชีวินวิทยาพบฟอสซิลของแมลง และสัตว์ไม่ มีกระดูกสันหลังมากมายที่ถูกเก็บรักษาไว้่ในอาพัน (ในจานวนนี้รวม ไปถึงหมัดโบราณจากยุคครีเตเชียสที่ดูดเลือดของไดโนเสาร์เข้าไป เต็มท้องด้วย) แต่พวกเขายังไม่สามารถฟื้นคืนชีพไดโนเสาร์ให้กลับมา เช่นภาพยนตร์ได้ แม้ว่าสิ่งที่พวกเขาพบจะไปไกลกว่าในหนังก็ตาม เช่นในปี 2016 มีรายงานการค้นพบหางของไดโนเสาร์ในอาพัน ซึ่ง ยังคงสภาพดีอยู่โดยประกอบด้วยผิวหนังและเส้นขน อย่างไรก็ดีแม้ชิ้นส่วนนั้นๆ ของไดโนเสาร์จะถูกเก็บรักษาไว้ได้ดีแค่ ไหนภายในก้อนอาพันก็ตาม แต่โอกาสที่จะสกัดเอาดีเอ็นเอซึ่งยังคง หลงเหลืออยู่นั้น แทบเป็นไปไม่ได้ “ดีเอ็นเอที่เก่าแก่ที่สุดที่เราเคยพบมีอายุเพียงหนึ่งล้านปี ฉะนั้น เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างไดโนเสร์ขึ้นมาอีกครั้งแบบในหนัง” Susie Maidment นักบรรพชีวินวิทยาจากมหาวิทยาลัยธรรมชาติวิทยา ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักรกล่าว อย่างไรก็ตาม Maidment กล่าวเสริมว่าปัจจุบันมีการค้นพบว่า โปรตีน และเนื้อเยื่อบางอย่างสามารถยังคงถูกเก็บรักษาไว้ได้ ฉะนั้น จึงเป็นการด่วนสรุปเกินไปที่จะบอกว่านักวิทยาศาสตร์ไม่สามารถสกัด ดีเอ็นเอจากฟอสซิลของไดโนเสาร์ได้เลย